SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
3
4
71
72
“พี่นอร์ธ” ภัทรศยา โกมลตรี
จากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลงาน
* นักเรียนทุนสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ
* ตัวแทนแข่งขันภาษาไทยเพชรยอดมงกุฎของโรงเรียน
* ได้รับทุนใช้ภาษาไทยภูกต้องเหมาะสมของโรงเรียน
* เป็นนักเรียนในโครงการเสริมศักยภาพภาษาไทยของโรงเรียน
* ได้รับทุนเรียนดีจากธนาคารแห่งประเทศไทย ฯลฯ
73
การอ่านจับใจความ
ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความที่เป็นแก่น (หัวเรื่อง) ของย่อหน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความ
ในประโยคอื่นๆ หรือเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยวๆ ได้โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ซึ่งในแต่ละ
ย่อหน้า จะมีประโยคในความสาคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ประโยค
ใจความรอง หรือ พลความ หมายถึง ประโยคที่ขยายความประโยคใจความสาคัญ เป็นใจความ
สนับสนุนใจความสาคัญให้ชัดเจนขึ้น อาจเป็นการอธิบายให้รายละเอียด ให้คาจากัดความ ยกตัวอย่าง
เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด
วิธีจับใจความสาคัญ
1. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า
2. พิจารณา keyword ของเนื้อหาในย่อหน้า
- keyword คือ คา กลุ่มคา หรือประโยคที่พบซ้าๆในย่อหน้า
- การหา keyword ในย่อหน้าจะช่วยจับใจความสาคัญได้ง่ายและถูกต้อง เพราะ keyword
มักจะเป็นประเด็นสาคัญของย่อหน้า
ตัวอย่าง
สิ่งที่ชาวเรือถือกันมากก็คือ “หัวเรือ” นับถือกันว่าเป็นแม่ย่านางอยู่ พวกแม่ค้าพ่อค้าที่ใช้เรือเป็น
พาหนะบรรทุกของและที่อยู่อาศัย ไม่ว่าจะเป็นเรือเล็กหรือเรือใหญ่ มักไม่ยอมให้ใครเหยียบหัวเรือ แม้จะ
ข้ามก็ยังไม่ยอมให้ข้าม เจ้าของเรือบางคนเคร่งมากจะจุดธูปบูชาทั้งเช้าและเย็น ที่หัวเรือบางลามี แผ่น
ทองเหลือง หุ้มอย่างสวยงาม และมีซอกทองเหลืองเล็กๆติดไว้ที่ทวนหัวเรือสาหรับปักธูป บางทีก็มี
พวงมาลัยคล้องหัวเรือ ที่เคร่งมากๆถึงกับจัดอาหารเซ่นทุกเช้าก็มี
3. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ ส่วนที่ไม่ใช่ใจความสาคัญซึ่งควรตัดออกในแต่ละย่อหน้า ได้แก่
สิ่งต่างๆต่อไปนี้
-ส่วนขยายหรือรายละเอียดต่างๆ
-ข้อเปรียบเทียบต่างๆ
-ตัวอย่างประกอบ
-คาศัพท์ สานวน หรือโวหารที่ยกมาประกอบ
-ตัวเลข สถิติที่เป็นรายละเอียด
-คาถามและคาอธิบายของผู้เขียน
-ชื่อบุคคลที่ผู้เขียนอ้างอิงโดยไม่เน้นความสาคัญ
-ย่อหน้าพิเศษบางย่อหน้าที่เป็นส่วนขยายความหรือตัวอย่างของเรื่อง ฯลฯ
ตั้งคาถามว่า เรื่องอะไร ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ด้วยเหตุผลใดและอย่างไร
74
4. การให้เหตุผล
เหตุ + คาเชื่อมกลุ่ม “จึง” + ผล
ผล + คาเชื่อมกลุ่ม “เพราะ” + เหตุ
ตัวอย่างคาเชื่อม
ผล
จึง
ฉะนั้น, เพราะฉะนั้น,ดังนั้น...จึง ทาให้(เกิด),
เป็นเหตุทาให้(เกิด),
เป็นผลทาให้(เกิด)
ส่งผลให้
เหตุ
ด้วย,เนื่องด้วย,ด้วยเหตุที่,โดยเหตุที่ เนื่องจาก,
จากการที่,จากที่
เป็นผลมาจาก,เกิดจาก
ข้อสังเกต
- คาเชื่อมบางคาสามารถบ่งบอกใจความสาคัญได้
-หลังคาว่า “เพราะ เช่น เนื่องจาก ได้แก่” ไม่ใช่ใจความสาคัญ
-หลังคาว่า “จึง ดังนั้น เพราะฉะนั้น” เป็นใจความสาคัญ
การพิจารณาตาแหน่งใจความสาคัญ
1. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า
2. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า
3. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า
4. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า
5. ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า (ในกรณีใจความสาคัญหรือความคิดสาคัญ อาจอยู่
รวมในความคิดย่อย ๆ โดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลัก)
ตัวอย่างตาแหน่งใจความสาคัญ
ใจความสาคัญอยู่ตอนต้นย่อหน้า
ตัวอย่าง
ทะเลแถบช่องแสมมีสัตว์ทะเลหลากหลายให้ชมมากกว่าที่อื่น อาจเป็นเพราะสภาพที่เป็นช่องแคบ
กระแสน้าไหลแรงเชี่ยวกราก จึงพัดพาเอาออกซิเจนจากผิวน้าถ่ายเทไปได้ลึก อีกทั้งมีอาหารจาพวก แพลงก์
ตอนพืช และสัตว์อย่างสมบูรณ์
ประโยคใจความสาคัญ+ประโยคขยายความ
75
ใจความสาคัญอยู่ตอนท้ายย่อหน้า
ตัวอย่าง
ความเครียดทาให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดบีบตัวกล้ามเนื้อ
เขม็งตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติเกิดอาการปวดหัว ปวดท้อง ใจสั่น แข้งขาอ่อนแรง ความเครียดจึงเป็น
ตัวการให้แก่เร็ว
ใจความสาคัญอยู่ตอนกลางย่อหน้า
ตัวอย่าง
โดยทั่วไปผักที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกาจัดศัตรูพืช หากไม่มีความรอบคอบ
ในการใช้ จะทาให้เกิดสารตกค้าง ทาให้มีปัญหาต่อสุขภาพ ฉะนั้นเมื่อซื้อผักไปรับประทานจึงควรล้างผัก ด้วย
น้าหลายๆครั้ง เพราะจะช่วยกาจัดสารตกค้างไปได้บ้าง
ใจความสาคัญอยู่ทั้งตอนต้นและตอนท้ายย่อหน้า
ตัวอย่าง
การรักษาศีลก็เพื่อบังคับตนเองให้มีระเบียบวินัยในการกระทาทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น เรามาอยู่วัด มา
นุ่งขาวห่มขาว ไม่ใช่ถือแต่ศีลแปดข้อเท่านั้น แต่เราต้องนึกว่าศีลนั้นคือความมีระเบียบ มีวินัย เราเดิน
อย่างมีระเบียบมีวินัย นั่งอย่างมีระเบียบ กินอย่างมีระเบียบ ทาอะไรก็ทาอย่างมีระเบียบนั่น เป็นคนที่มีศีล
ถ้าเราไม่มีระเบียบก็ไม่มีศีล
ใจความสาคัญไม่ปรากฏในส่วนใด ต้องสรุปเอง
ตัวอย่าง
ในอดีตพระสงฆ์เป็นแบบอย่างการดารงชีวิตอันประเสริฐและเป็นผู้นาสติปัญญาของชุมชน ปัจจุบัน
พระสงฆ์จานวนมากไม่มีบทบาทอื่นใดนอกจากเรื่องพิธีกรรม สร้างวัดวาอารามใหญ่โต มุ่งโภคทรัพย์มากกว่า
เจริญไตรสิกขา ฆราวาสเองก็ไม่เกื้อหนุนค้าจุนให้พระสงฆ์ประพฤติพรหมจรรย์กลับไปส่งเสริมในทางวัตถุ
เพื่อยั่วกิเลส
ข้อใดเป็นสาระสาคัญของข้อความข้างต้น
ก. ทุกวันนี้สังคมกาลังเสื่อมลงเพราะพระสงฆ์และฆราวาส
ข. ปัจจุบันนี้พระสงฆ์ไม่เป็นที่พึ่งทางใจและไม่ให้ความรู้แก่สังคม
ค. พระสงฆ์หันไปสร้างวัดใหญ่โตมากกว่าการเจริญไตรสิกขา
ง. ชุมชนเสื่อมลงเพราะพระสงฆ์ไม่เป็นแบบอย่างการดารงชีวิตที่เหมาะสม
ประโยคขยายความ+ประโยคใจความสาคัญ
ประโยคขยาย(เกริ่นนา)+ประโยคใจความสาคัญ+ประโยคขยายความ+(ขยายประโยคใจความ
สาคัญ)
ประโยคใจความสาคัญ+ประโยคขยายความ+ประโยคใจความสาคัญ
76
มาลองทาแบบฝึกหัดกันเถอะ
1.) ขณะนี้ ไม่ว่าท่านจะอยู่ ณ ที่ใด ในบ้าน บนรถไฟ รถเมล์ ในห้องทางาน บนสถานที่ราชการหรือ ที่ใดก็
ตาม 2.) ท่านจะต้องใช้สายตา “อ่าน” อยู่ตลอดเวลา 3.)ซึ่งแน่ล่ะ เราต้องยกเว้นกรณีที่ท่านตาบอด เพราะ
ท่านย่อมจะอ่านหนังสือในเล่มนี้ไม่ได้แน่ 4.) ยกเว้นแต่จะมีใครอ่านให้ท่านฟัง
