SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
A-PDF WORD TO PDF DEMO: Purchase from www.A-PDF.com to remove the watermark


                                                          การประเมินเตรียมพร้ อมของรพ.ในการตอบโต้ เหตุฉุกเฉินอุบัตภัยสารเคมี
                                                                                                                  ิ

                                                         (Hospital Preparedness assessment for Toxicological Mass Casualties)

                                                                                                                                    น .พ. กิติพงษ์ พนมยงค์
                                                                                                                                  พบ., วว. เวชปฏิบติทวไป
                                                                                                                                                    ั ั
                                                                                                                           MHSCc. (OHS) QUT Australia
                                                                                                                 อว. เวชศาสตร์ป้องกันแขนงอาชีวเวชศาสตร์

                   หลักการเตรี ยมความพร้อมเพือดูแลผูประสบภัยจากสารเคมีของโรงพยาบาลเท่านันซึงโดยทัวไปเราอาจแบ่งได้คร่ าวๆ ดังต่อไปนี4-7
                                                                ้
                                                การปฏิบติของโรงพยาบาลเมือได้รับแจ้งเหตุแผนการจัดการผูป่วย
                                                          ั                                           ้
                                                การหาข้อมูลของสารเคมีและชุดป้ องกันสารเคมี
                                                การปฏิบติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ ทีเกิดเหตุ
                                                              ั
                                                การปฐมพยาบาล, คัดกรองผูป่วย และการลดการปนเปื อนสารเคมี
                                                                             ้
                                                การปฏิบติการของหน่วยรักษาพยาบาล ขณะนําส่ง
                                                        ั
                                                การปฏิบติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาล
                                                            ั
                                                อุปกรณ์ทีจําเป็ นต้องนํามาใช้ได้ทนที
                                                                                 ั
        การปฏิบัตของโรงพยาบาลเมือได้ รับแจ้ งเหตุ
                 ิ
                    ยืนยันการเกิดเหตุ
                    แจ้งหน่วยเวชบริ การฉุ กเฉิ นให้จด เตรี ยมบริ เวณทีล้างพิษ
                                                      ั
                    แจ้งให้หน่วยบริ การที เกียวข้องทุกหน่วยทราบ
                    ซักซ้อมชุดปฏิบติการ ล้างพิษ
                                      ั
                    ระลึกเสมอว่าผูป่วยทุกรายได้รับพิษจนกว่าจะพิสูจน์ได้
                                    ้
                           ่
        โดยหัวใจสําคัญอยูทีข้อมูลต่างๆดังต่อไปนี
                    กรณี ไม่ทราบข้อมูลต้องอนุมานว่าเป็ นสารเคมีทีเป็ นพิษมากทีสุ ด
                    ชนิดและลักษณะของอุบติภยเช่น การระเบิด, การรัวของก๊าซ, หรื ออุบติเหตุขณะขนส่ง
                                               ั ั                                     ั
                    หมายเลขโทรศัพท์ของผูแจ้งเหตุ
                                             ้
                    จํานวน,อาการของผูป่วยและลักษณะการบาดเจ็บร่ วมอืนๆเช่นไฟ,ระเบิด,การบาดเจ็บทางกายภาพ
                                        ้
                    การทําลายล้างพิษภาคสนามและเวลาทีคาดว่าผูป่วยจะมาถึงเพือการเตรี ยมพร้อมของรพ.
                                                                      ้
                    ข้อมูลชือของสารเคมีทีเกียวข้อง(ถ้าเป็ นไปได้)ซึงบอกถึงความเป็ นพิษและเป็ นประโยชน์ต่อการรักษา
        การระบุชนิดของสารเคมีทเป็ นไปได้
                                  ี
                    ซึงสามารถหาได้จากรู ป สัญลักษณ์ประเภทสิ นค้าอันตราย (Label) หรื อ Placards ( รู ปที1), เอกสารการขนส่ง(Transportation sheet),และ
        ฐานข้อมูล เป็ นต้น




                                                                                                                                                        1
( รู ปที1)ตัวอย่างรู ปสัญลักษณ์และระบบข้อมูลแสดงประเภทสิ นค้าอันตราย8

ชุ ดปองกันอันตรายจากสารเคมี (Chemical Protective Clothing)
     ้
ชุดป้ องกันอันตรายจากสารเคมี(Chemical Protective Clothing)เป็ นชุดทีถูกออกแบบมาเพือใส่ป้องกันไม่ให้ส่วนต่างๆของร่ างกายมี การสัมผัสต่อสารเคมี
อันตราย การใช้อุปกรณ์ปกป้ องส่วนบุคคล จะต้องพิจารณาให้ครบทังชุด ปกป้ องศีรษะโดยใช้หมวกนิรภัย ปกป้ องตาโดยใช้แว่นนิรภัยซึงเลนส์ ทําด้วยวัสดุที
สามารถทนแรงกระแทกได้ หรื อทีครอบตา (Goggles) ปกป้ องหูดวยทีอุดหู และ ปกป้ องเท้าด้วยรองเท้านิรภัยซึงกันสารเคมีได้ เป็ นต้น โดย EPA
                                                               ้
(Environment Protection Agency) หน่วยงานด้านสิ งแวดล้อมของ สหรัฐอเมริ กาได้มีการจําแนกตามความต้องการทีจะใช้ป้องกันสารเคมีในแต่ละ
สถานการณ์มี 4 ชนิดคือ

Level A Protection
ให้การป้ องกันในระดับสูงสุ ด ทังด้านการหายใจ การสัมผัส กับ ผิวหนัง ดวงตา และ ส่วนต่างๆ ของร่ างกาย ป้ องกันสารเคมีทงในรู ป ของแข็ง ของเหลว และ
                                                                                                                   ั
ก๊าซสามารถเข้าเขต Hot Zoneได้




