SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3

                       หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง พลเมือดีในวิถีประชาธิปไตย
รหัสวิชา ส22101 รายวิชา สั งคมศึกษา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2              ภาคเรียนที่ 1                       เวลาเรียน 12 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วด  ั
           มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1
                     ม.2/1 อธิ บายและปฏิบติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
                                             ั
และประเทศ
                     ม.2/2 เห็นคุณค่าในการปฏิบติตนตามสถานภาพ บทบาท สิ ทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ใน
                                                ั
ฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
           มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.2
                     ม.2/1 กระบวนการในการตรากฎหมาย
สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
           การอยูร่วมกันในสังคม การปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตยด้วยการตระหนัก
                 ่                         ั
ในหน้าที่ สิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ และการปฏิบติตามกฎหมาย
                                                                              ั
เป็ นสิ่ งสาคัญ เพื่อสังคมจะได้สงบสุ ข นาไปสู่ ความเข้าใจอันดีระหว่างคนในประเทศและนอก
ประเทศ
สาระการเรียนรู้
           สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
           1.กระบวนการตรากฎหมาย
           2.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ
           3.สถานภาพ บทบาท สิ ทธิเสรี ภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิป ไตย
           4.ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศใน
ภูมิภาคเอเชีย
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
           1.ความสามารถในการแก้ปัญหา
           2.ความสามารถในการคิด
 -                    ทักษะการคิดวิเคราะห์
-                  ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                           ิ
 -                  ทักษะการคิดสังเคราะห์
        3.ความสามารถในการใช้ชีวต         ิ
 -                  กระบวนการปฏิบติ    ั
 -                  กระบวนการกลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        1.มีวนย
              ิ ั
        2.ใฝ่ เรี ยนรู้
        3.ซื่อสัตย์สุจริ ต
ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
        1.การแสดงสมมติแนวทางแก้ปัญหาโดยใช้ความรู ้จากกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว และชุมชน
การวัดและการประเมินผล
        การประเมินก่อนเรียน
 -                  ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย
        การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                   1.ใบงานที่ 3.1 การประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี
                   2.ใบงานที่ 3.2 กระบวนการตรากฎหมาย
                   3.ใบงานที่ 3.3 สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ
                   4.ใบงานที่ 3.4 คุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
                   5. แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
                   6. แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
        การประเมินผลหลังเรียน
 -                  ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
        1.แบบประเมินการแสดงสมมติแนวทางแก้ปัญหาโดยใช้ความรู ้จากกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
ตนเอง ครอบครัว และชุมชน
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
  แบบประเมินการแสดงสมมติแนวทางแก้ ปัญหาโดยใช้ ความรู้ จากกฎหมายทีเ่ กียวข้ องกับตนเอง
                                                                      ่
                             ครอบครัว และชุ มชน