(ศิลปะการอ่านหนังสือ ของ ครรชิด มาลัยวงศ์)
ใจความสาคัญ : …………………………………………………………………………………………………
1.) คนไม่อ่านหนังสือ คือ คนถอยหลังอยู่ในสังคม 2.) เพราะทุกวันนี้โลกเจริญขึ้นอย่างไม่หยุดหย่อน 3.) มี
เหตุการณ์ใหม่ๆ ปรากฏสืบเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย 4.) ทุกคนที่หวังความก้าวหน้าจึงต้องตามเรื่อง เหล่านี้
ด้วยการอ่านอย่างไม่หยุดยั้ง 5.) มิฉะนั้น เขาจะได้นามว่า เป็นผู้ถอยหลัง
(อ่านเพื่อความสมบูรณ์ ของ นายเจือ สตะเวทิน)
ใจความสาคัญ : …………………………………………………………………………………………………
1.) บางคนอ่านหนังสือเพียงเฉพาะเรื่องราว 2.) คืออ่านแต่เรื่องในวงอาชีพของตน 3.) ถ้าทาอย่างนั้น ก็นับว่า
ยังไม่ได้ผลเต็มที่ 4.) เพราะขาดความรู้ในวงการทั่วไป 5.) ทางที่ดีควรขยายขอบเขตของการอ่านให้ กว้างขวาง
ออกไปอีก
(อ่านเพื่อความสมบูรณ์ ของ นายเจือ สตะเวทิน)
ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………...
1.) สิ่งที่เราจะต้องอ่านในทุกวันนี้ มีมากขึ้นกว่าแต่ก่อนมากนัก 2.) หนังสือพิมพ์รายวันบ้าง วารสาร จาก
สมาคมวิชาชีพต่างๆบ้าง หนังสือปกอ่อนราคาถูกบ้าง หนังสือเล่มขนาดใหญ่บ้างต่างๆขนาด 3.) เฉพาะ ส่วนที่
เป็นภาษาไทยก็มีอยู่มาก ขนาดที่คนธรรมดาจะใช้เวลาตลอดเวลาอ่านอย่างเดียว ก็ไม่อาจจะอ่านหนังสือ ที่
พิมพ์ขึ้นในวันนั้นได้หมด 4.) ทั้งนี้ยังไม่ต้องนับหนังสือภาษาอังกฤษและภาษาอื่นๆซึ่งพิมพ์มากกว่าภาษาไทย
ด้วยซ้าไป
(ศิลปะการอ่านหนังสือ ของ ครรชิต มาลัยวงศ์)
ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………
NOTE :
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
77
1.) เรือลานั้นแล่นผ่านบ้านเรือนที่คับคั่งในบริเวณอาเภอ 2.) แสงไฟฉายออกมาจากโรงสีข้าวข้าง ลา
น้ากระทบเม็ดฝนที่สาดลงมามิรู้สิ้นสุด แลดูเหมือนม่านที่ทาด้วยน้ากั้นไว้ 3.) พอเรือเริ่มผ่านบ้านเรือนที่มี
ประปรายอยู่นอกอาเภอ 4.) สายลมและสายฝนก็กระหน่าลงมาแรงขึ้นกว่าเก่า 5.) คนโดยสารจานวนมากที่นั่ง
หรือนอนอยู่ในเรือพากันขยับตัว เหลียวสายแลขวามองดูหน้ากันอย่างไม่สบายใจ 6.) พอเรือแล่นต่อมาอีกจะ
เข้าหัวเลี้ยวที่เรียกว่า คุ้งสาเภา 7.) กาลังแรงของพายุก็มาปะทะเข้ากลางลา 8.) เสียงคนหวีดร้องเสียงคน
ตะโกน เสียงเด็กร้องจ้าขึ้นด้วยความตกใจ 9.)ที่กาลังหลับก็ทะลึ่งตัวขึ้นสุดแรง 10.) ทุกคนถลันตัวเข้าใส่กราบ
ที่มิได้เอียง 11.) ทันใดนั้นเรือก็โคลงกลับมาอีกข้างหนึ่งด้วยกาลังถ่วงสุดเหวี่ยง 12.) ท่ามกลางเสียงร้องที่ฟัง
ไม่ได้ศัพท์ 13.) และเสียงรัวกระดิ่งของนายท้าย ซึ่งดึงสายกระดิ่งด้วยความตกใจปราศจาก สัญญาณใด 14.)
และเรือนั้นก็คว่าลงทันที 15.) เครื่องยนต์ในเรือคงเดินต่อไปอีกครู่หนึ่งสั่นสะท้านอย่างแรง แล้วก็หยุดเงียบ
เหมือนกับหัวใจสัตว์ที่เต้นต่อสู้อย่างแรงเป็นครั้งสุดท้ายและก็ต้องหยุดลงเมื่อความตาย มาถึงตัว
(หลายชีวิต ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช)
ใจความสาคัญ : ……………………………………………………………………………………………….
จงขีดเส้นใต้ใจความสาคัญ
1.) ความแตกต่างของมนุษย์และสัตว์อีกประการหนึ่งที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องของการใช้ภาษา มนุษย์
สามารถถ่ายทอดความรู้ความคิดออกมาเป็นตัวเขียน คือ เป็นภาษาหนังสือสาหรับให้ผู้อื่นอ่านเข้าใจตรงตาม
ที่ต้องการ แต่สัตว์ใช้ได้แต่เสียงเท่านั้นในการสื่อสาร แม้แต่เสียง หลายท่านก็ยังมีความเห็นว่าสัตว์จะทาเสียง
เพื่อแสดงความรู้สึก เช่น โกรธ หิว เจ็บปวด เท่านั้น เสียงของสัตว์ไม่อาจสื่อความหมาย ได้ละเอียดลออเท่า
ภาษาพูดของมนุษย์
ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………..
2.) คนไทยนั้นถือว่าบ้านเป็นสิ่งสาคัญต่อชีวิตตั้งแต่เกิดไปจนตาย เพราะคนไทยโบราณนั้น ใช้บ้าน
เป็นที่เกิด การคลอดลูกจะกระทากันที่บ้านโดยมีหมอพื้นบ้านที่เรียกว่าหมอตาแยเป็นผู้ทาคลอด มิได้ใช้
โรงพยาบาล หรือสถานผดุงครรภ์อย่างในปัจจุบันนี้ และที่สุดของชีวิตเมื่อมีการตายเกิดขึ้น คนไทยก็จะเก็บศพ
ของผู้ตายที่เป็นสมาชิกของบ้านไว้ในบ้านก่อนที่จะทาพิธีเผาเพื่อทาบุญสวด และเป็นการใกล้ชิด กับผู้ตายเป็น
ครั้งสุดท้าย ดังนั้นบ้านจึงเป็นสถานที่ที่คนไทยใช้ชีวิตอยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่เกิดจนตาย
ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………..
78
3.) คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่สาคัญที่สุดในบรรดาสารอาหารที่ให้พลังงานก็ร่างกาย จาก
สัดส่วนของพลังงานที่ได้จากอาหารทั้งหมดในหนึ่งวัน จะมีคาร์โบไฮเดรตประมาณ 40-80 ซึ่งจะ สูงกว่า
ที่ได้จากไขมันและโปรตีน สาหรับการกินข้าวของคนไทย สัดส่วนของข้าวก็จะมากกว่ากับข้าว กรณีเช่นนี้
สอดคล้องกับหลักวิชาการที่ว่า พลังงานที่ได้จากอาหารนั้นควรมาจากคาร์โบไฮเดรตเป็นหลัก รองลงมา
คือ ไขมันและโปรตีน
ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………..
4.) เมื่อพบว่าบุตรหลานมีฟันขึ้นไม่เป็นระเบียบ ผู้ปกครองอาจวิตกกังวลว่าควรจะรับการรักษา
ทันทีหรือควรรอให้เด็กโตเป็นผู้ใหญ่ก่อน ความจริงแล้วการจัดในแต่ละคนไม่สามารถกาหนดตายตัวได้
แน่นอน ว่าควรทาเมื่อใดทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพความผิดปกติของแต่ละคน ในบางกรณีการรอให้ฟันแท้ขึ้น
ครบจะทาให้การรักษาง่ายและใช้เวลาสั้นกว่า แต่ในบางกรณีที่มีความผิดปกติรุนแรงต้องเริ่มจัดฟัน
ตั้งแต่อยู่ในช่วงฟันน้านมหรือชุดฟันผสม
ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………..
ใช้บทความต่อไปนี้ตอบคาถาม
ถ้าพูดถึง “ทิชชู่” หรือกระดาษทิชชู่ ส่วนใหญ่เราก็มักเหมารวมว่า หมายถึง กระดาษสีขาวเนื้อ
บางเบา ที่มีคุณสมบัติซึมซับน้าได้ดี เป็นสินค้าจาเป็นประจาครัวเรือน สานักงานร้านอาหารหรือเกือบใน
สถานที่ทุกแห่ง ที่มีคนอยู่ก็ว่าได้ “ทิชชู่” มักถูกนึกถึงในกรณีฉุกเฉิน เอาไว้เช็ดทาความสะอาด อย่างไร
ก็ตาม กระดาษทิชชู่ มีอยู่หลายประเภทสามารถแบ่งออกตามลักษณะการใช้งาน ได้แก่ 1. กระดาษชาระ
2. กระดาษเช็ดหน้า 3. กระดาษเช็ดปาก 4. กระดาษเช็ดมือ 5. กระดาษเอนกประสงค์
แต่ดูเหมือนว่าคนไทยอย่างเราๆ จะใช้ทิชชู่โดยไม่ได้คานึงถึงประเภทของทิชชู่ เรามักเห็น
กระดาษชาระวางอยู่บนโต๊ะอาหาร หรือถูกนาไปเช็ดหน้าเช็ดตา หรือแม้กระทั่งเอาไว้ห่อหรือวางรอง
อาหารเสียด้วยซ้า โดยที่ไม่คิดรังเกียจใดๆ ทั้งที่ “กระดาษชาระ” นั้นคือกระดาษเหมาะสาหรับทา ความ
สะอาดหลังขับถ่าย เป็นกระดาษย่น นุ่ม ดูดซึมน้าได้ดีและยุ่ยง่ายเมื่อเปียกน้า ด้วยความที่เราใช้
กระดาษชาระ กันไปเสียแทบทุกอย่าง จึงมีข้อสงสัยว่ากระดาษชาระดังกล่าวมีความสะอาดปลอดภัย
มากแค่ไหน ทั้งนี้ หลังจากพลิกอ่านคู่มือมาตรฐานอุตสาหกกรมกระดาษทิชชู่ พบว่า ตามมาตรฐานของ
