SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 33
Descargar para leer sin conexión
14




โครงสร้ างหลักสู ตร / คาอธิบายรายวิชา
    กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
15

                                    โครงสร้ างหลักสู ตร
                 รายวิชาพืนฐานและเพิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
                          ้         ่

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ท21101 ภาษาไทย            3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                ่                        60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                  ่            1.5 หน่วยกิต
ท21102 ภาษาไทย            3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                  ่                      60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                    ่          1.5 หน่วยกิต
ท21201ฝึ กทักษะการอ่าน1   2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                    ่                    40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                ่              1.0 หน่วยกิต
ท21202ฝึ กทักษะการอ่าน2   2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                              ่                          40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                              ่                1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ท22101 ภาษาไทย            3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                              ่                          60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                ่              1.5 หน่วยกิต
ท22102 ภาษาไทย            3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                ่                        60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                  ่            1.5 หน่วยกิต
ท22201การเขียน            2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                    ่                    40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                              ่                1.0 หน่วยกิต
ท22202หลักภาษาไทย         2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                  ่                      40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                    ่          1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ท23101 ภาษาไทย            3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                              ่                          60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                ่              1.5 หน่วยกิต
ท23102 ภาษาไทย            3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                ่                        60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                  ่            1.5 หน่วยกิต
ท23201การฟัง การดูฯ       2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                    ่                    40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                              ่                1.0 หน่วยกิต
ท23202การพูดในโอกาสฯ      2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                  ่                      40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                    ่          1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ท31101 ภาษาไทย            2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต
                              ่                             ่
ท31102 ภาษาไทย            2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต
                                ่                             ่
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
ท32101 ภาษาไทย            2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                ่                        40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                ่              1.0 หน่วยกิต
ท32102 ภาษาไทย            2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                  ่                      40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                  ่            1.0 หน่วยกิต
ท32201 การเขียน           2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                              ่                          40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                              ่                1.0 หน่วยกิต
ท 32202 หลักภาษาไทย       2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                    ่                    40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                    ่          1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
ท33101 ภาษาไทย            2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต
                              ่                             ่
ท33102 ภาษาไทย            2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต
                                ่                             ่
16

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑          เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………...

         การอ่าน อ่านออกเสี ยงร้อยแก้ว ร้ อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่านจับใจความ
สาคัญ ตีความ ระบุและอธิ บาย คาเปรี ยบเทียบและคาที่มีความหมายในบริ บทต่าง ๆ จากการอ่าน
ปฏิ บ ติตามคู่ มื อแนะนาวิธีก ารใช้ง านของเครื่ องมื อหรื อเครื่ องใช้ใ นระดับ ที่ ย ากขึ้ น มี มารยาท
       ั
ในการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน
         การเขียน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนสื่ อสารแนะนาตนเอง และเขียนบนสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ถอยคาถูกต้องชัดเจนเหมาะสม และสละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์
                          ้
โดยระบุ ส าระส าคัญและรายละเอี ยดสนับสนุ น เขี ย นเรี ย งความเชิ ง พรรณนา เขี ย นย่ อ ความ
จากเรื่ องสั้ น นิ ท าน เรื่ องเล่ า ประสบการณ์ เขี ย นจดหมายส่ ว นตัว มี ม ารยาทในการเขี ย น
และมีนิสัย รักการเขียน
         การฟังการดูและการพูดฟังและดูเรื่ องราวจากสื่ อต่าง ๆ เพื่อสรุ ปความ จับประเด็นสาคัญ
ใช้วจารณญาณในการฟังและดู การพูด พูดสรุ ปความ พูดแสดงความรู ้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์
     ิ
โดยใช้ภาษาถูกต้องชัดเจนตามหลักการพูด มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด เรี ยนรู้ธรรมชาติ
และพลังของภาษาในเรื่ อง เสี ยงในภาษาไทย การสร้างคาไทย ภาษาพูด และภาษาเขียน
         ศึกษา วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง และวรรณกรรมท้องถิ่น เพื่อพิจารณา
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้ อหา ด้านสังคม ท่องจาบทประพันธ์ที่มีคุณค่าประทับใจ นาข้อคิดที่ได้ไป
ใช้ประโยชน์ในชีวิตจริ งได้อย่างเหมาะสม
         โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิบติ               ั
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านิยม
แผนภาพความคิด การอภิปราย บทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม
ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน
ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ
อนุรักษ์ และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ
นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน การทางาน และการประกอบอาชีพได้ มีคุณธรรม
                                      ิ
จริ ยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
17

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘
ท ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘
ท ๓.๑ ม.๑/๑,ม,๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔
ท ๔.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓
ท ๕.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕

รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วด
                     ั
18

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒          เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………...

      การอ่าน อ่านออกเสี ยงร้ อยแก้ว ร้ อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน จับใจความ
สาคัญ อ่ า นตี ค วาม ระบุ เหตุ และผล และข้อเท็จจริ ง กับ ข้อคิ ดเห็ นจากเรื่ องที่ อ่า น ระบุ ข ้อสังเกต
และความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ วิเคราะห์คุณค่าที่ ได้รับจากการอ่านงาน
เขียนอย่างหลากหลายเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต มีมารยาทในการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน
         การเขีย น เขีย นสื่ อสารแนะนาสถานที่ส าคัญ ๆและเขีย นบนสื่ ออิ เล็ก ทรอนิ กส์ โดยใช้
ถ้อยคาถูกต้องชัดเจนเหมาะสม และสละสลวย เขี ยนย่อความจากเรื่ องต่ างๆได้แก่ บทสนทนา
สารคดี ความเรี ยง เขี ย นแสดงความคิ ดเห็ นเกี่ ย วกับสาระจากสื่ อที่ ไ ด้รับ เขี ย นจดหมายกิ จธุ ระ
เพื่อสอบถามข้อมูล เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีมารยาทในการเขียนและมีนิสัย
รักการเขียน
         การฟัง การดูและการพูด ฟังและดูเรื่ องราวจากสื่ อต่างๆเพื่อสรุ ปความจับประเด็นสาคัญ ใช้
วิจารณญาณในการฟังและดู การพูด พูดสรุ ปความ ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อ ที่มีเนื้อหา โน้ม
น้าวใจ พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา โดยใช้ภาษา
ถูกต้องชัดเจนตามหลักการพูด มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
         เรี ยนรู้ธรรมชาติและพลังของภาษาในเรื่ อง ชนิดและหน้าที่ของคาแต่งคาประพันธ์ประเภท
กาพย์ยานี ๑๑ ได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ และใช้ภาษาเขียนเชิงสร้างสรรค์ จาแนกและใช้สานวนที่
เป็ นคาพังเพยและสุ ภาษิตได้ถูกต้อง
         ศึกษา วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง และวรรณกรรมท้องถิ่น เพื่อพิจารณา
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้ อหา ด้านสังคม ท่องจาบทประพันธ์ที่มีคุณค่าประทับใจ นาข้อคิดที่ได้ไป
ใช้ประโยชน์ในชีวิตจริ งได้อย่างเหมาะสม
         โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิบติ             ั
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านิยม
แผนภาพความคิด การอภิปราย บทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม
ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน
ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะ และบุคคล
ภูมิใจ อนุรักษ์ และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือ ในการเรี ยนรู้สาระ
อื่น ๆนาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน การทางานและการประกอบอาชีพได้ มี
                                         ิ
คุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
19

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗
ท ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑ /๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔ม.๑/๕,ม.๑/๖
ท ๓.๑ ม.๑/๑,ม,๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕
ท ๔.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓
ท ๕.๑ ม๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕

รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วด
                     ั
20

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๑๒๐๑ ฝึ กทักษะการอ่าน๑                      กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑          เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………

         ท่องและจดจารู ปพยัญชนะ รู ปสระ รู ปวรรณยุกต์ ได้ตรงกับชื่อพยัญชนะ สระ และ
วรรณยุกต์ พร้อมฝึ กเขียนทบทวนความรู้ ฝึ กอ่านสะกดคาแจกลูกคาที่ประกอบด้วยพยัญชนะที่
ประสมกับสระพื้นฐาน ฝึ กเขียนแบบคัดเขียนและเขียนตามคาบอก อ่านสะกดคาแจกลูก สลับกับ
การอ่านคา ฝึ กอ่านออกเสี ยงแบบเล่นคาผวน อ่านเป็ นกลุ่มคา อ่านเป็ นคากลอน ผันเสี ยงจาก
พยัญชนะและสระที่แจกลูกแล้ว
         ฝึ กอ่านเขียนคาที่มีตวสะกด มาตรา แม่กง แม่กน แม่กม แม่เกย และแม่เกอว พร้อมกับ
                              ั
ผันเสี ยงคาที่สะกดในมาตราดังกล่าว

       ผลการเรียนรู้

   ๑. ท่องจา และเขียนพยัญชนะไทยทั้ง ๔๔ ตัวได้
   ๒. ท่องจาและเขียนสระในภาษาไทยได้
   ๓. ท่องจาและเขียนวรรณยุกต์ในภาษาไทยได้
   ๔. อ่านสะกดคาแจกลูก เขียนสะกดคาพยัญชนะและสระพื้นฐานได้
   ๕. ผันเสี ยงจากพยัญชนะและสระพื้นฐานได้
   ๖. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กง ได้
   ๗. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กม ได้
   ๘. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กน ได้
   ๙. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ เกย ได้
   ๑๐. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ เกอว ได้

       รวมผลการเรียนรู้ ๑๐ ผลการเรี ยนรู้
21

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๑๒๐๒ ฝึ กทักษะการอ่าน๒                      กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒          เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
………………………………………………………………….