                                                     LEVEL A Protection
               ชุ ดประกอบด้ วย
                           ถังอากาศทีมีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ
                           ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทังตัวไร้รอยต่อ
                           ถุงมือและรองเท้าบูททีทนต่อสารเคมี
                                                  ้
               ข้อบ่งใช้
                           ไม่ทราบว่าสารเคมีนนคืออะไร ั
                           ทราบว่าสารเคมีนนสามารถดูดซึมทางผิวหนังได้
                                              ั
                           ทราบว่าสารเคมีนนเป็ นอันตรายเมือสัมผัสผิวหนังในรู ปไอหรื อของเหลว
                                            ั
                           ปฏิบติงานในบริ เวณทีอับ และ ไม่มีการระบายอากาศ (confined space)
                                   ั
Level B Protection
ใช้ป้องกันระบบทางเดินหายใจในระดับสู งสุ ดแต่ระดับการป้ องกันจะรองลงมาสําหรับผิวหนังและดวงตาโดย มากจะใช้ป้องกัน ของเหลวหรื อวัตถุกระเด็น
เป็ นชุดทีหุ มทังตัวแต่ไม่หมด ไอระเหยและฝุ่นสามารถเข้าตามรอยต่อบริ เวณคอ ข้อมือได้
             ้
                ชุดประกอบด้วย
                           ถังอากาศทีมีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ
                           ชุดทนสารเคมีคลุมยาวตลอดแขนขา
                           ถุงมือและรองเท้าบูททีทนต่อสารเคมี
                                                    ้
                           ข้อบ่งชีทราบว่าสารเคมีนนเป็ นอันตรายเมือสัมผัสผิวหนังในรู ปของเหลว (ไม่ป้องกันการสัมผัสไอหรื อแก๊สทีผิวหนัง)
                                                        ั
                           ทราบว่าสารเคมีนนเป็ นไอหรื อแก๊สทีเป็ นพิษทางการหายใจ
                                                ั
                           ปฏิบติงานในบริ เวณทีทีมี ออกซิเจนน้อย
                                 ั




                                                                                                                                            2
Level B Protection
Level C Protection
            ่
ใช้เมือรู ้วาสารเคมีเป็ นอันตรายต่อทางเดินหายใจ มีการวัดความเข้มข้นของสารเคมี และมีขอบ่งชีในการใช้ air-purifying respirators อันตรายจากการสัมผัส
                                                                                    ้
ทางผิวหนังค่อนข้างน้อย และตลอดการปฏิบติงานภายใต้ชุดดังกล่าวจะต้องมีการตรวจสภาพอากาศเป็ นระยะ
                                            ั




                                                                  Level C Protection
ชุดประกอบด้วย
                       เครื องช่วยหายใจชนิดทีมีไส้กรองอากาศ
                       ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทังตัวไร้รอยต่อ
                       ถุงมือและรองเท้าบูททีทนต่อสารเคมี
                                          ้
                       ข้อบ่งใช้ ทราบว่าสารเคมีนนคืออะไรและป้ องกันได้ดวย air purifying respiratory protective device (ทราบ ชนิดและทราบว่าความ
                                                 ั                     ้
                       เข้มข้นน้อยกว่า 1000 ppm)
                       ทราบว่าสารเคมีนนเป็ นอันตรายเมือรับสัมผัสทางการหายใจ
                                        ั
                       ปฏิบติงานในบริ เวณทีมีออกซิเจนพอเพียง
                             ั
 Level D Protection
คือชุดใส่ทางานทัวไป ใช้กรณี ดูแลหลังจากได้รับการ decontamination และ ควบคุมสถานการณ์แล้วไม่ควรใส่ในทีซึงมีสิง คุกคามต่อผิวหนังหรื อทางเดิน
          ํ
หายใจ

                                                                               Level D Protection




                                                                                                                                                   3
การปฏิบัตการของหน่ วยรักษาพยาบาล ณ ทีเกิดเหตุ
          ิ
                                                                                                                         ้ ั
เมือทีมเวชบริ การฉุ กเฉิ นทีพร้อมจะให้การช่วยเหลือไปถึงจุดเกิดเหตุ ให้เข้ารายงานตัวกับผูบญชาการเหตุการณ์ และ ประสานทีม กูภย( HAZ.MAT team )
                                                                                        ้ ั
รับทราบแผนการปฏิบติและการกําหนดพืนทีแบ่ง พท.ระดับความปลอดภัยต่อสารเคมี (Control Zone)(รู ปที2)และ จุดคัดแยกผูบาดเจ็บ ซึงระยะปลอดภัยจะ
                       ั                                                                                            ้
ถูกกําหนดโดยหน่วยงานผูเ้ ชียวชาญ เช่น กรมควบคุมมลพิษ




 (รู ปที2) การจัดแบ่งบริ เวณของความปลอดภัยต่อสารเคมี (Isolate Area Establish Zones) แบ่ง พท.เป็ น 3 ระดับได้แก่ Hot Zone, Warm Zone, Cold Zone
                           สําหรับรถพยาบาล หํารถไปจอดในทีจุดปลอดภัย ซึงมักเป็ นทีสูง , อยูเ่ หนือลม ต้นนํา เพือหลีกเลียงการสัมผัสสารเคมี และหันหัว
                           รถพยาบาลออก เพือทีจะสามารถเคลือนย้ายได้ทนทีทีเกิดเหตุแทรกซ้อนห้ามผ่านเข้าไปในบริ เวณเขตชําระ ล้างสารเคมี (Warm
                                                                          ั
                           Zone)
                           ก่อนการปฏิบติการด้านรักษาพยาบาลให้ทีมเวชบริ การฉุ กเฉิ นมีการสวมใส่ชุดและอุปกรณ์ป้องกันภัยสารเคมีให้ เหมาะสมกับชนิด
                                         ั
                           สารเคมี (อย่างน้อยระดับ C) และให้เรี ยบร้อยก่อนลงจากรถพยาบาล แต่ถาจะเข้าปฏิบติการในเขตชําระ ล้างสารเคมี (Warm Zone)
                                                                                               ้          ั
                           หรื อเขต ( Hot Zone) จะต้องคํานึงการเพิมระดับของชุดป้ องกันสารเคมี
                           แพทย์ทีถึงทีเกิดเหตุคนแรกจะเป็ น ผูบญชาการส่วนเวชบริ การฉุ กเฉิ น จนกว่าจะมีผทีมีระดับสูงกว่าในสายการบังคับ บัญชาเข้ารับ
                                                                ้ ั                                         ู้
                           ช่วงต่อ
                           เมือมีการรับตัวผูประสบภัยจาก HAZMAT ทีมย้ายมายังจุดปลอดภัย (Cold Zone) จะเป็ นจุดทีเริ มให้การรักษาพยาบาล ก่อนการส่ง
                                            ้
                           ต่อผูประสบภัยไปยังโรงพยาบาล
                                ้
               การให้ การปฐมพยาบาล , การประเมินสภาพ และ การลดการปนเปื อนสารเคมี (First Aids, Patient Assessment and Decontamination)
ทีมเวชบริ การฉุ กเฉิ นจะมีการประเมินและแบ่งกลุ่มผูประสบภัยตามความเร่ งด่วนทีจะให้การรักษา โดยพิจารณาจาก ทางเดินหายใจ, การหายใจ, การเต้นของ
                                                     ้
ชีพจร ซึงสามารถแบ่งเป็ นการดูแลรักษาอย่างฉุ กเฉิ นและประคับประคอง เช่นการช่วยเหลือในด้านระบบ หายใจ, การให้สารนํา, การลดการเจ็บปวด,ปลอบ
             ํ
ขวัญ , ให้กาลังใจ, ลดการเคลือนไหวทีไม่จาเป็ น และการดูแลรักษาอย่างจําเพาะ เช่นการให้ยาต้านพิษ ( Antidote ) การลดการปนเปื อน หรื อการล้างพิษ (
                                              ํ
Decontamination Procedure)
การล้ างพิษ ( Decontamination Procedure)
                                                         ั              ่
คือกระบวนการการขจัด หรื อทําลายสภาพพิษของวัตถุอนตรายซึงติดอยูบนบุคคลและ/หรื ออุปกรณ์ ในการเกิดอุบติภยจากวัตถุ อันตรายซึงมีจุดประสงค์หลัก
                                                                                                               ั ั
เพือ
                           ลดการบาดเจ็บ ,ลดการดูดซึมของวัตถุอนตรายทีจะเข้าสู่ร่างกาย
                                                                    ั
                           ลดการแพร่ กระจายสู่ชุมชนและสิ งแวดล้อม
                           ลดการปนเปื อนของเจ้าหน้าที (responder)
ระบบการล้ างพิษ ( mass casualty decontamination systems)
                ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบคู่ คือ มีระบบหนึงสําหรับ ambulatory victims และอีกระบบหนึงสําหรับ non- ambulatory victims
               ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบเดียว คือ ล้างทัง ambulatory และ non-ambulatory victims ในระบบเดียวกัน




