SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
ตํานานความเชื่อและข้ อเท็จจริงเกียวกับมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ
                                                  ่
                         Myths and Truths on Health Information Standards


                                                                       นายแพทย์ นวนรรน ธี ระอัมพรพันธุ์
                                               ฝ่ ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิ บดี
                                                                                        มหาวิทยาลัยมหิ ดล


        การพัฒนางานด้านมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพนั้น เป็ นภารกิจที่มีความซับซ้อนเป็ นอย่างมาก
เพราะโดยธรรมชาติของข้อมูลสารสนเทศทางสุ ขภาพที่มีความหลากหลาย หน่วยงานต่างๆ ที่เป็ นโครงสร้าง
                                ็
พื้นฐานของระบบสารสนเทศระดับชาติกมีความพร้อมและทรัพยากรแตกต่างกัน นอกจากนี้ การพัฒนา
มาตรฐานสารสนเทศจําเป็ นจะต้องอาศัยความร่ วมมือจากทุกภาคส่วน และต้องอาศัยการวางแผน การกํากับ
ดูแล การวิจยและพัฒนา การเจรจาหาข้อสรุ ป กระบวนการตัดสิ นใจ การนํามาตรฐานไปใช้จริ ง และการ
           ั
ประเมินผล ทุกขั้นตอนใช้เวลาและทรัพยากรเป็ นอย่างมาก บ่อยครั้ง ทิศทางในการพัฒนาก็อาจขาดความ
ชัดเจนและอาจไม่สมฤทธิ์ผลตามที่วางแผนไว้ ส่ งผลเสี ยต่อโอกาสการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศ
                ั
โดยรวมในที่สุด บางครั้ง ปั ญหาในกระบวนการพัฒนามาตรฐาน เกิดจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของ
ผูเ้ กี่ยวข้อง และขาดความพยายามที่จะแก้ไขความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเหล่านี้ ด้วยเหตุน้ ี การทําความเข้าใจที่
ถูกต้องตั้งแต่แรกเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ จึงมีความสําคัญอย่างยิงต่อความสําเร็ จ
                                                                                  ่
ของภารกิจนี้ ซึ่งจะส่ งผลดีต่อระบบสุ ขภาพของประเทศต่อไป
        ในแวดวงมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ มีความเข้าใจผิดบางประการที่มกได้ยนกันบ่อยๆ ซึ่ง
                                                                     ั ิ
ผูเ้ ขียนขอเรี ยกว่าเป็ น “ตํานานความเชื่อ” (Myths) ที่หลายท่านอาจ “เชื่อ” หรื อเห็นเช่นนั้น โดยปราศจากข้อ
พิสูจน์ และบทความนี้มีเจตนาที่จะสะกิดเตือนท่านที่หลงเชื่อ “ตํานาน” เหล่านี้ โดยเสนออีกหนึ่งมุมมองที่
ในทัศนคติของผูเ้ ขียน ใกล้เคียงกับความจริ ง (Truths) มากกว่า โดยจะพยายามอธิบายเหตุผล และอ้างอิง
หลักฐานทางวิชาการหรื อยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริ งเท่าที่ทาได้
                                                          ํ
Myth 1: ไม่ จําเป็ นต้ องมีมาตรฐานสารสนเทศก็ให้ บริการผู้ป่วยได้ การพัฒนามาตรฐานจึงไม่ จําเป็ น
        ท่านผูอ่านลองจินตนาการถึงสถานการณ์ดงต่อไปนี้
              ้                            ั
                                                                   ่                ่      ่
    - ท่านขับรถไปทํางาน แล้วเมื่อผ่านสี่ แยกไฟแดงที่มีการจราจรคับคัง ท่านไม่สามารถมันใจได้วา ผู ้
        ขับขี่รถคันอื่นจะแปลสัญญาณไฟสี แดงว่าเป็ นสัญญาณให้รถหยุดเช่นเดียวกับท่านหรื อไม่ (หรื อแย่
        ไปกว่านั้น ไม่มีสญญาณไฟโดยสิ้ นเชิง)
                         ั
- หากท่านจะทําธุรกรรมกับทางธนาคาร ธนาคารไม่สามารถจะตรวจสอบยืนยันตัวตนของท่านได้
        อย่างมันใจ เพราะทางราชการไม่ได้ออกบัตรประชาชนและเลขประจําตัวประชาชนให้ท่าน
               ่
    - ท่านไม่สามารถติดต่อสื่ อสารทางโทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ หรื อทาง e-mail ได้ เพราะไม่มีการ
        กําหนดมาตรฐานทางเทคนิคที่จาเป็ นสําหรับเทคโนโลยีน้ นๆ
                                  ํ                        ั