        ฝึ กอ่านเขียนคาที่มีตวสะกดในมาตราแม่กก แม่กด แม่กบ พร้อมกับผันเสี ยงคาและเขียน
                             ั
ตามคาบอกคาที่สะกดในมาตราแม่กก แม่กด และแม่กบ
        ฝึ กอ่านเขียนคาที่ประสมด้วยสระเอีย สระเอือ ที่สะกดด้วยมาตราแม่กง แม่กน แม่กม
แม่เกย และแม่เกอว
        ฝึ กอ่านเขียนคาที่ประสมด้วยสระอัวะ สระอัว สระเออะ สระเออ สระเอียะ สระเอือะ
ในแม่ ก กา
        ฝึ กอ่านและเขียนคาสระลดรู ป สระเปลี่ยนรู ป คาที่มีพยัญชนะต้นเป็ น ฆ ฒ ธ ภ ศ ษ ฬ
อ่านและเขียนคาควบกล้ า อักษรนา คาที่มาจากภาษาอื่น และอ่านคาประพันธ์ที่เกี่ยวกับมาตรา
สะกด ๙ มาตรา และอ่านเป็ นประโยคที่ยาวขึ้น

       ผลการเรียนรู้
   ๑. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กก ได้
   ๒. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กบ ได้
   ๓. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กด ได้
   ๔. อ่านและเขียนคาที่ประสมด้วยสระเอีย สระเอือ ในมาตราแม่กง แม่กน แม่กม แม่เกย
   และแม่เกอวได้
   ๕. อ่านและเขียนคาที่ประสมด้วยสระอัวะ สระอัว สระเออะ สระเออ สระเอียะ สระเอือะ
   ในมาตราแม่ ก กาได้
   ๖. อ่านและเขียนคาสระลดรู ปและเปลี่ยนรู ปได้
   ๗. อ่านและเขียนคาที่มีพยัญชนะ ฆ ฒ ธ ภ ศ ษ ฬ ได้
   ๘. อ่านคาควบกล้ าได้
   ๙. อ่านคาอักษรนาได้
   ๑๐. อ่านคาที่มีลกษณะพิเศษต่างๆ ได้
                   ั

       รวมผลการเรียนรู้ ๑๐ ผลการเรี ยนรู้
22

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑          เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………………………………………..

          ศึกษาหลักทฤษฎีและปฏิบติการอ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง การจับ
                                      ั
ใจความสาคัญ สรุ ปความ และอธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน การเขียนผังความคิด เพื่อแสดง
ความเข้าใจในบทเรี ยนต่าง ๆ ที่อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน ระบุ
การสังเกตการชวนเชื่ อ การโน้มน้าวหรื อความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสื อ บทความ
คาประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้จากการอ่านเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหา
ในชีวต มีมารยาทในการอ่าน
        ิ
          เขียนสื่ อสารด้วยลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด อ่านง่าย ชัดเจน เขียนบรรยายและพรรณนา
เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมาย กิจธุ ระ เขียนวิเคราะห์
วิจารณ์และแสดงความรู ้ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่าน อย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน
          พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดูวเิ คราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น และความ
                                                                ้
น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่าง ๆ วิเคราะห์วจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผลเพื่อนาข้อคิด
                                               ิ
มาประยุกต์ใช้ในชีวตพูดในโอกาสต่าง ๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานหรื อประเด็นที่ศึกษา
                       ิ
ค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนาอย่างเป็ นระบบ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
          เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คายืมและคาที่มาจากภาษาต่างประเทศและคาที่มาจากภาษาบาลี-
สันสกฤต
          สรุ ปเนื้ อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
          โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิบติ             ั
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านิยม
แผนภาพความคิด การอภิปราย บทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม
ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน
ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ
อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ
นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน การทางาน และการประกอบอาชีพได้ มีคุณธรรม
                                    ิ
จริ ยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
23


รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔
ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔ม.๒/๕,ม.๒/๖,ม.๒/๗,ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑,ม,๒/๒,ม.๒/๓
ท ๔.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓ม.๒/๔,ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓

รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด
                     ั
24

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒          เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………….

          ศึกษาหลักทฤษฎีและปฏิบติการอ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
                                    ั
การจับใจความสาคัญ สรุ ปความ และอธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน การเขียนผังความคิด
เพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนต่าง ๆ ที่อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่
อ่าน ระบุการสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าวหรื อความสมเหตุสมผลของงานเขียน
อ่านหนังสื อ บทความ คาประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้
จากการอ่านเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต มีมารยาทในการอ่าน
          เขียนสื่ อสารด้วยลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด อ่านง่าย ชัดเจน เขียนบรรยาย
และพรรณนา เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมาย
กิจธุ ระ เขียนวิเคราะห์วจารณ์และแสดงความรู ้ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่าน
                         ิ
อย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน
          พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น
                                                             ้
และความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่าง ๆ วิเคราะห์วจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
                                                        ิ
เพือนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในชีวต พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงาน หรื อ
    ่                            ิ
ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนาอย่างเป็ นระบบ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
          เข้าใจการสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยคความรวม
ประโยคความซ้อน ฝึ กแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ
          สรุ ปเนื้ อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
          โดยใช้ ก ระบวนการกลุ่ ม สั ม พัน ธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิ บ ั ติ
กระบวนการสร้ า งความคิ ดรวบยอด กระบวนการคิ ดวิจารณญาณ กระบวนการสร้ า งค่ า นิ ย ม
แผนภาพความคิ ด การอภิ ปราย บทบาทสมมุ ติ การมี ส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม
ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน
ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่า งมี ประสิ ท ธิ ภาพ ถู กต้องตามกาลเทศะ และบุ คคล
ภูมิใจ อนุ รักษ์ และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือ ในการเรี ยนรู้
สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การทางาน และการประกอบอาชี พได้
มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
25

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔๒/๕,ม.๒/๖
ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔
ท ๓.๑ ม.๒/๑,ม,๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔
ท ๔.๑ ม.๒/๑
ท ๕.๑ ม๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕

รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชี้วด
                     ั
26

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๒๒๐๑ การเขียน                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑          เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………..

         เขียนสะกดคา คาที่มกสะกดผิด การเขียนให้ถูกต้องตามระดับภาษา การใช้คาในการเขียน
                              ั
เหมาะสมกับข้อความ การเขียนประโยค การเขียนย่อหน้า ศึกษาโวหารแล่งท่วงทานองใน
การเขียน การเขียนประกาศ การเขียนจดหมาย การย่อ การบันทึก การเขียนเรี ยงความ การเขียน
รายงานวิชาการ ร้อยกรอง เขียนประกาศ การเขียนจดหมาย การย่อ การบันทึก การเขียนเรี ยงความ
การเขียนรายงานทางวิชาการ แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ โคลงสี่ สุภาพ กาพย์ยานี ๑๑
          โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ
กระบวนการเรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิ ญสถานการณ์และแก้ปัญหา
กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน
                   ั
อนุรักษ์ภาษาไทย นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
                                                 ิ
ที่เหมาะสม
         ผลการเรียนรู้
         ๑.เขียนสะกดคาและคาที่มกสะกดผิด
                                  ั
         ๒.เขียนคาและข้อความให้ถูกต้องตามระดับภาษา
         ๓.ใช้คาในการเขียนเหมาะสมกับข้อความ
         ๔.เขียนประโยค เขียนย่อหน้าได้ถูกต้อง เหมาะสม
         ๕.เขียนประกาศอย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ
         ๖.เขียนจดหมายราชการ
         ๗.ย่อและบันทึกเรื่ องราวจากการศึกษาค้นคว้า
         ๘.เขียนเรี ยงความ
         ๙.เขียนรายงานทางวิชาการ
         ๙.การแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑
         ๑๐.การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ
         ๑๑.การแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงสี่ สุภาพ

       รวมผลการเรียนรู้ ๑๑ ผลการเรี ยนรู้
27

                                    คาอธิบายรายวิชา
ท๒๒๒๐๒ หลักภาษาไทย                          กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………..

         ศึกษาธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษาไทย การใช้คา กลุ่มคา
สร้างประโยคที่ซบซ้อนตรงตามวัตถุประสงค์และเจตนาของผูส่งสาร อิทธิ พลของ
                 ั                                    ้
ภาษาต่างประเทศ สังเกตภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
           โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ
กระบวนการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน
                   ั
อนุรักษ์ภาษาไทย นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และ
                                                ิ
ค่านิยมที่เหมาะสม

       ผลการเรียนรู้
       ๑.อธิบายธรรมชาติของภาษาและพลังของภาษา
       ๒.บอกลักษณะของภาษาไทยไทย
       ๓.ใช้คา กลุ่มคา สร้างประโยคที่ซบซ้อนตรงตามวัตถุประสงค์และเจตนาของผูส่งสาร
                                      ั                                   ้
       ๔.บอกสาเหตุที่ทาให้ภาษาต่างประเทศปะปนในภาษาไทย
       ๖.เปรี ยบเทียบภาษาต่างประเทศกับภาษาไทยได้
       ๗.ระบุภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้



       รวมผลการเรียนรู้ ๗ ผลการเรี ยนรู้
28

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑          เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………
           อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วบทร้อยกรองเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน จับใจความสาคัญ ระบุ
ความแตกต่างของคาที่มีความหมายโดยตรงความหมายโดยนัย อ่านเรื่ องต่าง ๆ ตีความแล้วเขียน
กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน วิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น
                         ่
และประเมินค่าเรื่ องที่อาน โดยใช้ขอมูลสนับสนุน มีมารยาทในการอ่าน
                                         ้
           คัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนข้อความตามสถานการณ์ ในโอกาสต่าง ๆ
โดยใช้ถอยคาถูกต้องตรงตามระดับภาษา เขียนย่อความ เขียนจดหมายกิจธุ ระ ถูกต้องตามรู ปแบบ
         ้
เขียนอธิ บาย เขียนชี้แจงอย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด
           วิเคราะห์วิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูแสดงความคิดเห็นและประเมินค่า เพื่อนาข้อคิดมา
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต พูดรายงานจากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
           ศึกษาหลักการใช้ภาษา วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน และระดับภาษา แต่งบท
ร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพถูกต้องตามฉันทลักษณ์และไพเราะ
           ศึกษาวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมท้องถิ่น สรุ ปเรื่ อง วิเคราะห์วถีไทย ข้อคิด
                                                                               ิ
และคุณค่า นาไปใช้ในชีวตจริ ง ท่องจาและบอกคุณค่าของบทอาขยาน นาไปใช้อางอิง
                              ิ                                                    ้
           โดยใช้กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด
                                            ิ
กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการปฏิบติ การอภิปราย       ั
บทบาทสมมุติ สถานการณ์จาลอง โครงงาน กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด แฟ้ มสะสมงาน
การเลือกอ่านหนังสื อที่มีประโยชน์ แผนภาพแสดงเหตุการณ์ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจ
ในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล
ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นา
ภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
รหัสตัวชี้วด  ั
ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔๓/๕,ม.๓/๖
ท ๒.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔
ท ๓.๑ ม.๓/๑,ม,๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔๓/๕,ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑,ม,๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔ ๓/๕,ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม๓/๑,ม.๓/๒
 รวมทั้งหมด ๒๔ ตัวชี้วด     ั
29

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒          เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………...

         อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน
สรุ ปใจความสาคัญ ตึความและประเมินค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนนาไปใช้แก้ปัญหาในการ
ดาเนินชี วตประจาวันและมีมารยาทในการอ่าน
          ิ
         คัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดสวยงามตามแบบตัวอักษรไทย เขียนข้อความโดยใช้
ถ้อยคาถูกต้องตามระดับภาษา เขียนอัตชีวประวัติ เขียนจดหมายกิจธุ ระขอความอนุ เคราะห์ และ
แสดงความขอบคุณได้ถูกต้องตามรู ปแบบ เขียนแสดงความคิดเห็น เขียนโต้แย้ง เขียนวิเคราะห์
วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งจากสื่ อบทโฆษณา และบทความทางวิชาการได้
อย่างมีเหตุผล กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายความรู ้และทักษะของตนเองที่เหมาะสม
กับงาน เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีมารยาทในการเขียน
         ฟัง ดู พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดโน้มน้าวโดยการนาเสนอเนื้อหา
อย่างมีเหตุผล น่าเชื่ อถือ และมีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
         จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย อธิ บายความหมายของศัพท์ทางวิชาการ
และวิชาชีพ ใช้คาทับศัพท์และศัพท์บญญัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
                                     ั
         ศึกษาวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมท้องถิ่น สรุ ปเรื่ อง วิเคราะห์วถีไทย ข้อคิด
                                                                        ิ
และคุณค่า นาไปใช้ในชีวตจริ ง ท่องจาและบอกคุณค่าของบทอาขยาน นาไปใช้อางอิง
                           ิ                                                ้
         โดยใช้กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด
                                       ิ
กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการปฏิบติ การอภิปรายั
บทบาทสมมุติ สถานการณ์จาลอง โครงงาน กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด แฟ้ มสะสมงาน
การเลือกอ่านหนังสื อที่มีประโยชน์ แผนภาพแสดงเหตุการณ์ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจ
ในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล
ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้
สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
ที่เหมาะสม
30

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔,ม.๓/๕,ม.๓/๖
ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔ม.๓/๕,ม.๓/๖,ม.๓/๗
ท ๓.๑ ม.๓/๑,ม,๓/๒,ม.๓/๓
ท ๔.๑ ม.๓/๑,ม๓/๒,ม.๓/๓ ม.๓/๔
ท ๕.๑ ม๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓

รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด
                     ั
31

                                      คาอธิบายรายวิชา
ท๒๓๒๐๑ การฟัง การดู การพูดเพือการวิเคราะห์
                                    ่                 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑           เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………

                               ่
         อธิ บายความสาคัญ จุดมุงหมายของการฟัง การดู หลักการฟัง และการดู
แสดงความคิดเห็นวิพากษ์วจารณ์การฟัง การดู อย่างมีวจารณญาณ อธิ บายความสาคัญของการพูด
                          ิ                      ิ
หลักการพูดที่มีประสิ ทธิภาพ
           โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ
กระบวนการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน
                  ั
อนุรักษ์ภาษาไทย นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และ
                                               ิ
ค่านิยมที่เหมาะสม

        ผลการเรียนรู้
        ๑.อธิ บายความสาคัญ จุดมุ่งหมายของการฟัง
        ๒.อธิ บายความสาคัญ จุดมุ่งหมายของการดู
        ๓.อธิ บายหลักการฟัง การดูอย่างมีวจารณญาณ
                                           ิ
        ๔.แสดงความคิดเห็นวิพากษ์วจารณ์การฟัง การดูอย่างมีวิจารณญาณ และมีมารยาทในการ
                                     ิ
ฟัง การดู
        ๕.อธิ บายความสาคัญ จุดมุ่งหมายของการพูด
        ๖.บอกหลักการพูดที่มีประสิ ทธิภาพ
        ๗.พูดในโอกาสต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม
        ๘.พูดโน้มน้าวใจโดยใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม
        ๙.แสดงกิริยาท่าทางเหมาะสมตามหลักการพูดและมีมารยาทในการพูด
        ๑๐.วิเคราะห์การฟัง การดูสื่อต่าง ๆ ได้
        ๑๑.วิเคราะห์การพูดของเพื่อนหน้าชั้นเรี ยนและการพูดของนักพูดจากสื่ อต่าง ๆ

       รวมผลการเรียนรู้ ๑๑ ผลการเรี ยนรู้
32

                                    คาอธิบายรายวิชา
ท๒๓๒๐๒ การพูดในโอกาสต่ าง ๆ                 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………

         อธิ บายความหมาย องค์ประกอบของการพูด หลักการพูดที่ดี ปั จจัยสาคัญที่ช่วยให้การพูด
สัมฤทธิ์ ผล วิธีการในการพูด ฝึ กทักษะการพูดในรู ปแบบของการสนทนา การสัมภาษณ์ การพูด
ในที่ประชุม การอภิปรายกลุ่ม พูดเสี ยงตามสาย พูดผญา ภาษิต เพื่อพัฒนาสมรรถภาพในการพูด
ของตนเองได้ถูกต้องตามหลักการในการพูด วิเคราะห์และประเมินการพูด
          โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ
กระบวนการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน
                  ั
อนุรักษ์วรรณกรรมท้องถิ่น นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม
                                                          ิ
จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

       ผลการเรียนรู้
       ๑.อธิบายความหมาย องค์ประกอบของการพูด
       ๒.บอกปั จจัยสาคัญที่ทาให้การพูดสัมฤทธิ์ ผล
       ๓.พูดสนทนาถูกต้องตามหลักการ
       ๔.พูดสัมภาษณ์ได้ถูกต้องตามหลักการ
       ๕.พูดในที่ประชุมได้ถูกต้องตามหลักการ
       ๖.พูดอภิปรายกลุ่มได้ถูกต้องตามหลักการ
       ๗.พูดจัดรายการเสี ยงตามสายได้ถูกต้องเหมาะสม
       ๘.พูดผญา คาสอย แลภาษิตอีสาน
       ๙.วิจารณ์และประเมินผลการพูด