                   ระบบการล้ างพิษหมู่ แบบระบบคู่                        ระบบการล้ างพิษหมู่ แบบระบบเดียววิธีการล้ างพิษ



                                                                                                                                                 4
ใช้มือควัก-ปาดออก, ตัดเสื อผ้าออก(Dry Decontamination)
                                     ล้างตา/แผล เป็ นลําดับแรก
                                     ล้างจากบนลงล่าง หัวจรดเท้า
                                     ผูป่วยทีมีประวัติการรับสัมผัสสารเคมีทางตาควรได้รับการปฐมพยาบาลโดยการล้างตาด้วยnormal saline หรื อ นํา
                                        ้
                                    สะอาด
                                     ข้างละอย่างน้อย 10-15นาที ควรได้รับการตรวจด้วย pH paper จน pH เป็ นกลาง
                                     ล้างตัวด้วยนําสะอาดทีไหลอย่างต่อเนืองอย่างน้อย 5 นาที
                                     ถ้าสารปนเปื อนมีลกษณะเหนียวหรื อเป็ นนํามันใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วย
                                                          ั
                                     ถ้าสารปนเปื อนมีลกษณะเป็ นด่างใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วยและล้างด้วยนําสะอาดทีไหลอย่างต่อเนืองอย่างน้อย 15 นาที
                                                        ั




                                                 (รู ปที๓)วิธีการล้างพิษ
การจําหน่ ายผู้ป่วยจาก Support Zone or Cold Zone
ผูป่วยทีไม่มีการรับสัมผัสและไม่มีอาการผิดปกติสามารถถูกจําหน่ายได้ การปฏิบัตการของหน่ วยรักษาพยาบาล ขณะนําส่ งการ เคลือนย้ ายผู้ประสบภัยจาก
  ้                                                                          ิ
จุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาล สิ งทีทีมช่วยเหลือพึงระลึกเสมอเมือจะมีการการเคลือนย้ายผูประสบภัยจาก จุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาลคือ
                                                                                  ้

                        ผูบาดเจ็บต้องสะอาดก่อนขึนรถ (ACAP: as clean as possible)
                           ้
                                                         ํ
                        ลดการเคลือนไหว,ปลอบขวัญ,ให้กาลังใจ
                        ห่อและคลุมผูบาดเจ็บด้วยผ้าพลาสติก
                                       ้
                        ก่อนล้อหมุน ตรวจสอบและกรอกข้อมูลในใบ refer ให้ครบถ้วน
                        ปิ ดแอร์,เปิ ดหน้าต่าง
                        ติดต่อโรงพยาบาลทีรับrefer ตาม radio report checklist
                        ประเมินและดูแลเรื องABCs และล้างตาต่อ(ถ้าจําเป็ น)
                        Appropriate treatment,antidote,O2,etc.

การปฏิบัตการของหน่ วยรักษาพยาบาลเมือถึงโรงพยาบาล
         ิ
                      เข้าสู่โรงพยาบาลตามทิศทางทีกําหนด ,จอดรถในจุดทีจะทํา Secondary decontamination
                     ทีม EMS, ผูบาดเจ็บ,รถAmbulance ถือว่าเป็ นสิ งทีเปื อนวัตถุอนตราย ดังนัน ต้องผ่านการdecontaminationในจุดทีโรงพยาบาล
                                    ้                                             ั
                                                     ่
                         กําหนด สถานทีล้างพิษทีอยูในทีเปิ ดโล่งจะเป็ นสถานทีดีทีสุ ด
                     ถุงขยะ,ถุงใส่สิงทีผูบาดเจ็บอาเจียนออกมา, Disposable material ต้องใส่ถุงและปิ ดผนึกอีกครังก่อนส่งไปทําลาย
                                             ้
                       ER ต้องแบ่งเป็ น 2 ทีม คือ ทีมใน ER(เขตสะอาด)และทีมนอก ER ซึงจะปฏิบติงานที Triage area และ Secondary
                                                                                                    ั
                         decontamination area
                     เมือมีผป่วยมาแพทย์หรื อพยาบาลห้องฉุ กเฉิ นจะต้องไปทีรถพยาบาลเพือประเมินสภาพและการปนเปื อนของผูป่วย
                               ู้                                                                                                ้
                     ผูบนทึกจะเขียนรู ปบริ เวณร่ างกายของผูป่วยทีแพทย์บอกว่ามีการปนเปื อน จะต้องนึกเสมอว่าการปนเปื อนอาจจะเป็ น สาเหตุให้ถึง
                       ้ ั                                   ้
                         แก่ชีวิตได้
                     เริ มการคัดกรอง ( triage) ผูป่วยตังแต่ตรงนี ระหว่างการประเมินผูป่วยนี การลดการ ปนเปื อนอาจทําได้พร้อมกันโดย การถอด
                                                   ้                                  ้
                         เสื อผ้าทีสงสัยว่าจะปนเปื อนออกให้หมด รวมทังเครื องประดับ นาฬิกา เช็ดหรื อถูสิงทีมองเห็นว่าปนเปื อน ควร ระวังไม่ให้
                         บาดแผลของผูป่วยปนเปื อน บุคลากรเองควรระวังไม่ให้มีการสัมผัสสารพิษด้วย(ในทางทฤษฏีนนการล้างพิษ ควรทําก่อนทีจะมี
                                        ้                                                                           ั
                         การเคลือนย้ายผูป่วย แต่ในความเป็ นจริ งการ ล้างพิษบริ เวณจุดเกิดเหตุจะมีขอจํากัด บุคลากรห้อง ฉุ กเฉิ นควรถือว่าผูป่วยทุกราย
                                           ้                                                      ้                                       ้