รายการ                                คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
ประเมิน                ดีมาก(4)                ดี(3)          พอใช้(2)                ปรับปรุ ง(1)
1.เนื้ อหาของ   เนื้อหาของเรื่ อง      เนื้อหาของเรื่ อง เนื้อหาของเรื่ อง       เนื้อหาของเรื่ อง
เรื่ อง         สอดคล้องกับ            สอดคล้องกับ       บางตอนยังไม่            บางตอนยังไม่
สอดคล้อง        วัตถุประสงค์และสื่ อ วัตถุประสงค์และ สอดคล้องกับ                 สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์    ความหมายให้คนดู สื่ อความหมายให้ วัตถุประสงค์                    วัตถุประสงค์และ
                เข้าใจได้เป็ นอย่างดี คนดูเข้าใจได้                              สื่ อให้คนดูเข้าใจ
                                                                                 ได้นอย้
2.บทบาทตัว      ตัวละครแสดง           ตัวละครแสดง           ตัวละครแสดง          ตัวละครแสดง
ละคร            บทบาทได้อย่าง         บทบาทได้พอใช้         บทบาทได้ดีเป็ น      บทบาทยังไม่
สอดคล้อง        เหมาะสมและ            และสอดคล้องกับ        บางฉากและ            เหมาะสมเป็ น
เนื้อเรื่ อง    สอดคล้องกับเนื้อ      เนื้อเรื่ อง          สอดคล้องกับเนื้อ     ส่ วนใหญ่และมี
                เรื่ องเป็ นอย่างดี                         เรื่ องเป็ นบางตอน   ความสอดคล้อง
                                                                                 กับเนื้อเรื่ องน้อย
3.การดาเนิน     การดาเนินเรื่ อง      การดาเนินเรื่ องยัง   การดาเนินเรื่ อง     การดเนินเรื่ องวก
เรื่ อง         กระชับสื่ อ           ไม่กระชับ สื่ อ       ซับซ้อน แต่พอ        ไปวนมา ไม่
เหมาะสมกับ      ความหมายได้ดี         ความหมายได้           สื่ อความหมายได้     สามารถสื่ อ
เวลา            เหมาะสมกับเวลา        พอใช้ เวลา            ใช้เวลาเกิน          ความหมายได้
                                      ค่อนข้างเหมาะสม       กาหนด                และใช้เวลาเกิน
                                                                                 กาหนด
4.ความพร้อม มีความพร้อมเพรี ยง        มีความพร้อมเพรี ยง    มีความพร้อม          ไม่มีความพร้อม
                         ั
เพรี ยง ความ และสามัคคีกนใน                      ั
                                      และสามัคคีกนใน        เพรี ยงและ           เพรี ยงและ
ร่ วมมือร่ วม การทางานดีมากทา         การทางานพอใช้ทา                ั
                                                            สามัคคีกนน้อย        สามัคคีกนใน  ั
              ให้ผลงานออกมามี         ให้ผลงานออกมาดี       ในการทางานดี         การทางานทา
              คุณภาพดีมาก                                   มากทาให้ผลงาน        ให้ผลงานมี
                                                            มีขอบกพร่ องบ้าง
                                                               ้                 ข้อบกพร่ องมาก
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

                             ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
                                 13-16                ดีมาก
                                  9-12                  ดี
                                   5-8                พอใช้
                                   1-4               ปรับปรุ ง



กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1-4
          1.นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย
          2.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับการประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี โดยครู ใช้คาถาม
ดังนี้
          * นักเรี ยนคิดว่าตนเองเป็ นพลเมืองดีหรื อไม่
          * การเป็ นพลเมืองดีมีประโยชน์ต่อตนเองและสังคมหรื อไม่ อย่างไร
          * การที่ประชาชนทุกคนรู้จกสิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ
                                       ั
แล้ว จะก่อให้เกิดผลอย่างไรต่อตนเอง ต่อครอบครัว ต่อชุมชน และต่อประเทศชาติ
          * สภาพสังคมไทยในปั จจุบน คนไทยรู ้จกใช้สิทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
                                         ั         ั
หรื อไม่ แล้วก่อให้เกิดผลอย่างไร
          สุ่ มเลือกนักเรี ยนเป็ นตัวแทนตอบคาถาม 5-6 คน หน้าชั้นเรี ยน
          นาภาพข่าวการทาความดีจากหนังสื อพิมพ์ วารสาร 3-4 เรื่ อง
          ให้ตวแทนนักเรี ยนแสดงความคิดเห็นต่อภาพข่าวที่นามาแสดง ภาพข่าวละ 2-3 คน
                ั
          3. แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 4-6 คน ระดมความคิดร่ วมกันในประเด็นคาถามว่า
“ถ้าเรากระทาผิดแล้วอ้างว่าเราไม่รู้กฎหมายได้หรื อไม่ ” เขียนผลจากการระดมความคิดลงบน
กระดาษ ครู เลือกสุ่ มตัวแทนกลุ่ม 2-3 นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
          4.ให้นกเรี ยนสรุ ปลักษณะของพลเมืองดี และแนวทางการปฏิบติของคนที่ได้ชื่อว่าเป็ น
                   ั                                                   ั
พลเมืองดี ลงสมุด
          5.นักเรี ยนทาใบงานที่ 3.1 การประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี และใบงานที่ 3.2
กระบวนการตรากฎหมาย
ชั่วโมงที่ 5-8
           6. ให้สมาชิกกลุ่มร่ วมกันศึกษา สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายที่
เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบตัว ชุมชน และประเทศชาติ จากหนังสื อเรี ยน พร้อมทั้งประชุมร่ วมกัน
เลือกประเด็นปัญหาและหัวข้อกฎหมายที่จะใช้แก้ปัญหานั้น เพื่อนาไปวางแผนแสดงบทบาท
สมมติ
 -         7. การแสดงบทบาทสมมติของทุกกลุ่ม โดยมีกลุ่มผูชมเป็ นผูประเมินร่ วมกับครู
                                                                   ้      ้
           8.สมาชิกกลุ่มร่ วมกันทาใบงานที่ 3.4 สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ
           9.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปถึงผลการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี ตามวิถี
                                                                     ั
ประชาธิปไตยด้วยการตระหนักในหน้าที่ สิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ของพลเมืองไทยตาม
รัฐธรรมนูญ และการปฏิบติตามกฎหมาย    ั
           10.นักเรี ยนซักถามข้อสงสัย ครู ช้ ีแนะเพิ่มเติม
ชั่วโมงที่ 9-12
           11.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับคุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โดยครู
ใช้คาถามดังนี้
                          * นักเรี ยนคิดว่าภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยมีคุณค่าต่อคนไทยหรื อไม่ อย่างไร
                          * นักเรี ยนอยากศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยหรื อไม่ เพราะอะไร
           12.ให้นกเรี ยนศึกษา ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย และทาใบงานที่ 3.4 คุณค่าของภูมิ
                    ั
ปัญญาและวัฒนธรรมไทย
           13.ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการศึกษาคุณค่าของภูมิ
                      ั
ปัญญาและวัฒนธรรมไทยที่มีต่อตนเอง ชุมชน สังคม ประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน
           14.ให้นกเรี ยนร่ วมกันสรุ ปประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
                        ั
ไทย พร้อมทั้งบอกแนวทางการปฏิบติอนจะนาไปสู่ การใช้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในการ
                                                ั ั
                             ั ั
สร้างความสัมพันธ์อนดีกบต่างประเทศ
           15.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้
           สื่ อการเรียนรู้
           1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
           2.ใบงานที่ 3.1 การประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี
3.ใบงานที่ 3.2 กระบวนการตรากฎหมาย
4.ใบงานที่ 3.3 สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ
5.ใบงานที่ 3.4 คุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
6.รู ปภาพการปฏิบติตามกฎหมายและการไม่ปฏิบติตามกฎหมายของบ้านเมือง
                   ั                              ั
7.แบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน เรื่ อง พลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย
แหล่ งเรียนรู้
1.ห้องสมุด
2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
          http://www.kullawat.net/civic/1.1.htm
          http://www.kr.ac.th/ebook/savalee/b1.htm
          http://www.school.net.th/library/create-web/10000/sociology/10000-10701.html
          http://www.thaigoodview.com/node/28497

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
krusuparat01
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

La actualidad más candente (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 

Similar a หน่วยที่๓

9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
nang_phy29
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
nakkee
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
05102500
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
phachanee boonyuen
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
Aon Narinchoti
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
supap6259
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
Rayoon Singchlad
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
supap6259
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
sukanyalanla
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
Pitima Boonprasit
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
sasiton sangangam
 

Similar a หน่วยที่๓ (20)

9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 506 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 

Más de นันทนา วงศ์สมิตกุล

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 

Más de นันทนา วงศ์สมิตกุล (7)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 