       รวมผลการเรียนรู้ ๙ ผลการเรียนรู้
33

                                              คาอธิบายรายวิชา
ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย                                          กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑                    เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
……………………………………………………………………………………………………….
             การอ่านออกเสี ยงบทร้ อยแก้วและบทร้ อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับ
เรื่ องที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความเรื่ องที่อ่าน ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียน
ประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ
และรายงาน มีมารยาทในการอ่าน
             เขี ย นสื่ อสารในรู ป แบบต่ าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุ ประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ย บเรี ย งถู ก ต้อง
 มี ข ้อ มู ล และสาระส าคัญชัด เจน เขี ย นเรี ย งความ ผลิ ต งานเขี ย นของตนเองในรู ป แบบต่ า งๆ
 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่ อง
                              ้
 ที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษา
                                                      ้
 ค้นคว้า เพื่อนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน
             มี วิจารณญาณในการเลื อกเรื่ อ งที่ ฟั ง และดู สรุ ป แนวคิ ด วิเ คราะห์ แสดงความคิ ดเห็ น
 ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนิ นชี วิต พูดในโอกาส
 ต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้งและสัมฤทธิ์ ผล มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด
             อธิ บ ายธรรมชาติ ข องภาษาพลัง ของภาษา และลัก ษณะของภาษาใช้ ค าและกลุ่ ม ค า
 สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งบทร้ อยกรองโคลงสี่ สุภาพ และกลอนสุ ภาพได้ถูกต้อง
 ตามฉันทลักษณ์และไพเราะ
             วิเคราะห์ และวิจารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิจารณ์ เบื้ องต้น วิเ คราะห์
 ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดี ต
 วิเคราะห์ และประเมิ นคุ ณค่ าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะที่ เป็ นมรดก
 ทางวัฒ นธรรมของชาติ สั ง เคราะห์ ข้อ คิ ดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพื่ อนาไปประยุก ต์ใ ช้
 ในชี วิ ต จริ ง ท่ อ งจ าและบอกคุ ณ ค่ า บทอาขยานตามที่ ก าหนดและบทร้ อ ยกรองที่ มี คุ ณ ค่ า
 ตามความสนใจ และนาไปใช้อางอิง        ้
             โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ             ั
 กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ
 การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด
 การใช้สื่อประสม การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดมความคิด การถาม ตอบ
 วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทย
 ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย
34

วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์
ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
     ิ

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕
ท ๒.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔ม.๔/๕,ม.๔/๖,ม.๔/๗,ม.๔/๘
ท ๓.๑ ม.๔/๑,ม,๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,๔/๕
ท ๔.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔
ท ๕.๑ ม๔/๑,ม.๔/๒ ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕

รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วด
                     ั
35

                                     คาอธิบายรายวิชา
ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒          เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
……………………………………………………………………………………………………….

            อ่า นออกเสี ย งบทร้ อยแก้วบทร้ อยกรองได้อย่า งถู ก ต้อง ไพเราะและเหมาะสมกับ เรื่ อง
 ที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียนประเภท
 ต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนดและมีมารยาทในการอ่าน
            เขียนสื่ อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงอย่างถูกต้อง
มี ข ้อมู ล และสาระส าคัญชัดเจน เขี ย นย่อความจากสื่ อที่ มี รูป แบบและเนื้ อ หาหลากหลาย ผลิ ต
งานเขี ย นของผูอื่ น น ามาพัฒนางานเขี ย นของตนเอง เขี ย นรายงานโครงงานภาษาไทยถู ก ต้อ ง
                     ้
ตามหลักการเขียนรายงาน และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง
                                        ้
            มี วิจารณญาณในการเลื อกเรื่ อ งที่ ฟั ง และดู สรุ ป แนวคิ ด แสดงความคิ ด เห็ น วิเ คราะห์
แนวคิด การใช้ภาษาและความน่าเชื่ อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดู
แล้ว ก าหนดแนวทางน าไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ นการดาเนิ น ชี วิ ต พู ดในโอกาสต่ า ง ๆ พูด โน้ม น้า วใจ
และแสดงความคิดใหม่ดวยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
                              ้
            ใช้คากลุ่ มคาสร้ างประโยคตรงตามวัตถุ ประสงค์ อธิ บายและวิเคราะห์ หลักการสร้ างคา
ในภาษาไทย
            วิเคราะห์ และวิจารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิจารณ์ เบื้ องต้น วิเคราะห์
 ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดี ต
 วิเคราะห์ และประเมิ นคุ ณค่ าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะที่ เป็ นมรดก
 ทางวัฒ นธรรมของชาติ สั ง เคราะห์ ข้อ คิ ดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพื่ อนาไปประยุก ต์ใ ช้
 ในชี วิ ต จริ ง ท่ อ งจ าและบอกคุ ณ ค่ า บทอาขยานตามที่ ก าหนดและบทร้ อ ยกรองที่ มี คุ ณ ค่ า
 ตามความสนใจ และนาไปใช้อางอิง      ้
                       โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ            ั
กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ
การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด
การใช้สื่อประสม การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดมความคิด การถาม ตอบ
วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทย
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุ รักษ์และจรรโลงภาษาไทย
วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์
ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
        ิ
36

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕
ท ๒.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔ม.๔/๕,ม.๔/๖,ม.๔/๗,ม.๔/๘
ท ๓.๑ ม.๔/๑,ม,๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,๔/๕
ท ๔.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔
ท ๕.๑ ม๔/๑,ม.๔/๒ ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕

รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วด
                     ั
37

                                             คาอธิบายรายวิชา
     ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย                      กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
 …………………………………………………………………..

         อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ อง
ที่อ่าน วิเคราะห์วิจารณ์เรื่ องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่ อ่านในทุกๆ ด้าน อย่างมีเหตุผล
และมีมารยาทในการอ่าน
         เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิดเขียนสื่ อความในรู ปแบบต่างๆ เขียนเรี ยงความ เขียนย่อ
ความจากสื่ อที่มีรูปแบบและเนื้อหาหลากหลายได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนบันทึกและรายงาน
การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่าง
                                                                         ้
ถูกต้อง โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูลและสาระสาคัญชัดเจน ผลิตงานเขียนของตนเองใน
                                            ้
รู ปแบบต่าง ๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเองอย่างสม่าเสมอและ
                                        ้
มีมารยาทในการเขียน
         วิ เ คราะห์ แ นวคิ ด การใช้ ภ าษาและความน่ า เชื่ อ ถื อ เรื่ องที่ ฟั ง และดู อ ย่ า งมี เ หตุ ผ ล มี
วิจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีมารยาทในการพูด การฟังและการดู
         ใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมแก่โอกาส
กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง
         วิเคราะห์ และวิจารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิจารณ์ เบื้ องต้น วิเ คราะห์
ลักษณะเด่น ของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต
วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทาง
วัฒนธรรมของชาติ รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิ บายภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอก
คุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง                      ้
         โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ                        ั
กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ
การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด
การใช้สื่อประสม การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดมความคิด การถาม ตอบ
วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทย
ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย
วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์
ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
       ิ
38

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔
ท ๒.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔ม.๕/๕,ม.๕/๖,ม.๕/๗,ม.๕/๘,ม.๕/๙
ท ๓.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒
ท ๔.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓
ท ๕.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕

รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด
                     ั
39

                                           คาอธิบายรายวิชา
     ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย                      กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………………………………………

          อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ อง
ที่อ่าน วิเคราะห์วิจารณ์ เรื่ องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
และมีมารยาทในการอ่าน
          เขียนสื่ อความ เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความ ในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
เขียนบันทึกจากแหล่งเรี ยนรู ้ ต่างๆ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียน
เชิ งวิชาการและใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิ งอย่างถูกต้อง โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล
                       ้                                                                            ้
และสาระส าคัญชัด เจน จากสื่ อที่ มี รู ป แบบและเนื้ อ หาหลากหลาย ผลิ ต งานเขี ย นของตนเอง
ในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่นแล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเองและมีมารยาท
                                             ้
ในการเขียน
          วิเคราะห์แนวคิดการใช้ภาษาและความน่ าเชื่ อถื อเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล วิเคราะห์
แนวคิ ด การใช้ ภ าษาและความน่ า เชื่ อ ถื อ เรื่ องที่ ฟั ง และดู อ ย่ า งมี เ หตุ ผ ล พู ด ในโอกาสต่ า งๆ
พู ด แสดงทรรศนะ โต้แ ย้ง โน้ ม น้ า วใจและเสนอแนวคิ ด ด้ ว ยภาษาที่ ถู ก ต้อ งเหมาะสม
และมีมารยาทในการพูด การฟังและการดู
          ใช้คาและกลุ่มคาสร้ างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์                   ใช้ภาษาได้เหมาะสมแก่โอกาส
กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้ อยกรอง วิเคราะห์อิทธิ พล
ของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
          วิเ คราะห์ แ ละวิ จ ารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิ จารณ์ เ บื้ องต้นวิ เ คราะห์
ลักษณะเด่น ของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดี ต
วิเคราะห์ และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทาง
วัฒ นธรรมของชาติ สั ง เคราะห์ ข ้อ คิ ด จากวรรณคดี แ ละวรรณกรรมในฐานะที่ เ ป็ นมรดกทาง
วัฒนธรรมของชาติ ท่องจาและบอกคุ ณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้ อยกรองที่มีคุณค่า
ตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง      ้
          โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ                       ั
กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ
การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด
การใช้สื่อประสม การใช้บทเรี ยนเรี ยนสาเร็ จรู ป การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดม
ความคิด การถาม ตอบ วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย
40