                                                                                                                                                       5
จําเป็ นต้องทํา การล้างพิษ จนกว่าจะได้ขอมูลว่าไม่จาเป็ น (เช่นในกรณี สัมผัส carbon monoxide)
                                                                 ้         ํ
                                                                                                                               ั ้
                       ถ้าไม่ได้ถอดเสื อผ้าผูป่วยออกในเหตุการณ์ ควรถอดออกก่อนเข้าในห้องฉุ กเฉิ น ซึงจะเป็ นการลดการสัมผัสให้กบผูป่วย และเป็ น
                                             ้
                         การลดการปนเปื อนให้หองฉุ กเฉิ น
                                                   ้
                       เสื อผ้าทีปนเปื อนจะต้องเก็บไว้ในถุงพลาสติกสองชัน ผนึก และ เขียนบอกไว้ ทีมล้างพิษจะต้องนําเปลนอนมายัง รถพยาบาลนําส่ง
                         ผูป่วย และนําผูป่วยไปยัง บริ เวณ ล้างพิษตามแผนทีวางไว
                            ้             ้
                       ต้องให้ความสําคัญในการรักษาภาวะเร่ งด่วนซึงได้แก่ ทางเดินหายใจ การหายใจ และ ระบบไหลเวียนเลือด พร้อมไปกับ
                       การลดการปนเปื อน เมือมีเหตุการณ์ฉุกเฉิ น บุคลากรของห้องฉุ กเฉิ นจะมุ่งไปทีการล้างพิษ และการช่วยเหลือผูป่วย การ
                                                                                                                             ้
                       ค้นหาพิษของสารเคมีและวิธีรักษาจะเป็ นหน้าทีของบุคลากรอืน อย่างไรก็ดีการใช้เครื องป้ องกันตนเองจะต้องใช้ให้ถูก
                       และไม่ถอดออกจนกว่าจะปลอดภัย

อุปกรณ์ ทจาเป็ นที EMS Team ควรมี
           ี
                               กล้องส่องทางไกล
                                แผนบรรเทาภัยจากวัตถุอนตราย,flowchart, checklist
                                                        ั
                               แผนที,หมายเลขโทรศัพท์,คลืนวิทยุและนามเรี ยกขาน
                               Chemical Protective Clothing at least level C, face mask respirator with cartridge
                               สัญลักษณ์แสดงตําแหน่ง เช่น Medical doctor, Nurse or EMT
                               คู่มือการระงับอุบติภย,MSDS,สอ.1
                                                  ั ั
                               ครุ ภณฑ์และเวชภัณฑ์ทีเกียวข้อง antidote,O2,etc, อุปกรณ์ทีเกียวข้องกับการล้างพิษ
                                     ั
สรุป
             สถานพยาบาลต้องขยายแผนฉุ กเฉิ นและขอบเขตเวชบริ การให้ครอบคลุมการดูแลอุบติภยสารเคมี เตรี ยม ชุดป้ องกันสารเคมี, ยาต้านพิษ ให้
                                                                                                ั ั
                ํ
เพียงพอ และมีกาหนดการซ้อมชัดเจน และทําอย่างจริ งจัง เตรี ยมพร้อมกระบวนการวางแผนรับอุบติภยสารเคมีการเตรี ยมรับผูป่วย ณ จุดเกิดเหตุและห้อง
                                                                                                  ั ั             ้
ฉุ กเฉิ น พยายามจํากัดการแพร่ กระจายของวัตถุอนตรายโดยการล้างพิษ (Decontamination) Supportive and Symptomatic treatment คือสิ งสําคัญ เนืองจาก
                                                ั
วัตถุอนตรายทีมี Antidote มีนอยมากและ Antidote คือวัตถุ อันตราย ถ้าใช้อย่างไม่ถกต้อง
        ั                   ้                                                      ู

เอกสารอ้ างอิง
     1. National coordination Subcommittee on Policy and plan for Chemical Safety And Thailand Chemicals Management Profile Working Group.
            Chemical Production, import, export and use. In: Food and Drug Administration of the Royal Thai Government. Thailand Chemicals
            Management Profile 2005 (Draft). Bangkok, 2005: 2/1-2/11
     2. สํ านักงานควบคุมวัตถุอนตราย, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม. สถิตอุบัตภัยจากสารเคมีระหว่ าง ปี พ.ศ.2527 - พ .ศ.2543(
                                   ั                                                               ิ ิ
            ในประเทศไทย). Available from: URL: Medicine, Institute of Disaster Medicine, Medical College of Georgia, 2005
     3. Schwartz RB. . Hospital Preparedness for Mass Casualty Disasters. Department of Emergency Medicine, Institute of Disaster Medicine,
            Medical College of Georgia, 2005
     4. Treat K.N. Hospital preparedness for weapons of mass destruction incidents: An initial assessment. Annals of Emergency Medicine Nov.
            2001
     5. The HEICS plan. Available at: http://www.emsa.cahwnet.gov/dms2/download.htm. Accessed 2005 Feb 28.
     6. Kirk MA, Cisek J, Rose SR. 1994. Emergency department response to hazardous materials incidents. Emerg Med Clin North Am 12: 461-481.
     7. Okumura S. , Okumura T. ,Ishimatsu S. , Miura K. , Maekawa H. and Naito T. Clinical review: Tokyo - protecting the health care worker
            during a chemical mass casualty event: an important issue of continuing relevance. Critical Care 2005, 9:397-400
     8. Burgess JL, Blackmon GM, Brodkin CA, Robertson WO. Hospital preparedness for hazardous materials incidents and treatment of
            contaminated patients. West J Med 1997; 167:387-391
     9. Wetter DC., Daniell WE., and CD.Treser. Hospital Preparedness for Victims of Chemical or Biological Terrorism. American Journal of Public
            Health; May 2001, Vol. 91, No. 5:710-716
     10. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack:disaster management, part 1: community emergency response. Acad
            Emerg Med. 1998;5:613-617.
     11. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack: disaster management, part 2: hospital response. Acad Emerg Med.
            1998;5:618-624.