กระดาษชาระ จะเน้น ความสาคัญไปที่การซึมซับน้า การย่อยสลาย ขนาดและจุดสกปรก ซึ่งเมื่อดูจาก
ตาเปล่า เราไม่สามารถเห็น สิ่งปกติใดๆ แต่ความจริงแล้ว มันมีสิ่งแปลกปลอมใดๆแฝงอยู่หรือไม่ ต้อง
ตามอ่านกันต่อไป
เราได้ส่งตัวอย่างกระดาษชาระ ทั้งแบบเกรดเอและบี 24 ตัวอย่างไปตรวจสอบในห้องปฏิบัติ
กลางประเทศไทย จากัด เพื่อทดสอบหาปริมาณจุลินทรีย์ชนิดก่อโรค ได้แก่ bacillus cereus, Staphy-
lococcus, Escherichia coli, Salmonella, Yeast and mold และ Total Plate Count ผลการทดสอบพบว่า
79
ทุกยี่ห้อมีการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ในปริมาณน้อยมาก ไม่ก่อให้เกิดโรค อย่างไรก็ตาม ยังถือว่าไม่ปลอด
จุลินทรีย์ ดังนั้น จึงควรใช้กระดาษชาระให้ถูกกับงาน การนาไปใช้ผิดงานอาจก่อให้จุลินทรีย์ปนเปื้อน และ
หากทิ้งไว้เป็นเวลานาน เมื่อสิ่งที่ถูกเช็ดมีสภาวะเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ จุลินทรีย์
สามารถขยายตัวได้ จนอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ
“หลายคนอาจสงสัยถึงที่มาที่ไปของกระดาษชาระ เราจึงสืบประวัติของมันย้อนไปถึงราวศตวรรษ
ที่ 14 พบว่ากระดาษชาระเริ่มมีความนิยมใช้กันในราชสานักจีน ขณะที่คนธรรมดาทั่วไปยังใช้สิ่งของมา
เช็ดก้นกันตามสะดวก เช่น ใบไม้ เศษผ้า ต่อมาในยุคหลังๆก็หันมาในยุคหลังๆก็หันมานิยมใช้กระดาษ
หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ใบปลิวต่างๆ มาเช็ดแทน กระทั่งนักธุรกิจอเมริกันคนหนึ่ง ชื่อว่า “โจเซฟ กาเย็ตตี้”
เป็นคนแรกที่ผลิตกระดาษชาระออกวางขายในปี ค.ศ.1857 แต่ต้องประสบกับภาวะขาดทุนเนื่องจากตลาด
ยังนิยมใช้ของเช็ดแบบเดิมมากกว่า แถมยังไม่ต้องเสียเงินซื้ออีกด้วย จากนั้นอีก 20 ปี ต่อมาพี่น้องสกุล
“สก็อต” ได้ ผลิตกระดาษชาระออกขายอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า “สก๊อตทิชชู” ในขณะนั้นส้วมและชักโครก
ภายในอาคารเริ่มเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง ทาให้คนหันมาใช้กระดาษชาระ มากขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้
ยังเป็นเพราะกระดาษชาระใช้ได้สะดวก มีเนื้อนุ่มและเข้ากับการตกแต่งห้องน้า จากนั้นเป็นต้นมา ตลาด
กระดาษชาระก็โตขึ้นอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับวิวัฒนาการที่พัฒนาขั้น จนปัจจุบันกลายเป็นเพียงสินค้าที่
ใครๆ ก็สามารถซื้อได้”
1. วัตถุประสงค์ของบทความข้างต้นคืออะไร
ก. อธิบายว่ากระดาษทิชชู่มีประเภทใดบ้าง
ข. บอกประวัติความเป็นมาของกระดาษทิชชู่
ค. ย้าเตือนอันตรายที่เกิดจากการใช้กระดาษทิชชู่
ง. ต้องการให้ผู้บริโภคใช้กระดาษทิชชู่ให้ถูกหน้าที่
จ. ส่งเสริมให้ลดละเลิกการใช้กระดาษทิชชู่อย่างฟุ่มเฟือย
2. จากบทความข้างต้นกล่าวว่ากระดาษชาระจะปรากฎในที่ต่างๆต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด
ก. โต๊ะอาหาร
ข. ห้องน้าสาธารณะ
ค. ร้านขายลูกชิ้นทอด
ง. ในกระเป๋าถือของผู้หญิง
จ. สามารถพบได้ทุกที่ๆกล่าวมา
3. ข้อใดต่อไปนี้ต่างจากข้ออื่น
ก. กระดาษย่น
ข. กระดาษเอนกประสงค์
ค. กระดาษที่ซึมซับน้าได้ดี
ง. กระดาษยุ่ยง่ายเมื่อถูกน้า
จ. กระดาษที่ปนเปื้อนจุลินทรีย์ในปริมาณน้อยมาก
80
4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ถูกนามาใช้ในวัตถุประสงค์เดียวกันกับกระดาษชาระ
ก. ใบไม้
ข. ใบปลิว
ค. สก็อตทิชชู่
ง. กระดาษเช็ดหน้า
จ. กระดาษหนังสือพิมพ์
5. เพราะเหตุใดการผลิตกระดาษชาระออกมาวางจาหน่ายในช่วงแรกจึงประสบกับภาวะขาดทุน
ก. เพราะเป็นสินค้าราคาแพง
ข. เพราะนิยมใช้เฉพาะชนชั้นสูง
ค. เพราะคนส่วนใหญ่ยังไม่คุ้นเคย
ง. เพราะเป็นสินค้าที่คนไม่ค่อยรู้จัก
จ. เพราะเป็นสินค้าที่ไม่สามารถจาหน่ายได้ในวงกว้าง
6. ข้อใดคือสาเหตุหลักที่ทาให้ “สก็อตทิชชู่” สามารถขายกระดาษชาระได้ผล
ก. มีเนื้อนุ่มน่าใช้
ข. มีราคาที่ใครก็สามารถซื้อได้
ค. เป็นสินค้าที่ใช้ได้สะดวกมากขึ้น
ง. มีการใช้ส้วมชักโครกอย่างแพร่หลาย
จ. กระดาษชาระมีความสวยงามเข้ากับการตกแต่งห้อง
7. เพราะเหตุใดบทความจึงกล่าวว่าไม่ควรใช้กระดาษชาระในวัตถุประสงค์อื่น แม้ว่าจะตรวจสอบพบ
เชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนในปริมาณน้อยมาก
ก. เพราะกระดาษชาระสามารถปนเปื้อนจุลินทรีย์ได้ง่าย
ข. เพราะจุลินทรืย์อาจเจริญเติบโตจนส่งผลต่อสุขภาพของผู้ใช้
ค. เพราะจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนส่วนใหญ่เป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค
ง. เพราะกระดาษชาระมักจะใช้เช็ดสิ่งสกปรกซึ่งจะมีจุลินทรีย์ปนเปื้อนสูง
จ. เพราะกระดาษชาระทั้งเกรดเอและบีต่างก็มีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ไม่ต่างกัน
80
ความรู้รอบตัว
อันดับเศรษฐีไทย
1. นายธนินทร์ เจียรวนนท์  บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ จำกัด มหำชน
2. นายเจริญ สิริวัฒนกุล  บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด มหำชน (เหล้ำแม่โขง,เบียร์ช้ำง)
3. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์  บริษัท พฤกษำ เรียลเอสเตท จำกัด มหำชน
4. นายกฤตย์ รัตนรักษ์  บริษัท บำงกอก บรอดคำสติ้ง แอนด์ ทีวี (BBTV – ช่อง 7)
5. นพ. ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ  บริษัท กำรบินกรุงเทพ จำกัด (บางกอกแอร์เวย์)
อันดับเศรษฐีโลก
1. นายคาร์ลอส สลิม(73ปี)  ชำวแมกซิกัน
เจ้าของธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมและการพลังงาน
2. นายบิล เกตส์(57 ปี)  ชำวอเมริกัน
เจ้าของบริษัท ไมโครซอฟท์ (Microsoft Corporation)
- วันศิลปินแห่งชาติ 24 กุมภาพันธ์ ของทุกปี
- Swift code เป็นรหัสที่ใช้ระบุสาขาของธนาคารทั่วโลกสาหรับการโอนเงินข้ามประเทศ
- นามสกุล “ทานากะ” ใช้มากเป็นอันดับ 4 ในญี่ปุ่น
- อีเห็นเป็นสัตว์กินเนื้อ  เลี้ยงด้วยกาแฟ  มูลที่ถ่ายออกมาจะเป็นกาแฟรสชาติดี,ราคา
แพง
- วันดินโลก 5 ธ.ค. จัดตั้งโดยองค์การอาหารแลการเกษตรแห่งสหประชาชาติ
- สี่เสือแห่งเอเชีย หมายถึง การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว
1. ฮ่องกง
2. สิงคโปร์
3. เกาหลีใต้
4. ไต้หวัน
- อาเซียนมีสมาชิกเป็นประเทศด้อยพัฒนา 3 ประเทศคือ ลาว พม่า กัมพูชา
- มหาวิทยาลัยลุนด์ เป็น มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของยุโรป  มีชื่อด้านการศึกษาและวิจัยใหญ่สุด
ในสแกนดิเนเวีย
81
10 ประเทศ
ASEAN + 3 (จีน,เกาหลี,ญี่ปุ่น)
ASEAN + 6
(จีน,เกาหลี,ญี่ปุ่น,ออสเตรเลีย,อินเดีย,นิวซีแลนด์
คาขวัญ: One Vision,One Identity,One Community
3 เสาหลัก
- การเมือง,ความมั่นคง
- เศรษฐกิจ
- สังคมวัฒนธรรม
ASEAN