สามารถใช้ภาษาไทย ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์
และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ
นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
                             ิ

รหัสตัวชี้วด
           ั
ท ๑.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔
ท ๒.๑ ม๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔ม.๕/๕,ม.๕/๖,ม.๕/๗
ท ๓.๑ ม.๕/๑,ม,๕/๒,ม.๕/๓
ท ๔.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔
ท ๕.๑ ม๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕

รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด
                     ั
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์peter dontoom
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2KruPa Jggdd
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 

La actualidad más candente (20)

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
 
1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
3เฉลย 31
3เฉลย 313เฉลย 31
3เฉลย 31
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 

Similar a 1.หลักสูตรภาษาไทย

2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิตnang_phy29
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษnang_phy29
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิตnang_phy29
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะnang_phy29
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56 3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56 krupornpana55
 
4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทยsasiton sangangam
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.คkrupornpana55
 
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศsasiton sangangam
 
ไม้ไผ่
ไม้ไผ่ไม้ไผ่
ไม้ไผ่June Tomp
 
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555kengweb
 

Similar a 1.หลักสูตรภาษาไทย (20)

2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56 3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56
 
แผนที่2
แผนที่2แผนที่2
แผนที่2
 
แผนที่1
แผนที่1แผนที่1
แผนที่1
 
4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.ค
 
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
 
ไม้ไผ่
ไม้ไผ่ไม้ไผ่
ไม้ไผ่
 
Rt55
Rt55Rt55
Rt55
 
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ปี 2555
 
Structure of Subject_Worksheet 3
Structure of Subject_Worksheet 3Structure of Subject_Worksheet 3
Structure of Subject_Worksheet 3
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
2554
25542554
2554
 

Más de nang_phy29

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับnang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามnang_phy29
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotnang_phy29
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvnang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53nang_phy29
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 

Más de nang_phy29 (20)

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swot
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบ
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 