                                                                                                                                                6

Más contenido relacionado

Más de Narenthorn EMS Center

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesNarenthorn EMS Center
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidNarenthorn EMS Center
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนNarenthorn EMS Center
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistNarenthorn EMS Center
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 

Más de Narenthorn EMS Center (20)

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
 
CPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLSCPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLS
 
CPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALSCPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALS
 
Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
 
CPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issuesCPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issues
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklist
 
Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010
 
ACLS 2010
ACLS 2010ACLS 2010
ACLS 2010
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
Airway workshop Reading material
Airway workshop Reading materialAirway workshop Reading material
Airway workshop Reading material
 
APHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 ExamAPHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 Exam
 
Ill appearing neonates
Ill appearing neonatesIll appearing neonates
Ill appearing neonates
 
PAROS Proposal
PAROS ProposalPAROS Proposal
PAROS Proposal
 
10th National HA Forum Poster
10th National HA Forum Poster10th National HA Forum Poster
10th National HA Forum Poster
 

การประเมินเตรียมพร้อมของโรงพยาบาลในการตอบโต้ เหตุฉุกเฉินอุบัติภัยสารเคมี

  • 1. A-PDF WORD TO PDF DEMO: Purchase from www.A-PDF.com to remove the watermark การประเมินเตรียมพร้ อมของรพ.ในการตอบโต้ เหตุฉุกเฉินอุบัตภัยสารเคมี ิ (Hospital Preparedness assessment for Toxicological Mass Casualties) น .พ. กิติพงษ์ พนมยงค์ พบ., วว. เวชปฏิบติทวไป ั ั MHSCc. (OHS) QUT Australia อว. เวชศาสตร์ป้องกันแขนงอาชีวเวชศาสตร์ หลักการเตรี ยมความพร้อมเพือดูแลผูประสบภัยจากสารเคมีของโรงพยาบาลเท่านันซึงโดยทัวไปเราอาจแบ่งได้คร่ าวๆ ดังต่อไปนี4-7 ้ การปฏิบติของโรงพยาบาลเมือได้รับแจ้งเหตุแผนการจัดการผูป่วย ั ้ การหาข้อมูลของสารเคมีและชุดป้ องกันสารเคมี การปฏิบติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ ทีเกิดเหตุ ั การปฐมพยาบาล, คัดกรองผูป่วย และการลดการปนเปื อนสารเคมี ้ การปฏิบติการของหน่วยรักษาพยาบาล ขณะนําส่ง ั การปฏิบติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาล ั อุปกรณ์ทีจําเป็ นต้องนํามาใช้ได้ทนที ั การปฏิบัตของโรงพยาบาลเมือได้ รับแจ้ งเหตุ ิ ยืนยันการเกิดเหตุ แจ้งหน่วยเวชบริ การฉุ กเฉิ นให้จด เตรี ยมบริ เวณทีล้างพิษ ั แจ้งให้หน่วยบริ การที เกียวข้องทุกหน่วยทราบ ซักซ้อมชุดปฏิบติการ ล้างพิษ ั ระลึกเสมอว่าผูป่วยทุกรายได้รับพิษจนกว่าจะพิสูจน์ได้ ้ ่ โดยหัวใจสําคัญอยูทีข้อมูลต่างๆดังต่อไปนี กรณี ไม่ทราบข้อมูลต้องอนุมานว่าเป็ นสารเคมีทีเป็ นพิษมากทีสุ ด ชนิดและลักษณะของอุบติภยเช่น การระเบิด, การรัวของก๊าซ, หรื ออุบติเหตุขณะขนส่ง ั ั ั หมายเลขโทรศัพท์ของผูแจ้งเหตุ ้ จํานวน,อาการของผูป่วยและลักษณะการบาดเจ็บร่ วมอืนๆเช่นไฟ,ระเบิด,การบาดเจ็บทางกายภาพ ้ การทําลายล้างพิษภาคสนามและเวลาทีคาดว่าผูป่วยจะมาถึงเพือการเตรี ยมพร้อมของรพ. ้ ข้อมูลชือของสารเคมีทีเกียวข้อง(ถ้าเป็ นไปได้)ซึงบอกถึงความเป็ นพิษและเป็ นประโยชน์ต่อการรักษา การระบุชนิดของสารเคมีทเป็ นไปได้ ี ซึงสามารถหาได้จากรู ป สัญลักษณ์ประเภทสิ นค้าอันตราย (Label) หรื อ Placards ( รู ปที1), เอกสารการขนส่ง(Transportation sheet),และ ฐานข้อมูล เป็ นต้น 1