Más contenido relacionado

Destacado

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
Pengumuman seleksi casn_ggd_2016
Pengumuman seleksi casn_ggd_2016Pengumuman seleksi casn_ggd_2016
Pengumuman seleksi casn_ggd_2016Zainal Arifin
 
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)Roadshow2014
 
KevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_Outline
KevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_OutlineKevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_Outline
KevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_OutlineKevin Jarnagin
 
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...FrancescoBoccia
 
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN reportУкраїнська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN reportUkrainian Child Rights Network
 
Koło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZ
Koło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZKoło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZ
Koło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZVadym Melnyk
 
Do we really want the world full of Internet of Things?
Do we really want the world full of Internet of Things? Do we really want the world full of Internet of Things?
Do we really want the world full of Internet of Things? Vadym Melnyk
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์Walk4Fun
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551Walk4Fun
 
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campolucio_rick
 
Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10Sharon Bell
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Mark Roberts
 

Destacado (17)

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
Uperc draft regulation on dsm
Uperc draft regulation on dsmUperc draft regulation on dsm
Uperc draft regulation on dsm
 
festivales de italia
festivales de italiafestivales de italia
festivales de italia
 
Pengumuman seleksi casn_ggd_2016
Pengumuman seleksi casn_ggd_2016Pengumuman seleksi casn_ggd_2016
Pengumuman seleksi casn_ggd_2016
 
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
 
KevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_Outline
KevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_OutlineKevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_Outline
KevinJarnaginWeek8_Course_Project_Presentation_Outline
 
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...
 