1.หลักสูตรภาษาไทย

  • 1. 14 โครงสร้ างหลักสู ตร / คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  • 2. 15 โครงสร้ างหลักสู ตร รายวิชาพืนฐานและเพิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ้ ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ท21101 ภาษาไทย 3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.5 หน่วยกิต ท21102 ภาษาไทย 3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.5 หน่วยกิต ท21201ฝึ กทักษะการอ่าน1 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ท21202ฝึ กทักษะการอ่าน2 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ท22101 ภาษาไทย 3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.5 หน่วยกิต ท22102 ภาษาไทย 3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.5 หน่วยกิต ท22201การเขียน 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ท22202หลักภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ท23101 ภาษาไทย 3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.5 หน่วยกิต ท23102 ภาษาไทย 3 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 60 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.5 หน่วยกิต ท23201การฟัง การดูฯ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ท23202การพูดในโอกาสฯ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ท31101 ภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต ่ ่ ท31102 ภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต ่ ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ท32101 ภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ท32102 ภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ท32201 การเขียน 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ท 32202 หลักภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ท33101 ภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต ่ ่ ท33102 ภาษาไทย 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต ่ ่
  • 3. 16 คาอธิบายรายวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต …………………………………………………………………... การอ่าน อ่านออกเสี ยงร้อยแก้ว ร้ อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่านจับใจความ สาคัญ ตีความ ระบุและอธิ บาย คาเปรี ยบเทียบและคาที่มีความหมายในบริ บทต่าง ๆ จากการอ่าน ปฏิ บ ติตามคู่ มื อแนะนาวิธีก ารใช้ง านของเครื่ องมื อหรื อเครื่ องใช้ใ นระดับ ที่ ย ากขึ้ น มี มารยาท ั ในการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนสื่ อสารแนะนาตนเอง และเขียนบนสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ถอยคาถูกต้องชัดเจนเหมาะสม และสละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์ ้ โดยระบุ ส าระส าคัญและรายละเอี ยดสนับสนุ น เขี ย นเรี ย งความเชิ ง พรรณนา เขี ย นย่ อ ความ จากเรื่ องสั้ น นิ ท าน เรื่ องเล่ า ประสบการณ์ เขี ย นจดหมายส่ ว นตัว มี ม ารยาทในการเขี ย น และมีนิสัย รักการเขียน การฟังการดูและการพูดฟังและดูเรื่ องราวจากสื่ อต่าง ๆ เพื่อสรุ ปความ จับประเด็นสาคัญ ใช้วจารณญาณในการฟังและดู การพูด พูดสรุ ปความ พูดแสดงความรู ้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์ ิ โดยใช้ภาษาถูกต้องชัดเจนตามหลักการพูด มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด เรี ยนรู้ธรรมชาติ และพลังของภาษาในเรื่ อง เสี ยงในภาษาไทย การสร้างคาไทย ภาษาพูด และภาษาเขียน ศึกษา วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง และวรรณกรรมท้องถิ่น เพื่อพิจารณา คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้ อหา ด้านสังคม ท่องจาบทประพันธ์ที่มีคุณค่าประทับใจ นาข้อคิดที่ได้ไป ใช้ประโยชน์ในชีวิตจริ งได้อย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิบติ ั กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านิยม แผนภาพความคิด การอภิปราย บทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์ และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน การทางาน และการประกอบอาชีพได้ มีคุณธรรม ิ จริ ยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
  • 4. 17 รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘ ท ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘ ท ๓.๑ ม.๑/๑,ม,๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔ ท ๔.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓ ท ๕.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕ รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วด ั
  • 5. 18 คาอธิบายรายวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต …………………………………………………………………... การอ่าน อ่านออกเสี ยงร้ อยแก้ว ร้ อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน จับใจความ สาคัญ อ่ า นตี ค วาม ระบุ เหตุ และผล และข้อเท็จจริ ง กับ ข้อคิ ดเห็ นจากเรื่ องที่ อ่า น ระบุ ข ้อสังเกต และความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ วิเคราะห์คุณค่าที่ ได้รับจากการอ่านงาน เขียนอย่างหลากหลายเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต มีมารยาทในการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน การเขีย น เขีย นสื่ อสารแนะนาสถานที่ส าคัญ ๆและเขีย นบนสื่ ออิ เล็ก ทรอนิ กส์ โดยใช้ ถ้อยคาถูกต้องชัดเจนเหมาะสม และสละสลวย เขี ยนย่อความจากเรื่ องต่ างๆได้แก่ บทสนทนา สารคดี ความเรี ยง เขี ย นแสดงความคิ ดเห็ นเกี่ ย วกับสาระจากสื่ อที่ ไ ด้รับ เขี ย นจดหมายกิ จธุ ระ เพื่อสอบถามข้อมูล เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีมารยาทในการเขียนและมีนิสัย รักการเขียน การฟัง การดูและการพูด ฟังและดูเรื่ องราวจากสื่ อต่างๆเพื่อสรุ ปความจับประเด็นสาคัญ ใช้ วิจารณญาณในการฟังและดู การพูด พูดสรุ ปความ ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อ ที่มีเนื้อหา โน้ม น้าวใจ พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา โดยใช้ภาษา ถูกต้องชัดเจนตามหลักการพูด มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด เรี ยนรู้ธรรมชาติและพลังของภาษาในเรื่ อง ชนิดและหน้าที่ของคาแต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์ยานี ๑๑ ได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ และใช้ภาษาเขียนเชิงสร้างสรรค์ จาแนกและใช้สานวนที่ เป็ นคาพังเพยและสุ ภาษิตได้ถูกต้อง ศึกษา วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง และวรรณกรรมท้องถิ่น เพื่อพิจารณา คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เนื้ อหา ด้านสังคม ท่องจาบทประพันธ์ที่มีคุณค่าประทับใจ นาข้อคิดที่ได้ไป ใช้ประโยชน์ในชีวิตจริ งได้อย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิบติ ั กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านิยม แผนภาพความคิด การอภิปราย บทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะ และบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์ และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือ ในการเรี ยนรู้สาระ อื่น ๆนาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน การทางานและการประกอบอาชีพได้ มี ิ คุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
  • 6. 19 รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗ ท ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑ /๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔ม.๑/๕,ม.๑/๖ ท ๓.๑ ม.๑/๑,ม,๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕ ท ๔.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓ ท ๕.๑ ม๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕ รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วด ั
  • 7. 20 คาอธิบายรายวิชา ท๒๑๒๐๑ ฝึ กทักษะการอ่าน๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………… ท่องและจดจารู ปพยัญชนะ รู ปสระ รู ปวรรณยุกต์ ได้ตรงกับชื่อพยัญชนะ สระ และ วรรณยุกต์ พร้อมฝึ กเขียนทบทวนความรู้ ฝึ กอ่านสะกดคาแจกลูกคาที่ประกอบด้วยพยัญชนะที่ ประสมกับสระพื้นฐาน ฝึ กเขียนแบบคัดเขียนและเขียนตามคาบอก อ่านสะกดคาแจกลูก สลับกับ การอ่านคา ฝึ กอ่านออกเสี ยงแบบเล่นคาผวน อ่านเป็ นกลุ่มคา อ่านเป็ นคากลอน ผันเสี ยงจาก พยัญชนะและสระที่แจกลูกแล้ว ฝึ กอ่านเขียนคาที่มีตวสะกด มาตรา แม่กง แม่กน แม่กม แม่เกย และแม่เกอว พร้อมกับ ั ผันเสี ยงคาที่สะกดในมาตราดังกล่าว ผลการเรียนรู้ ๑. ท่องจา และเขียนพยัญชนะไทยทั้ง ๔๔ ตัวได้ ๒. ท่องจาและเขียนสระในภาษาไทยได้ ๓. ท่องจาและเขียนวรรณยุกต์ในภาษาไทยได้ ๔. อ่านสะกดคาแจกลูก เขียนสะกดคาพยัญชนะและสระพื้นฐานได้ ๕. ผันเสี ยงจากพยัญชนะและสระพื้นฐานได้ ๖. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กง ได้ ๗. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กม ได้ ๘. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กน ได้ ๙. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ เกย ได้ ๑๐. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ เกอว ได้ รวมผลการเรียนรู้ ๑๐ ผลการเรี ยนรู้
  • 8. 21 คาอธิบายรายวิชา ท๒๑๒๐๒ ฝึ กทักษะการอ่าน๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต …………………………………………………………………. ฝึ กอ่านเขียนคาที่มีตวสะกดในมาตราแม่กก แม่กด แม่กบ พร้อมกับผันเสี ยงคาและเขียน ั ตามคาบอกคาที่สะกดในมาตราแม่กก แม่กด และแม่กบ ฝึ กอ่านเขียนคาที่ประสมด้วยสระเอีย สระเอือ ที่สะกดด้วยมาตราแม่กง แม่กน แม่กม แม่เกย และแม่เกอว ฝึ กอ่านเขียนคาที่ประสมด้วยสระอัวะ สระอัว สระเออะ สระเออ สระเอียะ สระเอือะ ในแม่ ก กา ฝึ กอ่านและเขียนคาสระลดรู ป สระเปลี่ยนรู ป คาที่มีพยัญชนะต้นเป็ น ฆ ฒ ธ ภ ศ ษ ฬ อ่านและเขียนคาควบกล้ า อักษรนา คาที่มาจากภาษาอื่น และอ่านคาประพันธ์ที่เกี่ยวกับมาตรา สะกด ๙ มาตรา และอ่านเป็ นประโยคที่ยาวขึ้น ผลการเรียนรู้ ๑. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กก ได้ ๒. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กบ ได้ ๓. อ่านและเขียนคาที่สะกดในมาตราแม่ กด ได้ ๔. อ่านและเขียนคาที่ประสมด้วยสระเอีย สระเอือ ในมาตราแม่กง แม่กน แม่กม แม่เกย และแม่เกอวได้ ๕. อ่านและเขียนคาที่ประสมด้วยสระอัวะ สระอัว สระเออะ สระเออ สระเอียะ สระเอือะ ในมาตราแม่ ก กาได้ ๖. อ่านและเขียนคาสระลดรู ปและเปลี่ยนรู ปได้ ๗. อ่านและเขียนคาที่มีพยัญชนะ ฆ ฒ ธ ภ ศ ษ ฬ ได้ ๘. อ่านคาควบกล้ าได้ ๙. อ่านคาอักษรนาได้ ๑๐. อ่านคาที่มีลกษณะพิเศษต่างๆ ได้ ั รวมผลการเรียนรู้ ๑๐ ผลการเรี ยนรู้
  • 9. 22 คาอธิบายรายวิชา ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาหลักทฤษฎีและปฏิบติการอ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง การจับ ั ใจความสาคัญ สรุ ปความ และอธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน การเขียนผังความคิด เพื่อแสดง ความเข้าใจในบทเรี ยนต่าง ๆ ที่อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน ระบุ การสังเกตการชวนเชื่ อ การโน้มน้าวหรื อความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสื อ บทความ คาประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้จากการอ่านเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหา ในชีวต มีมารยาทในการอ่าน ิ เขียนสื่ อสารด้วยลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด อ่านง่าย ชัดเจน เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมาย กิจธุ ระ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู ้ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่าน อย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดูวเิ คราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น และความ ้ น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่าง ๆ วิเคราะห์วจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผลเพื่อนาข้อคิด ิ มาประยุกต์ใช้ในชีวตพูดในโอกาสต่าง ๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานหรื อประเด็นที่ศึกษา ิ ค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนาอย่างเป็ นระบบ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คายืมและคาที่มาจากภาษาต่างประเทศและคาที่มาจากภาษาบาลี- สันสกฤต สรุ ปเนื้ อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิบติ ั กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านิยม แผนภาพความคิด การอภิปราย บทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน การทางาน และการประกอบอาชีพได้ มีคุณธรรม ิ จริ ยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