  • 2. ( รู ปที1)ตัวอย่างรู ปสัญลักษณ์และระบบข้อมูลแสดงประเภทสิ นค้าอันตราย8 ชุ ดปองกันอันตรายจากสารเคมี (Chemical Protective Clothing) ้ ชุดป้ องกันอันตรายจากสารเคมี(Chemical Protective Clothing)เป็ นชุดทีถูกออกแบบมาเพือใส่ป้องกันไม่ให้ส่วนต่างๆของร่ างกายมี การสัมผัสต่อสารเคมี อันตราย การใช้อุปกรณ์ปกป้ องส่วนบุคคล จะต้องพิจารณาให้ครบทังชุด ปกป้ องศีรษะโดยใช้หมวกนิรภัย ปกป้ องตาโดยใช้แว่นนิรภัยซึงเลนส์ ทําด้วยวัสดุที สามารถทนแรงกระแทกได้ หรื อทีครอบตา (Goggles) ปกป้ องหูดวยทีอุดหู และ ปกป้ องเท้าด้วยรองเท้านิรภัยซึงกันสารเคมีได้ เป็ นต้น โดย EPA ้ (Environment Protection Agency) หน่วยงานด้านสิ งแวดล้อมของ สหรัฐอเมริ กาได้มีการจําแนกตามความต้องการทีจะใช้ป้องกันสารเคมีในแต่ละ สถานการณ์มี 4 ชนิดคือ Level A Protection ให้การป้ องกันในระดับสูงสุ ด ทังด้านการหายใจ การสัมผัส กับ ผิวหนัง ดวงตา และ ส่วนต่างๆ ของร่ างกาย ป้ องกันสารเคมีทงในรู ป ของแข็ง ของเหลว และ ั ก๊าซสามารถเข้าเขต Hot Zoneได้ LEVEL A Protection ชุ ดประกอบด้ วย ถังอากาศทีมีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทังตัวไร้รอยต่อ ถุงมือและรองเท้าบูททีทนต่อสารเคมี ้ ข้อบ่งใช้ ไม่ทราบว่าสารเคมีนนคืออะไร ั ทราบว่าสารเคมีนนสามารถดูดซึมทางผิวหนังได้ ั ทราบว่าสารเคมีนนเป็ นอันตรายเมือสัมผัสผิวหนังในรู ปไอหรื อของเหลว ั ปฏิบติงานในบริ เวณทีอับ และ ไม่มีการระบายอากาศ (confined space) ั Level B Protection ใช้ป้องกันระบบทางเดินหายใจในระดับสู งสุ ดแต่ระดับการป้ องกันจะรองลงมาสําหรับผิวหนังและดวงตาโดย มากจะใช้ป้องกัน ของเหลวหรื อวัตถุกระเด็น เป็ นชุดทีหุ มทังตัวแต่ไม่หมด ไอระเหยและฝุ่นสามารถเข้าตามรอยต่อบริ เวณคอ ข้อมือได้ ้ ชุดประกอบด้วย ถังอากาศทีมีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ ชุดทนสารเคมีคลุมยาวตลอดแขนขา ถุงมือและรองเท้าบูททีทนต่อสารเคมี ้ ข้อบ่งชีทราบว่าสารเคมีนนเป็ นอันตรายเมือสัมผัสผิวหนังในรู ปของเหลว (ไม่ป้องกันการสัมผัสไอหรื อแก๊สทีผิวหนัง) ั ทราบว่าสารเคมีนนเป็ นไอหรื อแก๊สทีเป็ นพิษทางการหายใจ ั ปฏิบติงานในบริ เวณทีทีมี ออกซิเจนน้อย ั 2
  • 3. Level B Protection Level C Protection ่ ใช้เมือรู ้วาสารเคมีเป็ นอันตรายต่อทางเดินหายใจ มีการวัดความเข้มข้นของสารเคมี และมีขอบ่งชีในการใช้ air-purifying respirators อันตรายจากการสัมผัส ้ ทางผิวหนังค่อนข้างน้อย และตลอดการปฏิบติงานภายใต้ชุดดังกล่าวจะต้องมีการตรวจสภาพอากาศเป็ นระยะ ั Level C Protection ชุดประกอบด้วย เครื องช่วยหายใจชนิดทีมีไส้กรองอากาศ ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทังตัวไร้รอยต่อ ถุงมือและรองเท้าบูททีทนต่อสารเคมี ้ ข้อบ่งใช้ ทราบว่าสารเคมีนนคืออะไรและป้ องกันได้ดวย air purifying respiratory protective device (ทราบ ชนิดและทราบว่าความ ั ้ เข้มข้นน้อยกว่า 1000 ppm) ทราบว่าสารเคมีนนเป็ นอันตรายเมือรับสัมผัสทางการหายใจ ั ปฏิบติงานในบริ เวณทีมีออกซิเจนพอเพียง ั Level D Protection คือชุดใส่ทางานทัวไป ใช้กรณี ดูแลหลังจากได้รับการ decontamination และ ควบคุมสถานการณ์แล้วไม่ควรใส่ในทีซึงมีสิง คุกคามต่อผิวหนังหรื อทางเดิน ํ หายใจ Level D Protection 3
  • 4. การปฏิบัตการของหน่ วยรักษาพยาบาล ณ ทีเกิดเหตุ ิ ้ ั เมือทีมเวชบริ การฉุ กเฉิ นทีพร้อมจะให้การช่วยเหลือไปถึงจุดเกิดเหตุ ให้เข้ารายงานตัวกับผูบญชาการเหตุการณ์ และ ประสานทีม กูภย( HAZ.MAT team ) ้ ั รับทราบแผนการปฏิบติและการกําหนดพืนทีแบ่ง พท.ระดับความปลอดภัยต่อสารเคมี (Control Zone)(รู ปที2)และ จุดคัดแยกผูบาดเจ็บ ซึงระยะปลอดภัยจะ ั ้ ถูกกําหนดโดยหน่วยงานผูเ้ ชียวชาญ เช่น กรมควบคุมมลพิษ (รู ปที2) การจัดแบ่งบริ เวณของความปลอดภัยต่อสารเคมี (Isolate Area Establish Zones) แบ่ง พท.เป็ น 3 ระดับได้แก่ Hot Zone, Warm Zone, Cold Zone สําหรับรถพยาบาล หํารถไปจอดในทีจุดปลอดภัย ซึงมักเป็ นทีสูง , อยูเ่ หนือลม ต้นนํา เพือหลีกเลียงการสัมผัสสารเคมี และหันหัว รถพยาบาลออก เพือทีจะสามารถเคลือนย้ายได้ทนทีทีเกิดเหตุแทรกซ้อนห้ามผ่านเข้าไปในบริ เวณเขตชําระ ล้างสารเคมี (Warm ั Zone) ก่อนการปฏิบติการด้านรักษาพยาบาลให้ทีมเวชบริ การฉุ กเฉิ นมีการสวมใส่ชุดและอุปกรณ์ป้องกันภัยสารเคมีให้ เหมาะสมกับชนิด ั สารเคมี (อย่างน้อยระดับ C) และให้เรี ยบร้อยก่อนลงจากรถพยาบาล แต่ถาจะเข้าปฏิบติการในเขตชําระ ล้างสารเคมี (Warm Zone) ้ ั หรื อเขต ( Hot Zone) จะต้องคํานึงการเพิมระดับของชุดป้ องกันสารเคมี แพทย์ทีถึงทีเกิดเหตุคนแรกจะเป็ น ผูบญชาการส่วนเวชบริ การฉุ กเฉิ น จนกว่าจะมีผทีมีระดับสูงกว่าในสายการบังคับ บัญชาเข้ารับ ้ ั ู้ ช่วงต่อ เมือมีการรับตัวผูประสบภัยจาก HAZMAT ทีมย้ายมายังจุดปลอดภัย (Cold Zone) จะเป็ นจุดทีเริ มให้การรักษาพยาบาล