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN reportУкраїнська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
 
Koło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZ
Koło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZKoło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZ
Koło Naukowe Nowych Technologii Programistycznych i Rzeszowska Grupa .NET WSIiZ
 
Do we really want the world full of Internet of Things?
Do we really want the world full of Internet of Things? Do we really want the world full of Internet of Things?
Do we really want the world full of Internet of Things?
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
The aircraft The parts
The aircraft The partsThe aircraft The parts
The aircraft The parts
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
Applying read on
Applying read onApplying read on
Applying read on
 
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
 
Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4
 

Similar a เอกสารประกอบวิชาการอ่าน

ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนtassanee chaicharoen
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นan paan
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนtassanee chaicharoen
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3Nanapawan Jan
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3ohm11007
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 

Similar a เอกสารประกอบวิชาการอ่าน (20)

Thai a net
Thai a netThai a net
Thai a net
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้น
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
202
202202
202
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 

Más de naaikawaii

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมnaaikawaii
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมnaaikawaii
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8naaikawaii
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6naaikawaii
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7naaikawaii
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5naaikawaii
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2naaikawaii
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3naaikawaii
 
Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์naaikawaii
 
Onet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทยOnet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทยnaaikawaii
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53naaikawaii
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53naaikawaii
 
Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53naaikawaii
 
Onet'53 สังคม
Onet'53 สังคมOnet'53 สังคม
Onet'53 สังคมnaaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์naaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านnaaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์naaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษnaaikawaii
 
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1naaikawaii
 
ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1
ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1
ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1naaikawaii
 

Más de naaikawaii (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์
 
Onet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทยOnet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทย
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53
 
Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53
 
Onet'53 สังคม
Onet'53 สังคมOnet'53 สังคม
Onet'53 สังคม
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
 
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
 
ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1
ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1
ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1
 