หน่วยที่๓

  • 1. แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง พลเมือดีในวิถีประชาธิปไตย รหัสวิชา ส22101 รายวิชา สั งคมศึกษา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 12 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วด ั มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 ม.2/1 อธิ บายและปฏิบติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ั และประเทศ ม.2/2 เห็นคุณค่าในการปฏิบติตนตามสถานภาพ บทบาท สิ ทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ใน ั ฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.2 ม.2/1 กระบวนการในการตรากฎหมาย สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การอยูร่วมกันในสังคม การปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตยด้วยการตระหนัก ่ ั ในหน้าที่ สิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ และการปฏิบติตามกฎหมาย ั เป็ นสิ่ งสาคัญ เพื่อสังคมจะได้สงบสุ ข นาไปสู่ ความเข้าใจอันดีระหว่างคนในประเทศและนอก ประเทศ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง 1.กระบวนการตรากฎหมาย 2.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ 3.สถานภาพ บทบาท สิ ทธิเสรี ภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิป ไตย 4.ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชีย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์
  • 2. - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ 3.ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการกลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวนย ิ ั 2.ใฝ่ เรี ยนรู้ 3.ซื่อสัตย์สุจริ ต ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.การแสดงสมมติแนวทางแก้ปัญหาโดยใช้ความรู ้จากกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน การวัดและการประเมินผล การประเมินก่อนเรียน - ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.ใบงานที่ 3.1 การประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี 2.ใบงานที่ 3.2 กระบวนการตรากฎหมาย 3.ใบงานที่ 3.3 สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ 4.ใบงานที่ 3.4 คุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย 5. แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน 6. แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม การประเมินผลหลังเรียน - ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.แบบประเมินการแสดงสมมติแนวทางแก้ปัญหาโดยใช้ความรู ้จากกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน
  • 3. การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) แบบประเมินการแสดงสมมติแนวทางแก้ ปัญหาโดยใช้ ความรู้ จากกฎหมายทีเ่ กียวข้ องกับตนเอง ่ ครอบครัว และชุ มชน รายการ คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน ประเมิน ดีมาก(4) ดี(3) พอใช้(2) ปรับปรุ ง(1) 1.เนื้ อหาของ เนื้อหาของเรื่ อง เนื้อหาของเรื่ อง เนื้อหาของเรื่ อง เนื้อหาของเรื่ อง เรื่ อง สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ บางตอนยังไม่ บางตอนยังไม่ สอดคล้อง วัตถุประสงค์และสื่ อ วัตถุประสงค์และ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ ความหมายให้คนดู สื่ อความหมายให้ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์และ เข้าใจได้เป็ นอย่างดี คนดูเข้าใจได้ สื่ อให้คนดูเข้าใจ ได้นอย้ 2.บทบาทตัว ตัวละครแสดง ตัวละครแสดง ตัวละครแสดง ตัวละครแสดง ละคร บทบาทได้อย่าง บทบาทได้พอใช้ บทบาทได้ดีเป็ น บทบาทยังไม่ สอดคล้อง เหมาะสมและ และสอดคล้องกับ บางฉากและ เหมาะสมเป็ น เนื้อเรื่ อง สอดคล้องกับเนื้อ เนื้อเรื่ อง สอดคล้องกับเนื้อ ส่ วนใหญ่และมี เรื่ องเป็ นอย่างดี เรื่ องเป็ นบางตอน ความสอดคล้อง กับเนื้อเรื่ องน้อย 3.การดาเนิน การดาเนินเรื่ อง การดาเนินเรื่ องยัง การดาเนินเรื่ อง การดเนินเรื่ องวก เรื่ อง กระชับสื่ อ ไม่กระชับ สื่ อ ซับซ้อน แต่พอ ไปวนมา ไม่ เหมาะสมกับ ความหมายได้ดี ความหมายได้ สื่ อความหมายได้ สามารถสื่ อ เวลา เหมาะสมกับเวลา พอใช้ เวลา ใช้เวลาเกิน ความหมายได้ ค่อนข้างเหมาะสม กาหนด และใช้เวลาเกิน กาหนด 4.ความพร้อม มีความพร้อมเพรี ยง มีความพร้อมเพรี ยง มีความพร้อม ไม่มีความพร้อม ั เพรี ยง ความ และสามัคคีกนใน ั และสามัคคีกนใน เพรี ยงและ เพรี ยงและ ร่ วมมือร่ วม การทางานดีมากทา การทางานพอใช้ทา ั สามัคคีกนน้อย สามัคคีกนใน ั ให้ผลงานออกมามี ให้ผลงานออกมาดี ในการทางานดี การทางานทา คุณภาพดีมาก มากทาให้ผลงาน ให้ผลงานมี มีขอบกพร่ องบ้าง ้ ข้อบกพร่ องมาก