ก่อนการส่ง ้ ต่อผูประสบภัยไปยังโรงพยาบาล ้ การให้ การปฐมพยาบาล , การประเมินสภาพ และ การลดการปนเปื อนสารเคมี (First Aids, Patient Assessment and Decontamination) ทีมเวชบริ การฉุ กเฉิ นจะมีการประเมินและแบ่งกลุ่มผูประสบภัยตามความเร่ งด่วนทีจะให้การรักษา โดยพิจารณาจาก ทางเดินหายใจ, การหายใจ, การเต้นของ ้ ชีพจร ซึงสามารถแบ่งเป็ นการดูแลรักษาอย่างฉุ กเฉิ นและประคับประคอง เช่นการช่วยเหลือในด้านระบบ หายใจ, การให้สารนํา, การลดการเจ็บปวด,ปลอบ ํ ขวัญ , ให้กาลังใจ, ลดการเคลือนไหวทีไม่จาเป็ น และการดูแลรักษาอย่างจําเพาะ เช่นการให้ยาต้านพิษ ( Antidote ) การลดการปนเปื อน หรื อการล้างพิษ ( ํ Decontamination Procedure) การล้ างพิษ ( Decontamination Procedure) ั ่ คือกระบวนการการขจัด หรื อทําลายสภาพพิษของวัตถุอนตรายซึงติดอยูบนบุคคลและ/หรื ออุปกรณ์ ในการเกิดอุบติภยจากวัตถุ อันตรายซึงมีจุดประสงค์หลัก ั ั เพือ ลดการบาดเจ็บ ,ลดการดูดซึมของวัตถุอนตรายทีจะเข้าสู่ร่างกาย ั ลดการแพร่ กระจายสู่ชุมชนและสิ งแวดล้อม ลดการปนเปื อนของเจ้าหน้าที (responder) ระบบการล้ างพิษ ( mass casualty decontamination systems) ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบคู่ คือ มีระบบหนึงสําหรับ ambulatory victims และอีกระบบหนึงสําหรับ non- ambulatory victims ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบเดียว คือ ล้างทัง ambulatory และ non-ambulatory victims ในระบบเดียวกัน ระบบการล้ างพิษหมู่ แบบระบบคู่ ระบบการล้ างพิษหมู่ แบบระบบเดียววิธีการล้ างพิษ 4
  • 5. ใช้มือควัก-ปาดออก, ตัดเสื อผ้าออก(Dry Decontamination) ล้างตา/แผล เป็ นลําดับแรก ล้างจากบนลงล่าง หัวจรดเท้า ผูป่วยทีมีประวัติการรับสัมผัสสารเคมีทางตาควรได้รับการปฐมพยาบาลโดยการล้างตาด้วยnormal saline หรื อ นํา ้ สะอาด ข้างละอย่างน้อย 10-15นาที ควรได้รับการตรวจด้วย pH paper จน pH เป็ นกลาง ล้างตัวด้วยนําสะอาดทีไหลอย่างต่อเนืองอย่างน้อย 5 นาที ถ้าสารปนเปื อนมีลกษณะเหนียวหรื อเป็ นนํามันใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วย ั ถ้าสารปนเปื อนมีลกษณะเป็ นด่างใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วยและล้างด้วยนําสะอาดทีไหลอย่างต่อเนืองอย่างน้อย 15 นาที ั (รู ปที๓)วิธีการล้างพิษ การจําหน่ ายผู้ป่วยจาก Support Zone or Cold Zone ผูป่วยทีไม่มีการรับสัมผัสและไม่มีอาการผิดปกติสามารถถูกจําหน่ายได้ การปฏิบัตการของหน่ วยรักษาพยาบาล ขณะนําส่ งการ เคลือนย้ ายผู้ประสบภัยจาก ้ ิ จุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาล สิ งทีทีมช่วยเหลือพึงระลึกเสมอเมือจะมีการการเคลือนย้ายผูประสบภัยจาก จุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาลคือ ้ ผูบาดเจ็บต้องสะอาดก่อนขึนรถ (ACAP: as clean as possible) ้ ํ ลดการเคลือนไหว,ปลอบขวัญ,ให้กาลังใจ ห่อและคลุมผูบาดเจ็บด้วยผ้าพลาสติก ้ ก่อนล้อหมุน ตรวจสอบและกรอกข้อมูลในใบ refer ให้ครบถ้วน ปิ ดแอร์,เปิ ดหน้าต่าง ติดต่อโรงพยาบาลทีรับrefer ตาม radio report checklist ประเมินและดูแลเรื องABCs และล้างตาต่อ(ถ้าจําเป็ น) Appropriate treatment,antidote,O2,etc. การปฏิบัตการของหน่ วยรักษาพยาบาลเมือถึงโรงพยาบาล ิ เข้าสู่โรงพยาบาลตามทิศทางทีกําหนด ,จอดรถในจุดทีจะทํา Secondary decontamination ทีม EMS, ผูบาดเจ็บ,รถAmbulance ถือว่าเป็ นสิ งทีเปื อนวัตถุอนตราย ดังนัน ต้องผ่านการdecontaminationในจุดทีโรงพยาบาล ้ ั ่ กําหนด สถานทีล้างพิษทีอยูในทีเปิ ดโล่งจะเป็ นสถานทีดีทีสุ ด ถุงขยะ,ถุงใส่สิงทีผูบาดเจ็บอาเจียนออกมา, Disposable material ต้องใส่ถุงและปิ ดผนึกอีกครังก่อนส่งไปทําลาย ้ ER ต้องแบ่งเป็ น 2 ทีม คือ ทีมใน ER(เขตสะอาด)และทีมนอก ER ซึงจะปฏิบติงานที Triage area และ Secondary ั decontamination area เมือมีผป่วยมาแพทย์หรื อพยาบาลห้องฉุ กเฉิ นจะต้องไปทีรถพยาบาลเพือประเมินสภาพและการปนเปื อนของผูป่วย ู้ ้ ผูบนทึกจะเขียนรู ปบริ เวณร่ างกายของผูป่วยทีแพทย์บอกว่ามีการปนเปื อน จะต้องนึกเสมอว่าการปนเปื อนอาจจะเป็ น สาเหตุให้ถึง ้ ั ้ แก่ชีวิตได้ เริ มการคัดกรอง ( triage) ผูป่วยตังแต่ตรงนี ระหว่างการประเมินผูป่วยนี การลดการ ปนเปื อนอาจทําได้พร้อมกันโดย การถอด ้ ้ เสื อผ้าทีสงสัยว่าจะปนเปื อนออกให้หมด รวมทังเครื องประดับ นาฬิกา เช็ดหรื อถูสิงทีมองเห็นว่าปนเปื อน ควร ระวังไม่ให้ บาดแผลของผูป่วยปนเปื อน บุคลากรเองควรระวังไม่ให้มีการสัมผัสสารพิษด้วย(ในทางทฤษฏีนนการล้างพิษ ควรทําก่อนทีจะมี ้ ั การเคลือนย้ายผูป่วย แต่ในความเป็ นจริ งการ ล้างพิษบริ เวณจุดเกิดเหตุจะมีขอจํากัด บุคลากรห้อง ฉุ กเฉิ นควรถือว่าผูป่วยทุกราย ้ ้ ้ 5