        ตัวอย่างสถานการณ์เหล่านี้ แสดงให้เห็นว่า มาตรฐานนั้น เข้ามามีบทบาทในชีวตประจําวันของเรา
                                                                               ิ
เป็ นอย่างมาก จริ งอยูที่ในอดีตกาล การที่เราไม่มีมาตรฐานเหล่านี้ อาจไม่ได้ส่งผลกระทบกับการดําเนินชีวิต
                      ่
นัก แต่ในปั จจุบนที่เรามีประชากรจํานวนมาก การดําเนินชีวิตมีความซับซ้อนขึ้นเรื่ อยๆ และจําเป็ นจะต้อง
                ั
                                  ่
อาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ อยูตลอดเวลา มาตรฐานยิงมีความสําคัญเพิ่มมากขึ้น
                                                    ่
        ในทางการแพทย์และสาธารณสุ ข มาตรฐานที่ทุกท่านคงคุนเคย คือ มาตรฐานในการให้บริ การ ซึ่ง
                                                        ้
เกี่ยวข้องกับมาตรฐานวิชาชีพ ความคาดหวังของผูรับบริ การ และกระบวนการพัฒนาคุณภาพ และเป็ นที่มา
                                            ้
ของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Administration) ซึ่งมีความสําคัญต่อคุณภาพของการ
ให้บริ การต่อผูป่วย มาตรฐาน HA เป็ นตัวสนับสนุน (facilitator) ให้โรงพยาบาลต่างๆ หันมาให้ความสําคัญ
               ้
กับกระบวนการพัฒนาคุณภาพ หากไม่มีมาตรฐาน HA คุณภาพการให้บริ การของแต่ละโรงพยาบาลก็จะมี
ความแตกต่างกันเป็ นอย่างมาก (large variations) ซึ่งจะส่ งผลเสี ยต่อผูป่วยโดยรวมได้
                                                                     ้
        สําหรับประเทศไทย เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในกระบวนการ
รักษาพยาบาล มีงานวิจยในต่างประเทศที่พบว่า การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในกระบวนการ
                    ั
รักษาพยาบาล ส่ งผลดีต่อคุณภาพการรักษาพยาบาล1-3 แต่ในประเทศไทย อุปสรรคที่สาคัญประการหนึ่งต่อ
                                                                         ํ
การพัฒนางานด้านเวชสารสนเทศของประเทศ คือการขาดข้อตกลงที่เป็ นที่ยอมรับเกี่ยวกับมาตรฐาน
สารสนเทศที่ควรนํามาใช้4 แม้วาเราจะสามารถให้บริ การผูป่วยได้ดงเช่นในปัจจุบนทั้งที่ไม่มีขอสรุ ปเรื่ อง
                            ่                       ้       ั            ั             ้
มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพที่ชดเจน แต่การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้โดยปราศจากมาตรฐานที่
                             ั
เหมาะสมก็อาจทําให้เกิดความแตกต่างในคุณภาพการให้บริ การได้ ทั้งยังเป็ นอุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลทางสุ ขภาพ (health information exchange) เพื่อความต่อเนื่องในการรักษา (continuity of care)
ระหว่างสถานพยาบาล ซึ่งมีความสําคัญต่อคุณภาพในการรักษาพยาบาลและความปลอดภัยของผูป่วย
                                                                              ้
(patient safety)5 จึงถือเป็ น “โอกาสพัฒนา” ที่มีความสําคัญยิงต่อคุณภาพชีวิตของผูป่วยโดยรวม
                                                            ่                   ้
        ด้วยเหตุน้ ี มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ จึงเป็ นสิ่ งที่มีความสําคัญต่อการนําเทคโนโลยี
สารสนเทศไปใช้อย่างกว้างขวางในสถานพยาบาลทัวประเทศ ซึ่งเป็ นองค์ประกอบสําคัญของการพัฒนา
                                         ่
คุณภาพการรักษาพยาบาลโดยรวม การปฏิเสธความสําคัญของมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ ท่ามกลาง
บริ บทของการรักษาพยาบาลในศตวรรษที่ 21 จึงเป็ นอันตรายทั้งต่อตัวผูป่วยเอง และต่อการพัฒนาคุณภาพ
                                                                 ้
                                                          ่
อย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement) และความอยูรอดของสถานพยาบาล
Myth 2: การพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ เป็ นงานของนักไอที
                          ่