  • 4. เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-16 ดีมาก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 ปรับปรุ ง กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-4 1.นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย 2.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับการประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี โดยครู ใช้คาถาม ดังนี้ * นักเรี ยนคิดว่าตนเองเป็ นพลเมืองดีหรื อไม่ * การเป็ นพลเมืองดีมีประโยชน์ต่อตนเองและสังคมหรื อไม่ อย่างไร * การที่ประชาชนทุกคนรู้จกสิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ ั แล้ว จะก่อให้เกิดผลอย่างไรต่อตนเอง ต่อครอบครัว ต่อชุมชน และต่อประเทศชาติ * สภาพสังคมไทยในปั จจุบน คนไทยรู ้จกใช้สิทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ั ั หรื อไม่ แล้วก่อให้เกิดผลอย่างไร สุ่ มเลือกนักเรี ยนเป็ นตัวแทนตอบคาถาม 5-6 คน หน้าชั้นเรี ยน นาภาพข่าวการทาความดีจากหนังสื อพิมพ์ วารสาร 3-4 เรื่ อง ให้ตวแทนนักเรี ยนแสดงความคิดเห็นต่อภาพข่าวที่นามาแสดง ภาพข่าวละ 2-3 คน ั 3. แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 4-6 คน ระดมความคิดร่ วมกันในประเด็นคาถามว่า “ถ้าเรากระทาผิดแล้วอ้างว่าเราไม่รู้กฎหมายได้หรื อไม่ ” เขียนผลจากการระดมความคิดลงบน กระดาษ ครู เลือกสุ่ มตัวแทนกลุ่ม 2-3 นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน 4.ให้นกเรี ยนสรุ ปลักษณะของพลเมืองดี และแนวทางการปฏิบติของคนที่ได้ชื่อว่าเป็ น ั ั พลเมืองดี ลงสมุด 5.นักเรี ยนทาใบงานที่ 3.1 การประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี และใบงานที่ 3.2
  • 5. กระบวนการตรากฎหมาย ชั่วโมงที่ 5-8 6. ให้สมาชิกกลุ่มร่ วมกันศึกษา สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบตัว ชุมชน และประเทศชาติ จากหนังสื อเรี ยน พร้อมทั้งประชุมร่ วมกัน เลือกประเด็นปัญหาและหัวข้อกฎหมายที่จะใช้แก้ปัญหานั้น เพื่อนาไปวางแผนแสดงบทบาท สมมติ - 7. การแสดงบทบาทสมมติของทุกกลุ่ม โดยมีกลุ่มผูชมเป็ นผูประเมินร่ วมกับครู ้ ้ 8.สมาชิกกลุ่มร่ วมกันทาใบงานที่ 3.4 สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ 9.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปถึงผลการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี ตามวิถี ั ประชาธิปไตยด้วยการตระหนักในหน้าที่ สิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ของพลเมืองไทยตาม รัฐธรรมนูญ และการปฏิบติตามกฎหมาย ั 10.นักเรี ยนซักถามข้อสงสัย ครู ช้ ีแนะเพิ่มเติม ชั่วโมงที่ 9-12 11.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับคุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โดยครู ใช้คาถามดังนี้ * นักเรี ยนคิดว่าภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยมีคุณค่าต่อคนไทยหรื อไม่ อย่างไร * นักเรี ยนอยากศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยหรื อไม่ เพราะอะไร 12.ให้นกเรี ยนศึกษา ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย และทาใบงานที่ 3.4 คุณค่าของภูมิ ั ปัญญาและวัฒนธรรมไทย 13.ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการศึกษาคุณค่าของภูมิ ั ปัญญาและวัฒนธรรมไทยที่มีต่อตนเอง ชุมชน สังคม ประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน 14.ให้นกเรี ยนร่ วมกันสรุ ปประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ั ไทย พร้อมทั้งบอกแนวทางการปฏิบติอนจะนาไปสู่ การใช้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในการ ั ั ั ั สร้างความสัมพันธ์อนดีกบต่างประเทศ 15.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ 1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2.ใบงานที่ 3.1 การประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี
  • 6. 3.ใบงานที่ 3.2 กระบวนการตรากฎหมาย 4.ใบงานที่ 3.3 สิ ทธิของพลเมืองไทยตามรัฐธรรมนูญ 5.ใบงานที่ 3.4 คุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย 6.รู ปภาพการปฏิบติตามกฎหมายและการไม่ปฏิบติตามกฎหมายของบ้านเมือง ั ั 7.แบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน เรื่ อง พลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย แหล่ งเรียนรู้ 1.ห้องสมุด 2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.kullawat.net/civic/1.1.htm http://www.kr.ac.th/ebook/savalee/b1.htm http://www.school.net.th/library/create-web/10000/sociology/10000-10701.html http://www.thaigoodview.com/node/28497