  • 6. จําเป็ นต้องทํา การล้างพิษ จนกว่าจะได้ขอมูลว่าไม่จาเป็ น (เช่นในกรณี สัมผัส carbon monoxide) ้ ํ ั ้ ถ้าไม่ได้ถอดเสื อผ้าผูป่วยออกในเหตุการณ์ ควรถอดออกก่อนเข้าในห้องฉุ กเฉิ น ซึงจะเป็ นการลดการสัมผัสให้กบผูป่วย และเป็ น ้ การลดการปนเปื อนให้หองฉุ กเฉิ น ้ เสื อผ้าทีปนเปื อนจะต้องเก็บไว้ในถุงพลาสติกสองชัน ผนึก และ เขียนบอกไว้ ทีมล้างพิษจะต้องนําเปลนอนมายัง รถพยาบาลนําส่ง ผูป่วย และนําผูป่วยไปยัง บริ เวณ ล้างพิษตามแผนทีวางไว ้ ้ ต้องให้ความสําคัญในการรักษาภาวะเร่ งด่วนซึงได้แก่ ทางเดินหายใจ การหายใจ และ ระบบไหลเวียนเลือด พร้อมไปกับ การลดการปนเปื อน เมือมีเหตุการณ์ฉุกเฉิ น บุคลากรของห้องฉุ กเฉิ นจะมุ่งไปทีการล้างพิษ และการช่วยเหลือผูป่วย การ ้ ค้นหาพิษของสารเคมีและวิธีรักษาจะเป็ นหน้าทีของบุคลากรอืน อย่างไรก็ดีการใช้เครื องป้ องกันตนเองจะต้องใช้ให้ถูก และไม่ถอดออกจนกว่าจะปลอดภัย อุปกรณ์ ทจาเป็ นที EMS Team ควรมี ี กล้องส่องทางไกล แผนบรรเทาภัยจากวัตถุอนตราย,flowchart, checklist ั แผนที,หมายเลขโทรศัพท์,คลืนวิทยุและนามเรี ยกขาน Chemical Protective Clothing at least level C, face mask respirator with cartridge สัญลักษณ์แสดงตําแหน่ง เช่น Medical doctor, Nurse or EMT คู่มือการระงับอุบติภย,MSDS,สอ.1 ั ั ครุ ภณฑ์และเวชภัณฑ์ทีเกียวข้อง antidote,O2,etc, อุปกรณ์ทีเกียวข้องกับการล้างพิษ ั สรุป สถานพยาบาลต้องขยายแผนฉุ กเฉิ นและขอบเขตเวชบริ การให้ครอบคลุมการดูแลอุบติภยสารเคมี เตรี ยม ชุดป้ องกันสารเคมี, ยาต้านพิษ ให้ ั ั ํ เพียงพอ และมีกาหนดการซ้อมชัดเจน และทําอย่างจริ งจัง เตรี ยมพร้อมกระบวนการวางแผนรับอุบติภยสารเคมีการเตรี ยมรับผูป่วย ณ จุดเกิดเหตุและห้อง ั ั ้ ฉุ กเฉิ น พยายามจํากัดการแพร่ กระจายของวัตถุอนตรายโดยการล้างพิษ (Decontamination) Supportive and Symptomatic treatment คือสิ งสําคัญ เนืองจาก ั วัตถุอนตรายทีมี Antidote มีนอยมากและ Antidote คือวัตถุ อันตราย ถ้าใช้อย่างไม่ถกต้อง ั ้ ู เอกสารอ้ างอิง 1. National coordination Subcommittee on Policy and plan for Chemical Safety And Thailand Chemicals Management Profile Working Group. Chemical Production, import, export and use. In: Food and Drug Administration of the Royal Thai Government. Thailand Chemicals Management Profile 2005 (Draft). Bangkok, 2005: 2/1-2/11 2. สํ านักงานควบคุมวัตถุอนตราย, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม. สถิตอุบัตภัยจากสารเคมีระหว่ าง ปี พ.ศ.2527 - พ .ศ.2543( ั ิ ิ ในประเทศไทย). Available from: URL: Medicine, Institute of Disaster Medicine, Medical College of Georgia, 2005 3. Schwartz RB. . Hospital Preparedness for Mass Casualty Disasters. Department of Emergency Medicine, Institute of Disaster Medicine, Medical College of Georgia, 2005 4. Treat K.N. Hospital preparedness for weapons of mass destruction incidents: An initial assessment. Annals of Emergency Medicine Nov. 2001 5. The HEICS plan. Available at: http://www.emsa.cahwnet.gov/dms2/download.htm. Accessed 2005 Feb 28. 6. Kirk MA, Cisek J, Rose SR. 1994. Emergency department response to hazardous materials incidents. Emerg Med Clin North Am 12: 461-481. 7. Okumura S. , Okumura T. ,Ishimatsu S. , Miura K. , Maekawa H. and Naito T. Clinical review: Tokyo - protecting the health care worker during a chemical mass casualty event: an important issue of continuing relevance. Critical Care 2005, 9:397-400 8. Burgess JL, Blackmon GM, Brodkin CA, Robertson WO. Hospital preparedness for hazardous materials incidents and treatment of contaminated patients. West J Med 1997; 167:387-391 9. Wetter DC., Daniell WE., and CD.Treser. Hospital Preparedness for Victims of Chemical or Biological Terrorism. American Journal of Public Health; May 2001, Vol. 91, No. 5:710-716 10. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack:disaster management, part 1: community emergency response. Acad Emerg Med. 1998;5:613-617. 11. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack: disaster management, part 2: hospital response. Acad Emerg Med. 1998;5:618-624. 6