เอกสารประกอบวิชาการอ่าน

  • 1.
  • 2. 3
  • 3. 4
  • 4. 71
  • 5. 72 “พี่นอร์ธ” ภัทรศยา โกมลตรี จากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงาน * นักเรียนทุนสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ * ตัวแทนแข่งขันภาษาไทยเพชรยอดมงกุฎของโรงเรียน * ได้รับทุนใช้ภาษาไทยภูกต้องเหมาะสมของโรงเรียน * เป็นนักเรียนในโครงการเสริมศักยภาพภาษาไทยของโรงเรียน * ได้รับทุนเรียนดีจากธนาคารแห่งประเทศไทย ฯลฯ
  • 6. 73 การอ่านจับใจความ ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความที่เป็นแก่น (หัวเรื่อง) ของย่อหน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความ ในประโยคอื่นๆ หรือเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยวๆ ได้โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ซึ่งในแต่ละ ย่อหน้า จะมีประโยคในความสาคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ประโยค ใจความรอง หรือ พลความ หมายถึง ประโยคที่ขยายความประโยคใจความสาคัญ เป็นใจความ สนับสนุนใจความสาคัญให้ชัดเจนขึ้น อาจเป็นการอธิบายให้รายละเอียด ให้คาจากัดความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด วิธีจับใจความสาคัญ 1. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า 2. พิจารณา keyword ของเนื้อหาในย่อหน้า - keyword คือ คา กลุ่มคา หรือประโยคที่พบซ้าๆในย่อหน้า - การหา keyword ในย่อหน้าจะช่วยจับใจความสาคัญได้ง่ายและถูกต้อง เพราะ keyword มักจะเป็นประเด็นสาคัญของย่อหน้า ตัวอย่าง สิ่งที่ชาวเรือถือกันมากก็คือ “หัวเรือ” นับถือกันว่าเป็นแม่ย่านางอยู่ พวกแม่ค้าพ่อค้าที่ใช้เรือเป็น พาหนะบรรทุกของและที่อยู่อาศัย ไม่ว่าจะเป็นเรือเล็กหรือเรือใหญ่ มักไม่ยอมให้ใครเหยียบหัวเรือ แม้จะ ข้ามก็ยังไม่ยอมให้ข้าม เจ้าของเรือบางคนเคร่งมากจะจุดธูปบูชาทั้งเช้าและเย็น ที่หัวเรือบางลามี แผ่น ทองเหลือง หุ้มอย่างสวยงาม และมีซอกทองเหลืองเล็กๆติดไว้ที่ทวนหัวเรือสาหรับปักธูป บางทีก็มี พวงมาลัยคล้องหัวเรือ ที่เคร่งมากๆถึงกับจัดอาหารเซ่นทุกเช้าก็มี 3. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ ส่วนที่ไม่ใช่ใจความสาคัญซึ่งควรตัดออกในแต่ละย่อหน้า ได้แก่ สิ่งต่างๆต่อไปนี้ -ส่วนขยายหรือรายละเอียดต่างๆ -ข้อเปรียบเทียบต่างๆ -ตัวอย่างประกอบ -คาศัพท์ สานวน หรือโวหารที่ยกมาประกอบ -ตัวเลข สถิติที่เป็นรายละเอียด -คาถามและคาอธิบายของผู้เขียน -ชื่อบุคคลที่ผู้เขียนอ้างอิงโดยไม่เน้นความสาคัญ -ย่อหน้าพิเศษบางย่อหน้าที่เป็นส่วนขยายความหรือตัวอย่างของเรื่อง ฯลฯ ตั้งคาถามว่า เรื่องอะไร ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ด้วยเหตุผลใดและอย่างไร
  • 7. 74 4. การให้เหตุผล เหตุ + คาเชื่อมกลุ่ม “จึง” + ผล ผล + คาเชื่อมกลุ่ม “เพราะ” + เหตุ ตัวอย่างคาเชื่อม ผล จึง ฉะนั้น, เพราะฉะนั้น,ดังนั้น...จึง ทาให้(เกิด), เป็นเหตุทาให้(เกิด), เป็นผลทาให้(เกิด) ส่งผลให้ เหตุ ด้วย,เนื่องด้วย,ด้วยเหตุที่,โดยเหตุที่ เนื่องจาก, จากการที่,จากที่ เป็นผลมาจาก,เกิดจาก ข้อสังเกต - คาเชื่อมบางคาสามารถบ่งบอกใจความสาคัญได้ -หลังคาว่า “เพราะ เช่น เนื่องจาก ได้แก่” ไม่ใช่ใจความสาคัญ -หลังคาว่า “จึง ดังนั้น เพราะฉะนั้น” เป็นใจความสาคัญ การพิจารณาตาแหน่งใจความสาคัญ 1. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า 2. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า 3. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า 4. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า 5. ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า (ในกรณีใจความสาคัญหรือความคิดสาคัญ อาจอยู่ รวมในความคิดย่อย ๆ โดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลัก) ตัวอย่างตาแหน่งใจความสาคัญ ใจความสาคัญอยู่ตอนต้นย่อหน้า ตัวอย่าง ทะเลแถบช่องแสมมีสัตว์ทะเลหลากหลายให้ชมมากกว่าที่อื่น อาจเป็นเพราะสภาพที่เป็นช่องแคบ กระแสน้าไหลแรงเชี่ยวกราก จึงพัดพาเอาออกซิเจนจากผิวน้าถ่ายเทไปได้ลึก อีกทั้งมีอาหารจาพวก แพลงก์ ตอนพืช และสัตว์อย่างสมบูรณ์ ประโยคใจความสาคัญ+ประโยคขยายความ
  • 8. 75 ใจความสาคัญอยู่ตอนท้ายย่อหน้า ตัวอย่าง ความเครียดทาให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดบีบตัวกล้ามเนื้อ เขม็งตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติเกิดอาการปวดหัว ปวดท้อง ใจสั่น แข้งขาอ่อนแรง ความเครียดจึงเป็น ตัวการให้แก่เร็ว ใจความสาคัญอยู่ตอนกลางย่อหน้า ตัวอย่าง โดยทั่วไปผักที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกาจัดศัตรูพืช หากไม่มีความรอบคอบ ในการใช้ จะทาให้เกิดสารตกค้าง ทาให้มีปัญหาต่อสุขภาพ ฉะนั้นเมื่อซื้อผักไปรับประทานจึงควรล้างผัก ด้วย น้าหลายๆครั้ง เพราะจะช่วยกาจัดสารตกค้างไปได้บ้าง ใจความสาคัญอยู่ทั้งตอนต้นและตอนท้ายย่อหน้า ตัวอย่าง การรักษาศีลก็เพื่อบังคับตนเองให้มีระเบียบวินัยในการกระทาทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น เรามาอยู่วัด มา นุ่งขาวห่มขาว ไม่ใช่ถือแต่ศีลแปดข้อเท่านั้น แต่เราต้องนึกว่าศีลนั้นคือความมีระเบียบ มีวินัย เราเดิน อย่างมีระเบียบมีวินัย นั่งอย่างมีระเบียบ กินอย่างมีระเบียบ ทาอะไรก็ทาอย่างมีระเบียบนั่น เป็นคนที่มีศีล ถ้าเราไม่มีระเบียบก็ไม่มีศีล ใจความสาคัญไม่ปรากฏในส่วนใด ต้องสรุปเอง ตัวอย่าง ในอดีตพระสงฆ์เป็นแบบอย่างการดารงชีวิตอันประเสริฐและเป็นผู้นาสติปัญญาของชุมชน ปัจจุบัน พระสงฆ์จานวนมากไม่มีบทบาทอื่นใดนอกจากเรื่องพิธีกรรม สร้างวัดวาอารามใหญ่โต มุ่งโภคทรัพย์มากกว่า เจริญไตรสิกขา ฆราวาสเองก็ไม่เกื้อหนุนค้าจุนให้พระสงฆ์ประพฤติพรหมจรรย์กลับไปส่งเสริมในทางวัตถุ เพื่อยั่วกิเลส ข้อใดเป็นสาระสาคัญของข้อความข้างต้น ก. ทุกวันนี้สังคมกาลังเสื่อมลงเพราะพระสงฆ์และฆราวาส ข. ปัจจุบันนี้พระสงฆ์ไม่เป็นที่พึ่งทางใจและไม่ให้ความรู้แก่สังคม ค. พระสงฆ์หันไปสร้างวัดใหญ่โตมากกว่าการเจริญไตรสิกขา ง. ชุมชนเสื่อมลงเพราะพระสงฆ์ไม่เป็นแบบอย่างการดารงชีวิตที่เหมาะสม ประโยคขยายความ+ประโยคใจความสาคัญ ประโยคขยาย(เกริ่นนา)+ประโยคใจความสาคัญ+ประโยคขยายความ+(ขยายประโยคใจความ สาคัญ) ประโยคใจความสาคัญ+ประโยคขยายความ+ประโยคใจความสาคัญ