  • 10. 23 รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔ ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔ม.๒/๕,ม.๒/๖,ม.๒/๗,ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑,ม,๒/๒,ม.๒/๓ ท ๔.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓ม.๒/๔,ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด ั
  • 11. 24 คาอธิบายรายวิชา ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต …………………………………………………………………………………………………. ศึกษาหลักทฤษฎีและปฏิบติการอ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ั การจับใจความสาคัญ สรุ ปความ และอธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน การเขียนผังความคิด เพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนต่าง ๆ ที่อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่ อ่าน ระบุการสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าวหรื อความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสื อ บทความ คาประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้ จากการอ่านเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต มีมารยาทในการอ่าน เขียนสื่ อสารด้วยลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด อ่านง่าย ชัดเจน เขียนบรรยาย และพรรณนา เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมาย กิจธุ ระ เขียนวิเคราะห์วจารณ์และแสดงความรู ้ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่าน ิ อย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น ้ และความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่าง ๆ วิเคราะห์วจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ิ เพือนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในชีวต พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงาน หรื อ ่ ิ ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนาอย่างเป็ นระบบ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด เข้าใจการสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน ฝึ กแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ สรุ ปเนื้ อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้ ก ระบวนการกลุ่ ม สั ม พัน ธ์ กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการปฏิ บ ั ติ กระบวนการสร้ า งความคิ ดรวบยอด กระบวนการคิ ดวิจารณญาณ กระบวนการสร้ า งค่ า นิ ย ม แผนภาพความคิ ด การอภิ ปราย บทบาทสมมุ ติ การมี ส่วนร่ วม โครงงาน เกม เพลง การระดม ความคิด การคิดวิเคราะห์ แผนที่ความคิด การบูรณาการ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจใน ความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่า งมี ประสิ ท ธิ ภาพ ถู กต้องตามกาลเทศะ และบุ คคล ภูมิใจ อนุ รักษ์ และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือ ในการเรี ยนรู้ สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การทางาน และการประกอบอาชี พได้ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
  • 12. 25 รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔๒/๕,ม.๒/๖ ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔ ท ๓.๑ ม.๒/๑,ม,๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔ ท ๔.๑ ม.๒/๑ ท ๕.๑ ม๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕ รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชี้วด ั
  • 13. 26 คาอธิบายรายวิชา ท๒๒๒๐๑ การเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………….. เขียนสะกดคา คาที่มกสะกดผิด การเขียนให้ถูกต้องตามระดับภาษา การใช้คาในการเขียน ั เหมาะสมกับข้อความ การเขียนประโยค การเขียนย่อหน้า ศึกษาโวหารแล่งท่วงทานองใน การเขียน การเขียนประกาศ การเขียนจดหมาย การย่อ การบันทึก การเขียนเรี ยงความ การเขียน รายงานวิชาการ ร้อยกรอง เขียนประกาศ การเขียนจดหมาย การย่อ การบันทึก การเขียนเรี ยงความ การเขียนรายงานทางวิชาการ แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ โคลงสี่ สุภาพ กาพย์ยานี ๑๑ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการเรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิ ญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน ั อนุรักษ์ภาษาไทย นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม ิ ที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑.เขียนสะกดคาและคาที่มกสะกดผิด ั ๒.เขียนคาและข้อความให้ถูกต้องตามระดับภาษา ๓.ใช้คาในการเขียนเหมาะสมกับข้อความ ๔.เขียนประโยค เขียนย่อหน้าได้ถูกต้อง เหมาะสม ๕.เขียนประกาศอย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ๖.เขียนจดหมายราชการ ๗.ย่อและบันทึกเรื่ องราวจากการศึกษาค้นคว้า ๘.เขียนเรี ยงความ ๙.เขียนรายงานทางวิชาการ ๙.การแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ๑๐.การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ ๑๑.การแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงสี่ สุภาพ รวมผลการเรียนรู้ ๑๑ ผลการเรี ยนรู้
  • 14. 27 คาอธิบายรายวิชา ท๒๒๒๐๒ หลักภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………….. ศึกษาธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษาไทย การใช้คา กลุ่มคา สร้างประโยคที่ซบซ้อนตรงตามวัตถุประสงค์และเจตนาของผูส่งสาร อิทธิ พลของ ั ้ ภาษาต่างประเทศ สังเกตภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน ั อนุรักษ์ภาษาไทย นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และ ิ ค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑.อธิบายธรรมชาติของภาษาและพลังของภาษา ๒.บอกลักษณะของภาษาไทยไทย ๓.ใช้คา กลุ่มคา สร้างประโยคที่ซบซ้อนตรงตามวัตถุประสงค์และเจตนาของผูส่งสาร ั ้ ๔.บอกสาเหตุที่ทาให้ภาษาต่างประเทศปะปนในภาษาไทย ๖.เปรี ยบเทียบภาษาต่างประเทศกับภาษาไทยได้ ๗.ระบุภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้ รวมผลการเรียนรู้ ๗ ผลการเรี ยนรู้
  • 15. 28 คาอธิบายรายวิชา ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต ………………………………………………………………… อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วบทร้อยกรองเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน จับใจความสาคัญ ระบุ ความแตกต่างของคาที่มีความหมายโดยตรงความหมายโดยนัย อ่านเรื่ องต่าง ๆ ตีความแล้วเขียน กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน วิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น ่ และประเมินค่าเรื่ องที่อาน โดยใช้ขอมูลสนับสนุน มีมารยาทในการอ่าน ้ คัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนข้อความตามสถานการณ์ ในโอกาสต่าง ๆ โดยใช้ถอยคาถูกต้องตรงตามระดับภาษา เขียนย่อความ เขียนจดหมายกิจธุ ระ ถูกต้องตามรู ปแบบ ้ เขียนอธิ บาย เขียนชี้แจงอย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด วิเคราะห์วิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูแสดงความคิดเห็นและประเมินค่า เพื่อนาข้อคิดมา ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต พูดรายงานจากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ศึกษาหลักการใช้ภาษา วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน และระดับภาษา แต่งบท ร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพถูกต้องตามฉันทลักษณ์และไพเราะ ศึกษาวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมท้องถิ่น สรุ ปเรื่ อง วิเคราะห์วถีไทย ข้อคิด ิ และคุณค่า นาไปใช้ในชีวตจริ ง ท่องจาและบอกคุณค่าของบทอาขยาน นาไปใช้อางอิง ิ ้ โดยใช้กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด ิ กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการปฏิบติ การอภิปราย ั บทบาทสมมุติ สถานการณ์จาลอง โครงงาน กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด แฟ้ มสะสมงาน การเลือกอ่านหนังสื อที่มีประโยชน์ แผนภาพแสดงเหตุการณ์ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจ ในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นา ภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔๓/๕,ม.๓/๖ ท ๒.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔ ท ๓.๑ ม.๓/๑,ม,๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔๓/๕,ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑,ม,๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔ ๓/๕,ม.๓/๖ ท ๕.๑ ม๓/๑,ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๒๔ ตัวชี้วด ั
  • 16. 29 คาอธิบายรายวิชา ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่ วยกิต …………………………………………………………………... อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน สรุ ปใจความสาคัญ ตึความและประเมินค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนนาไปใช้แก้ปัญหาในการ ดาเนินชี วตประจาวันและมีมารยาทในการอ่าน ิ คัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดสวยงามตามแบบตัวอักษรไทย เขียนข้อความโดยใช้ ถ้อยคาถูกต้องตามระดับภาษา เขียนอัตชีวประวัติ เขียนจดหมายกิจธุ ระขอความอนุ เคราะห์ และ แสดงความขอบคุณได้ถูกต้องตามรู ปแบบ เขียนแสดงความคิดเห็น เขียนโต้แย้ง เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งจากสื่ อบทโฆษณา และบทความทางวิชาการได้ อย่างมีเหตุผล กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายความรู ้และทักษะของตนเองที่เหมาะสม กับงาน เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีมารยาทในการเขียน ฟัง ดู พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดโน้มน้าวโดยการนาเสนอเนื้อหา อย่างมีเหตุผล น่าเชื่ อถือ และมีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย อธิ บายความหมายของศัพท์ทางวิชาการ และวิชาชีพ ใช้คาทับศัพท์และศัพท์บญญัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ั ศึกษาวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมท้องถิ่น สรุ ปเรื่ อง วิเคราะห์วถีไทย ข้อคิด ิ และคุณค่า นาไปใช้ในชีวตจริ ง ท่องจาและบอกคุณค่าของบทอาขยาน นาไปใช้อางอิง ิ ้ โดยใช้กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด ิ กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการปฏิบติ การอภิปรายั บทบาทสมมุติ สถานการณ์จาลอง โครงงาน กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด แฟ้ มสะสมงาน การเลือกอ่านหนังสื อที่มีประโยชน์ แผนภาพแสดงเหตุการณ์ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจ ในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม ที่เหมาะสม
  • 17. 30 รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔,ม.๓/๕,ม.๓/๖ ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔ม.๓/๕,ม.๓/๖,ม.๓/๗ ท ๓.๑ ม.๓/๑,ม,๓/๒,ม.๓/๓ ท ๔.๑ ม.๓/๑,ม๓/๒,ม.๓/๓ ม.๓/๔ ท ๕.๑ ม๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓ รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด ั
  • 18. 31 คาอธิบายรายวิชา ท๒๓๒๐๑ การฟัง การดู การพูดเพือการวิเคราะห์ ่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………… ่ อธิ บายความสาคัญ จุดมุงหมายของการฟัง การดู หลักการฟัง และการดู แสดงความคิดเห็นวิพากษ์วจารณ์การฟัง การดู อย่างมีวจารณญาณ อธิ บายความสาคัญของการพูด ิ ิ หลักการพูดที่มีประสิ ทธิภาพ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน ั อนุรักษ์ภาษาไทย นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และ ิ ค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑.อธิ บายความสาคัญ จุดมุ่งหมายของการฟัง ๒.อธิ บายความสาคัญ จุดมุ่งหมายของการดู ๓.อธิ บายหลักการฟัง การดูอย่างมีวจารณญาณ ิ ๔.แสดงความคิดเห็นวิพากษ์วจารณ์การฟัง การดูอย่างมีวิจารณญาณ และมีมารยาทในการ ิ ฟัง การดู ๕.อธิ บายความสาคัญ จุดมุ่งหมายของการพูด ๖.บอกหลักการพูดที่มีประสิ ทธิภาพ ๗.พูดในโอกาสต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม ๘.พูดโน้มน้าวใจโดยใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม ๙.แสดงกิริยาท่าทางเหมาะสมตามหลักการพูดและมีมารยาทในการพูด ๑๐.วิเคราะห์การฟัง การดูสื่อต่าง ๆ ได้ ๑๑.วิเคราะห์การพูดของเพื่อนหน้าชั้นเรี ยนและการพูดของนักพูดจากสื่ อต่าง ๆ รวมผลการเรียนรู้ ๑๑ ผลการเรี ยนรู้