  • 9. 76 มาลองทาแบบฝึกหัดกันเถอะ 1.) ขณะนี้ ไม่ว่าท่านจะอยู่ ณ ที่ใด ในบ้าน บนรถไฟ รถเมล์ ในห้องทางาน บนสถานที่ราชการหรือ ที่ใดก็ ตาม 2.) ท่านจะต้องใช้สายตา “อ่าน” อยู่ตลอดเวลา 3.)ซึ่งแน่ล่ะ เราต้องยกเว้นกรณีที่ท่านตาบอด เพราะ ท่านย่อมจะอ่านหนังสือในเล่มนี้ไม่ได้แน่ 4.) ยกเว้นแต่จะมีใครอ่านให้ท่านฟัง (ศิลปะการอ่านหนังสือ ของ ครรชิด มาลัยวงศ์) ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………… 1.) คนไม่อ่านหนังสือ คือ คนถอยหลังอยู่ในสังคม 2.) เพราะทุกวันนี้โลกเจริญขึ้นอย่างไม่หยุดหย่อน 3.) มี เหตุการณ์ใหม่ๆ ปรากฏสืบเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย 4.) ทุกคนที่หวังความก้าวหน้าจึงต้องตามเรื่อง เหล่านี้ ด้วยการอ่านอย่างไม่หยุดยั้ง 5.) มิฉะนั้น เขาจะได้นามว่า เป็นผู้ถอยหลัง (อ่านเพื่อความสมบูรณ์ ของ นายเจือ สตะเวทิน) ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………… 1.) บางคนอ่านหนังสือเพียงเฉพาะเรื่องราว 2.) คืออ่านแต่เรื่องในวงอาชีพของตน 3.) ถ้าทาอย่างนั้น ก็นับว่า ยังไม่ได้ผลเต็มที่ 4.) เพราะขาดความรู้ในวงการทั่วไป 5.) ทางที่ดีควรขยายขอบเขตของการอ่านให้ กว้างขวาง ออกไปอีก (อ่านเพื่อความสมบูรณ์ ของ นายเจือ สตะเวทิน) ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………... 1.) สิ่งที่เราจะต้องอ่านในทุกวันนี้ มีมากขึ้นกว่าแต่ก่อนมากนัก 2.) หนังสือพิมพ์รายวันบ้าง วารสาร จาก สมาคมวิชาชีพต่างๆบ้าง หนังสือปกอ่อนราคาถูกบ้าง หนังสือเล่มขนาดใหญ่บ้างต่างๆขนาด 3.) เฉพาะ ส่วนที่ เป็นภาษาไทยก็มีอยู่มาก ขนาดที่คนธรรมดาจะใช้เวลาตลอดเวลาอ่านอย่างเดียว ก็ไม่อาจจะอ่านหนังสือ ที่ พิมพ์ขึ้นในวันนั้นได้หมด 4.) ทั้งนี้ยังไม่ต้องนับหนังสือภาษาอังกฤษและภาษาอื่นๆซึ่งพิมพ์มากกว่าภาษาไทย ด้วยซ้าไป (ศิลปะการอ่านหนังสือ ของ ครรชิต มาลัยวงศ์) ใจความสาคัญ : ……………………………………………………………………………………………… NOTE : ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................
  • 10. 77 1.) เรือลานั้นแล่นผ่านบ้านเรือนที่คับคั่งในบริเวณอาเภอ 2.) แสงไฟฉายออกมาจากโรงสีข้าวข้าง ลา น้ากระทบเม็ดฝนที่สาดลงมามิรู้สิ้นสุด แลดูเหมือนม่านที่ทาด้วยน้ากั้นไว้ 3.) พอเรือเริ่มผ่านบ้านเรือนที่มี ประปรายอยู่นอกอาเภอ 4.) สายลมและสายฝนก็กระหน่าลงมาแรงขึ้นกว่าเก่า 5.) คนโดยสารจานวนมากที่นั่ง หรือนอนอยู่ในเรือพากันขยับตัว เหลียวสายแลขวามองดูหน้ากันอย่างไม่สบายใจ 6.) พอเรือแล่นต่อมาอีกจะ เข้าหัวเลี้ยวที่เรียกว่า คุ้งสาเภา 7.) กาลังแรงของพายุก็มาปะทะเข้ากลางลา 8.) เสียงคนหวีดร้องเสียงคน ตะโกน เสียงเด็กร้องจ้าขึ้นด้วยความตกใจ 9.)ที่กาลังหลับก็ทะลึ่งตัวขึ้นสุดแรง 10.) ทุกคนถลันตัวเข้าใส่กราบ ที่มิได้เอียง 11.) ทันใดนั้นเรือก็โคลงกลับมาอีกข้างหนึ่งด้วยกาลังถ่วงสุดเหวี่ยง 12.) ท่ามกลางเสียงร้องที่ฟัง ไม่ได้ศัพท์ 13.) และเสียงรัวกระดิ่งของนายท้าย ซึ่งดึงสายกระดิ่งด้วยความตกใจปราศจาก สัญญาณใด 14.) และเรือนั้นก็คว่าลงทันที 15.) เครื่องยนต์ในเรือคงเดินต่อไปอีกครู่หนึ่งสั่นสะท้านอย่างแรง แล้วก็หยุดเงียบ เหมือนกับหัวใจสัตว์ที่เต้นต่อสู้อย่างแรงเป็นครั้งสุดท้ายและก็ต้องหยุดลงเมื่อความตาย มาถึงตัว (หลายชีวิต ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช) ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………. จงขีดเส้นใต้ใจความสาคัญ 1.) ความแตกต่างของมนุษย์และสัตว์อีกประการหนึ่งที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องของการใช้ภาษา มนุษย์ สามารถถ่ายทอดความรู้ความคิดออกมาเป็นตัวเขียน คือ เป็นภาษาหนังสือสาหรับให้ผู้อื่นอ่านเข้าใจตรงตาม ที่ต้องการ แต่สัตว์ใช้ได้แต่เสียงเท่านั้นในการสื่อสาร แม้แต่เสียง หลายท่านก็ยังมีความเห็นว่าสัตว์จะทาเสียง เพื่อแสดงความรู้สึก เช่น โกรธ หิว เจ็บปวด เท่านั้น เสียงของสัตว์ไม่อาจสื่อความหมาย ได้ละเอียดลออเท่า ภาษาพูดของมนุษย์ ใจความสาคัญ : ……………………………………………………………………………………………….. 2.) คนไทยนั้นถือว่าบ้านเป็นสิ่งสาคัญต่อชีวิตตั้งแต่เกิดไปจนตาย เพราะคนไทยโบราณนั้น ใช้บ้าน เป็นที่เกิด การคลอดลูกจะกระทากันที่บ้านโดยมีหมอพื้นบ้านที่เรียกว่าหมอตาแยเป็นผู้ทาคลอด มิได้ใช้ โรงพยาบาล หรือสถานผดุงครรภ์อย่างในปัจจุบันนี้ และที่สุดของชีวิตเมื่อมีการตายเกิดขึ้น คนไทยก็จะเก็บศพ ของผู้ตายที่เป็นสมาชิกของบ้านไว้ในบ้านก่อนที่จะทาพิธีเผาเพื่อทาบุญสวด และเป็นการใกล้ชิด กับผู้ตายเป็น ครั้งสุดท้าย ดังนั้นบ้านจึงเป็นสถานที่ที่คนไทยใช้ชีวิตอยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่เกิดจนตาย ใจความสาคัญ : ………………………………………………………………………………………………..
  • 11. 78 3.) คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่สาคัญที่สุดในบรรดาสารอาหารที่ให้พลังงานก็ร่างกาย จาก สัดส่วนของพลังงานที่ได้จากอาหารทั้งหมดในหนึ่งวัน จะมีคาร์โบไฮเดรตประมาณ 40-80 ซึ่งจะ สูงกว่า ที่ได้จากไขมันและโปรตีน สาหรับการกินข้าวของคนไทย สัดส่วนของข้าวก็จะมากกว่ากับข้าว กรณีเช่นนี้ สอดคล้องกับหลักวิชาการที่ว่า พลังงานที่ได้จากอาหารนั้นควรมาจากคาร์โบไฮเดรตเป็นหลัก รองลงมา คือ ไขมันและโปรตีน ใจความสาคัญ : ……………………………………………………………………………………………….. 4.) เมื่อพบว่าบุตรหลานมีฟันขึ้นไม่เป็นระเบียบ ผู้ปกครองอาจวิตกกังวลว่าควรจะรับการรักษา ทันทีหรือควรรอให้เด็กโตเป็นผู้ใหญ่ก่อน ความจริงแล้วการจัดในแต่ละคนไม่สามารถกาหนดตายตัวได้ แน่นอน ว่าควรทาเมื่อใดทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพความผิดปกติของแต่ละคน ในบางกรณีการรอให้ฟันแท้ขึ้น ครบจะทาให้การรักษาง่ายและใช้เวลาสั้นกว่า แต่ในบางกรณีที่มีความผิดปกติรุนแรงต้องเริ่มจัดฟัน ตั้งแต่อยู่ในช่วงฟันน้านมหรือชุดฟันผสม ใจความสาคัญ : ……………………………………………………………………………………………….. ใช้บทความต่อไปนี้ตอบคาถาม ถ้าพูดถึง “ทิชชู่” หรือกระดาษทิชชู่ ส่วนใหญ่เราก็มักเหมารวมว่า หมายถึง กระดาษสีขาวเนื้อ บางเบา ที่มีคุณสมบัติซึมซับน้าได้ดี เป็นสินค้าจาเป็นประจาครัวเรือน สานักงานร้านอาหารหรือเกือบใน สถานที่ทุกแห่ง ที่มีคนอยู่ก็ว่าได้ “ทิชชู่” มักถูกนึกถึงในกรณีฉุกเฉิน เอาไว้เช็ดทาความสะอาด อย่างไร ก็ตาม กระดาษทิชชู่ มีอยู่หลายประเภทสามารถแบ่งออกตามลักษณะการใช้งาน ได้แก่ 1. กระดาษชาระ 2. กระดาษเช็ดหน้า 3. กระดาษเช็ดปาก 4. กระดาษเช็ดมือ 5. กระดาษเอนกประสงค์ แต่ดูเหมือนว่าคนไทยอย่างเราๆ จะใช้ทิชชู่โดยไม่ได้คานึงถึงประเภทของทิชชู่ เรามักเห็น กระดาษชาระวางอยู่บนโต๊ะอาหาร หรือถูกนาไปเช็ดหน้าเช็ดตา หรือแม้กระทั่งเอาไว้ห่อหรือวางรอง อาหารเสียด้วยซ้า โดยที่ไม่คิดรังเกียจใดๆ ทั้งที่ “กระดาษชาระ” นั้นคือกระดาษเหมาะสาหรับทา ความ สะอาดหลังขับถ่าย เป็นกระดาษย่น นุ่ม ดูดซึมน้าได้ดีและยุ่ยง่ายเมื่อเปียกน้า ด้วยความที่เราใช้ กระดาษชาระ กันไปเสียแทบทุกอย่าง จึงมีข้อสงสัยว่ากระดาษชาระดังกล่าวมีความสะอาดปลอดภัย มากแค่ไหน ทั้งนี้ หลังจากพลิกอ่านคู่มือมาตรฐานอุตสาหกกรมกระดาษทิชชู่ พบว่า ตามมาตรฐานของ กระดาษชาระ จะเน้น ความสาคัญไปที่การซึมซับน้า การย่อยสลาย ขนาดและจุดสกปรก ซึ่งเมื่อดูจาก ตาเปล่า เราไม่สามารถเห็น สิ่งปกติใดๆ แต่ความจริงแล้ว มันมีสิ่งแปลกปลอมใดๆแฝงอยู่หรือไม่ ต้อง ตามอ่านกันต่อไป เราได้ส่งตัวอย่างกระดาษชาระ ทั้งแบบเกรดเอและบี 24 ตัวอย่างไปตรวจสอบในห้องปฏิบัติ กลางประเทศไทย จากัด เพื่อทดสอบหาปริมาณจุลินทรีย์ชนิดก่อโรค ได้แก่ bacillus cereus, Staphy- lococcus, Escherichia coli, Salmonella, Yeast and mold และ Total Plate Count ผลการทดสอบพบว่า
  • 12. 79 ทุกยี่ห้อมีการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ในปริมาณน้อยมาก ไม่ก่อให้เกิดโรค อย่างไรก็ตาม ยังถือว่าไม่ปลอด จุลินทรีย์ ดังนั้น จึงควรใช้กระดาษชาระให้ถูกกับงาน การนาไปใช้ผิดงานอาจก่อให้จุลินทรีย์ปนเปื้อน และ หากทิ้งไว้เป็นเวลานาน เมื่อสิ่งที่ถูกเช็ดมีสภาวะเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ สามารถขยายตัวได้ จนอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ “หลายคนอาจสงสัยถึงที่มาที่ไปของกระดาษชาระ เราจึงสืบประวัติของมันย้อนไปถึงราวศตวรรษ ที่ 14 พบว่ากระดาษชาระเริ่มมีความนิยมใช้กันในราชสานักจีน ขณะที่คนธรรมดาทั่วไปยังใช้สิ่งของมา เช็ดก้นกันตามสะดวก เช่น ใบไม้ เศษผ้า ต่อมาในยุคหลังๆก็หันมาในยุคหลังๆก็หันมานิยมใช้กระดาษ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ใบปลิวต่างๆ มาเช็ดแทน กระทั่งนักธุรกิจอเมริกันคนหนึ่ง ชื่อว่า “โจเซฟ กาเย็ตตี้” เป็นคนแรกที่ผลิตกระดาษชาระออกวางขายในปี ค.ศ.1857 แต่ต้องประสบกับภาวะขาดทุนเนื่องจากตลาด ยังนิยมใช้ของเช็ดแบบเดิมมากกว่า แถมยังไม่ต้องเสียเงินซื้ออีกด้วย จากนั้นอีก 20 ปี ต่อมาพี่น้องสกุล “สก็อต” ได้ ผลิตกระดาษชาระออกขายอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า “สก๊อตทิชชู” ในขณะนั้นส้วมและชักโครก ภายในอาคารเริ่มเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง ทาให้คนหันมาใช้กระดาษชาระ มากขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ ยังเป็นเพราะกระดาษชาระใช้ได้สะดวก มีเนื้อนุ่มและเข้ากับการตกแต่งห้องน้า จากนั้นเป็นต้นมา ตลาด กระดาษชาระก็โตขึ้นอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับวิวัฒนาการที่พัฒนาขั้น จนปัจจุบันกลายเป็นเพียงสินค้าที่ ใครๆ ก็สามารถซื้อได้” 1. วัตถุประสงค์ของบทความข้างต้นคืออะไร ก. อธิบายว่ากระดาษทิชชู่มีประเภทใดบ้าง ข. บอกประวัติความเป็นมาของกระดาษทิชชู่ ค. ย้าเตือนอันตรายที่เกิดจากการใช้กระดาษทิชชู่ ง. ต้องการให้ผู้บริโภคใช้กระดาษทิชชู่ให้ถูกหน้าที่ จ. ส่งเสริมให้ลดละเลิกการใช้กระดาษทิชชู่อย่างฟุ่มเฟือย 2. จากบทความข้างต้นกล่าวว่ากระดาษชาระจะปรากฎในที่ต่างๆต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด ก. โต๊ะอาหาร ข. ห้องน้าสาธารณะ ค. ร้านขายลูกชิ้นทอด ง. ในกระเป๋าถือของผู้หญิง จ. สามารถพบได้ทุกที่ๆกล่าวมา 3. ข้อใดต่อไปนี้ต่างจากข้ออื่น ก. กระดาษย่น ข. กระดาษเอนกประสงค์ ค. กระดาษที่ซึมซับน้าได้ดี ง. กระดาษยุ่ยง่ายเมื่อถูกน้า จ. กระดาษที่ปนเปื้อนจุลินทรีย์ในปริมาณน้อยมาก
  • 13. 80 4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ถูกนามาใช้ในวัตถุประสงค์เดียวกันกับกระดาษชาระ ก. ใบไม้ ข. ใบปลิว ค. สก็อตทิชชู่ ง. กระดาษเช็ดหน้า จ. กระดาษหนังสือพิมพ์ 5. เพราะเหตุใดการผลิตกระดาษชาระออกมาวางจาหน่ายในช่วงแรกจึงประสบกับภาวะขาดทุน ก. เพราะเป็นสินค้าราคาแพง ข. เพราะนิยมใช้เฉพาะชนชั้นสูง ค. เพราะคนส่วนใหญ่ยังไม่คุ้นเคย ง. เพราะเป็นสินค้าที่คนไม่ค่อยรู้จัก จ. เพราะเป็นสินค้าที่ไม่สามารถจาหน่ายได้ในวงกว้าง 6. ข้อใดคือสาเหตุหลักที่ทาให้ “สก็อตทิชชู่” สามารถขายกระดาษชาระได้ผล ก. มีเนื้อนุ่มน่าใช้ ข. มีราคาที่ใครก็สามารถซื้อได้ ค. เป็นสินค้าที่ใช้ได้สะดวกมากขึ้น ง. มีการใช้ส้วมชักโครกอย่างแพร่หลาย จ. กระดาษชาระมีความสวยงามเข้ากับการตกแต่งห้อง 7. เพราะเหตุใดบทความจึงกล่าวว่าไม่ควรใช้กระดาษชาระในวัตถุประสงค์อื่น แม้ว่าจะตรวจสอบพบ เชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนในปริมาณน้อยมาก ก. เพราะกระดาษชาระสามารถปนเปื้อนจุลินทรีย์ได้ง่าย ข. เพราะจุลินทรืย์อาจเจริญเติบโตจนส่งผลต่อสุขภาพของผู้ใช้ ค. เพราะจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนส่วนใหญ่เป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค ง. เพราะกระดาษชาระมักจะใช้เช็ดสิ่งสกปรกซึ่งจะมีจุลินทรีย์ปนเปื้อนสูง จ. เพราะกระดาษชาระทั้งเกรดเอและบีต่างก็มีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ไม่ต่างกัน
  • 14. 80 ความรู้รอบตัว อันดับเศรษฐีไทย 1. นายธนินทร์ เจียรวนนท์  บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ จำกัด มหำชน 2. นายเจริญ สิริวัฒนกุล  บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด มหำชน (เหล้ำแม่โขง,เบียร์ช้ำง) 3. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์  บริษัท พฤกษำ เรียลเอสเตท จำกัด มหำชน 4. นายกฤตย์ รัตนรักษ์  บริษัท บำงกอก บรอดคำสติ้ง แอนด์ ทีวี (BBTV – ช่อง 7) 5. นพ. ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ  บริษัท กำรบินกรุงเทพ จำกัด (บางกอกแอร์เวย์) อันดับเศรษฐีโลก 1. นายคาร์ลอส สลิม(73ปี)  ชำวแมกซิกัน เจ้าของธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมและการพลังงาน 2. นายบิล เกตส์(57 ปี)  ชำวอเมริกัน เจ้าของบริษัท ไมโครซอฟท์ (Microsoft Corporation) - วันศิลปินแห่งชาติ 24 กุมภาพันธ์ ของทุกปี - Swift code เป็นรหัสที่ใช้ระบุสาขาของธนาคารทั่วโลกสาหรับการโอนเงินข้ามประเทศ - นามสกุล “ทานากะ” ใช้มากเป็นอันดับ 4 ในญี่ปุ่น - อีเห็นเป็นสัตว์กินเนื้อ  เลี้ยงด้วยกาแฟ  มูลที่ถ่ายออกมาจะเป็นกาแฟรสชาติดี,ราคา แพง - วันดินโลก 5 ธ.ค. จัดตั้งโดยองค์การอาหารแลการเกษตรแห่งสหประชาชาติ - สี่เสือแห่งเอเชีย หมายถึง การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว 1. ฮ่องกง 2. สิงคโปร์ 3. เกาหลีใต้ 4. ไต้หวัน - อาเซียนมีสมาชิกเป็นประเทศด้อยพัฒนา 3 ประเทศคือ ลาว พม่า กัมพูชา - มหาวิทยาลัยลุนด์ เป็น มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของยุโรป  มีชื่อด้านการศึกษาและวิจัยใหญ่สุด ในสแกนดิเนเวีย
  • 15. 81 10 ประเทศ ASEAN + 3 (จีน,เกาหลี,ญี่ปุ่น) ASEAN + 6 (จีน,เกาหลี,ญี่ปุ่น,ออสเตรเลีย,อินเดีย,นิวซีแลนด์ คาขวัญ: One Vision,One Identity,One Community 3 เสาหลัก - การเมือง,ความมั่นคง - เศรษฐกิจ - สังคมวัฒนธรรม ASEAN