  • 19. 32 คาอธิบายรายวิชา ท๒๓๒๐๒ การพูดในโอกาสต่ าง ๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………… อธิ บายความหมาย องค์ประกอบของการพูด หลักการพูดที่ดี ปั จจัยสาคัญที่ช่วยให้การพูด สัมฤทธิ์ ผล วิธีการในการพูด ฝึ กทักษะการพูดในรู ปแบบของการสนทนา การสัมภาษณ์ การพูด ในที่ประชุม การอภิปรายกลุ่ม พูดเสี ยงตามสาย พูดผญา ภาษิต เพื่อพัฒนาสมรรถภาพในการพูด ของตนเองได้ถูกต้องตามหลักการในการพูด วิเคราะห์และประเมินการพูด โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบติ กระบวนการทางสังคม เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และร่ วมกัน ั อนุรักษ์วรรณกรรมท้องถิ่น นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม ิ จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑.อธิบายความหมาย องค์ประกอบของการพูด ๒.บอกปั จจัยสาคัญที่ทาให้การพูดสัมฤทธิ์ ผล ๓.พูดสนทนาถูกต้องตามหลักการ ๔.พูดสัมภาษณ์ได้ถูกต้องตามหลักการ ๕.พูดในที่ประชุมได้ถูกต้องตามหลักการ ๖.พูดอภิปรายกลุ่มได้ถูกต้องตามหลักการ ๗.พูดจัดรายการเสี ยงตามสายได้ถูกต้องเหมาะสม ๘.พูดผญา คาสอย แลภาษิตอีสาน ๙.วิจารณ์และประเมินผลการพูด รวมผลการเรียนรู้ ๙ ผลการเรียนรู้
  • 20. 33 คาอธิบายรายวิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………. การอ่านออกเสี ยงบทร้ อยแก้วและบทร้ อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับ เรื่ องที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความเรื่ องที่อ่าน ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียน ประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน มีมารยาทในการอ่าน เขี ย นสื่ อสารในรู ป แบบต่ าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุ ประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ย บเรี ย งถู ก ต้อง มี ข ้อ มู ล และสาระส าคัญชัด เจน เขี ย นเรี ย งความ ผลิ ต งานเขี ย นของตนเองในรู ป แบบต่ า งๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่ อง ้ ที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษา ้ ค้นคว้า เพื่อนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน มี วิจารณญาณในการเลื อกเรื่ อ งที่ ฟั ง และดู สรุ ป แนวคิ ด วิเ คราะห์ แสดงความคิ ดเห็ น ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนิ นชี วิต พูดในโอกาส ต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้งและสัมฤทธิ์ ผล มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด อธิ บ ายธรรมชาติ ข องภาษาพลัง ของภาษา และลัก ษณะของภาษาใช้ ค าและกลุ่ ม ค า สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งบทร้ อยกรองโคลงสี่ สุภาพ และกลอนสุ ภาพได้ถูกต้อง ตามฉันทลักษณ์และไพเราะ วิเคราะห์ และวิจารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิจารณ์ เบื้ องต้น วิเ คราะห์ ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดี ต วิเคราะห์ และประเมิ นคุ ณค่ าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะที่ เป็ นมรดก ทางวัฒ นธรรมของชาติ สั ง เคราะห์ ข้อ คิ ดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพื่ อนาไปประยุก ต์ใ ช้ ในชี วิ ต จริ ง ท่ อ งจ าและบอกคุ ณ ค่ า บทอาขยานตามที่ ก าหนดและบทร้ อ ยกรองที่ มี คุ ณ ค่ า ตามความสนใจ และนาไปใช้อางอิง ้ โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ ั กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด การใช้สื่อประสม การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดมความคิด การถาม ตอบ วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทย ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย
  • 21. 34 วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ิ รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕ ท ๒.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔ม.๔/๕,ม.๔/๖,ม.๔/๗,ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑,ม,๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,๔/๕ ท ๔.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔ ท ๕.๑ ม๔/๑,ม.๔/๒ ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕ รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วด ั
  • 22. 35 คาอธิบายรายวิชา ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………. อ่า นออกเสี ย งบทร้ อยแก้วบทร้ อยกรองได้อย่า งถู ก ต้อง ไพเราะและเหมาะสมกับ เรื่ อง ที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียนประเภท ต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนดและมีมารยาทในการอ่าน เขียนสื่ อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงอย่างถูกต้อง มี ข ้อมู ล และสาระส าคัญชัดเจน เขี ย นย่อความจากสื่ อที่ มี รูป แบบและเนื้ อ หาหลากหลาย ผลิ ต งานเขี ย นของผูอื่ น น ามาพัฒนางานเขี ย นของตนเอง เขี ย นรายงานโครงงานภาษาไทยถู ก ต้อ ง ้ ตามหลักการเขียนรายงาน และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง ้ มี วิจารณญาณในการเลื อกเรื่ อ งที่ ฟั ง และดู สรุ ป แนวคิ ด แสดงความคิ ด เห็ น วิเ คราะห์ แนวคิด การใช้ภาษาและความน่าเชื่ อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดู แล้ว ก าหนดแนวทางน าไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ นการดาเนิ น ชี วิ ต พู ดในโอกาสต่ า ง ๆ พูด โน้ม น้า วใจ และแสดงความคิดใหม่ดวยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ้ ใช้คากลุ่ มคาสร้ างประโยคตรงตามวัตถุ ประสงค์ อธิ บายและวิเคราะห์ หลักการสร้ างคา ในภาษาไทย วิเคราะห์ และวิจารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิจารณ์ เบื้ องต้น วิเคราะห์ ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดี ต วิเคราะห์ และประเมิ นคุ ณค่ าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะที่ เป็ นมรดก ทางวัฒ นธรรมของชาติ สั ง เคราะห์ ข้อ คิ ดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพื่ อนาไปประยุก ต์ใ ช้ ในชี วิ ต จริ ง ท่ อ งจ าและบอกคุ ณ ค่ า บทอาขยานตามที่ ก าหนดและบทร้ อ ยกรองที่ มี คุ ณ ค่ า ตามความสนใจ และนาไปใช้อางอิง ้ โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ ั กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด การใช้สื่อประสม การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดมความคิด การถาม ตอบ วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทย ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุ รักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ิ
  • 23. 36 รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕ ท ๒.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔ม.๔/๕,ม.๔/๖,ม.๔/๗,ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑,ม,๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,๔/๕ ท ๔.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔ ท ๕.๑ ม๔/๑,ม.๔/๒ ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕ รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วด ั
  • 24. 37 คาอธิบายรายวิชา ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………….. อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ อง ที่อ่าน วิเคราะห์วิจารณ์เรื่ องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่ อ่านในทุกๆ ด้าน อย่างมีเหตุผล และมีมารยาทในการอ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิดเขียนสื่ อความในรู ปแบบต่างๆ เขียนเรี ยงความ เขียนย่อ ความจากสื่ อที่มีรูปแบบและเนื้อหาหลากหลายได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนบันทึกและรายงาน การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่าง ้ ถูกต้อง โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูลและสาระสาคัญชัดเจน ผลิตงานเขียนของตนเองใน ้ รู ปแบบต่าง ๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเองอย่างสม่าเสมอและ ้ มีมารยาทในการเขียน วิ เ คราะห์ แ นวคิ ด การใช้ ภ าษาและความน่ า เชื่ อ ถื อ เรื่ องที่ ฟั ง และดู อ ย่ า งมี เ หตุ ผ ล มี วิจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีมารยาทในการพูด การฟังและการดู ใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์ และวิจารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิจารณ์ เบื้ องต้น วิเ คราะห์ ลักษณะเด่น ของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิ บายภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอก คุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง ้ โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ ั กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด การใช้สื่อประสม การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดมความคิด การถาม ตอบ วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย สามารถใช้ภาษาไทย ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ิ
  • 25. 38 รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔ ท ๒.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔ม.๕/๕,ม.๕/๖,ม.๕/๗,ม.๕/๘,ม.๕/๙ ท ๓.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒ ท ๔.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓ ท ๕.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕ รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด ั
  • 26. 39 คาอธิบายรายวิชา ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่ วยกิต ………………………………………………………………… อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ อง ที่อ่าน วิเคราะห์วิจารณ์ เรื่ องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล และมีมารยาทในการอ่าน เขียนสื่ อความ เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความ ในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนบันทึกจากแหล่งเรี ยนรู ้ ต่างๆ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียน เชิ งวิชาการและใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิ งอย่างถูกต้อง โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล ้ ้ และสาระส าคัญชัด เจน จากสื่ อที่ มี รู ป แบบและเนื้ อ หาหลากหลาย ผลิ ต งานเขี ย นของตนเอง ในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่นแล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเองและมีมารยาท ้ ในการเขียน วิเคราะห์แนวคิดการใช้ภาษาและความน่ าเชื่ อถื อเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล วิเคราะห์ แนวคิ ด การใช้ ภ าษาและความน่ า เชื่ อ ถื อ เรื่ องที่ ฟั ง และดู อ ย่ า งมี เ หตุ ผ ล พู ด ในโอกาสต่ า งๆ พู ด แสดงทรรศนะ โต้แ ย้ง โน้ ม น้ า วใจและเสนอแนวคิ ด ด้ ว ยภาษาที่ ถู ก ต้อ งเหมาะสม และมีมารยาทในการพูด การฟังและการดู ใช้คาและกลุ่มคาสร้ างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้ อยกรอง วิเคราะห์อิทธิ พล ของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น วิเ คราะห์ แ ละวิ จ ารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลัก การวิ จารณ์ เ บื้ องต้นวิ เ คราะห์ ลักษณะเด่น ของวรรณคดีเชื่ อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดี ต วิเคราะห์ และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทาง วัฒ นธรรมของชาติ สั ง เคราะห์ ข ้อ คิ ด จากวรรณคดี แ ละวรรณกรรมในฐานะที่ เ ป็ นมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ ท่องจาและบอกคุ ณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้ อยกรองที่มีคุณค่า ตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง ้ โดยใช้กระบวนการเรี ยนภาษา กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการปฏิบติ ั กระบวนการสร้างค่านิยม การอภิปรายกลุ่ม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาทสมมุติ การมีส่วนร่ วม กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพความคิด โครงงาน แผนที่ความคิด การใช้สื่อประสม การใช้บทเรี ยนเรี ยนสาเร็ จรู ป การบูรณาการ การสาธิต เกม เพลง การระดม ความคิด การถาม ตอบ วัฏจักรการเรี ยนรู้ เพื่อให้รักการเรี ยนรู้ภาษาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย
  • 27. 40 สามารถใช้ภาษาไทย ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ภูมิใจ อนุรักษ์ และจรรโลงภาษาไทย วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาไทยเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้สาระอื่น ๆ นาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจาวัน มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ิ รหัสตัวชี้วด ั ท ๑.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔ ท ๒.๑ ม๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔ม.๕/๕,ม.๕/๖,ม.๕/๗ ท ๓.๑ ม.๕/๑,ม,๕/๒,ม.๕/๓ ท ๔.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔ ท ๕.๑ ม๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕ รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชี้วด ั