        เป็ นความจริ งที่วา บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญทางเทคนิคด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ มีความสําคัญยิงต่อการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ แต่ผเู ้ ชี่ยวชาญด้านนี้ เป็ นเพียง
                       ่
ส่ วนประกอบหนึ่งที่มีผลต่อความสําเร็ จของการพัฒนามาตรฐานเท่านั้น เพราะความสําเร็ จที่แท้จริ งของ
มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ (และเทคโนโลยีสารสนเทศ) ไม่ใช่การมีมาตรฐาน (existence of
standards) โดยตัวของมันเอง แต่คือ การยอมรับของผูใช้งาน (user acceptance) การนํามาตรฐานไปใช้อย่าง
                                                ้
กว้างขวาง (widespread adoption) และผลดีต่อการให้บริ การ (improved quality of care)6 ดังนั้น จึงมี
ความสําคัญเป็ นอย่างมากที่กระบวนการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศ (และเทคโนโลยีสารสนเทศ) จะต้องมี
คนกลุ่มพิเศษ หรื อ “Special People”7 กล่าวคือ ต้องมีผที่มีความรู ้ความเข้าใจกระบวนการรักษาพยาบาล
                                                     ู้
ความคาดหวัง และมุมมองของผูให้บริ การ นอกจากนี้ยงควรมีผที่เป็ นตัวแทนของผูรับบริ การมามีส่วนร่ วม
                          ้                    ั      ู้                 ้
ด้วย และการสนับสนุนส่ งเสริ มให้มาตรฐานดังกล่าวมีการนําไปใช้อย่างกว้างขวางก็จาเป็ นจะต้องมีการ
                                                                             ํ
วางแผนยุทธศาสตร์และนําทฤษฎีดานการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Adoption) มาปรับใช้ดวย จึงจะ
                            ้                                                    ้
ถึงจุด “Tipping Point” ที่จะทําให้เกิดการยอมรับในวงกว้าง8-9 ไม่เช่นนั้น โอกาสที่มาตรฐานที่จดทําขึ้นจะ
                                                                                           ั
นําไปใช้ได้จริ ง ก็มีต่า ทําให้เสี ยเวลา ทรัพยากร และแรงงานในการพัฒนาโดยใช่เหตุ
                       ํ
Myth 3: องค์ กรเอกชนและบริษัททีจําหน่ ายหรือให้ บริการด้ านสารสนเทศ (vendors) ไม่ เกียวข้ องกับ
                               ่                                                     ่
กระบวนการพัฒนามาตรฐาน
        คนจํานวนไม่นอยมักมองว่า หาก vendors เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการพัฒนามาตรฐาน จะ
                    ้
พยายามที่จะต่อต้านการพัฒนามาตรฐาน หรื ออาจพยายามชี้นาทิศทางการพัฒนามาตรฐานในลักษณะที่ให้
                                                    ํ
         ั
ประโยชน์กบตนเป็ นหลัก จึงอาจสนับสนุนกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ปราศจากผูแทนของ vendors มา
                                                                     ้
มีส่วนร่ วม ซึ่งแม้วาในความเป็ นจริ ง ผลประโยชน์ทบซ้อน (conflict of interest) จะเป็ นสิ่ งที่ควรให้
                    ่                            ั
ความสําคัญและควบคุมไม่ให้เกิดความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบหรื อประโยชน์อนไม่เป็ นธรรมหรื อผิดจริ ยธรรม
                                                                     ั
กับผูใด แต่ตองตระหนักว่า vendors มีบทบาทสําคัญในการตัดสิ นความสําเร็ จหรื อล้มเหลวของมาตรฐาน
     ้      ้
หนึ่งๆ ทั้งนี้เพราะหาก vendors มองว่ามาตรฐานดังกล่าว ซับซ้อนเกินกว่าจะนําไปใช้ได้จริ ง หรื อไม่ได้
สอดคล้องกับความต้องการของผูใช้งาน หรื อเข้ากันไม่ได้ (incompatible) กับผลิตภัณฑ์ของตน ก็อาจเลือกที่
                           ้
จะไม่ adopt หรื อ implement มาตรฐานนั้นๆ ในผลิตภัณฑ์ของตน อันจะเป็ นการลดโอกาสที่มาตรฐาน
ดังกล่าวจะส่ งประโยชน์ต่อสถานพยาบาลและระบบสุ ขภาพโดยรวม นอกจากนี้ ต้องไม่ลืมว่า vendors เป็ นผู ้
ที่มีประสบการณ์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในโลกของความเป็ นจริ ง และเข้าใจเงื่อนไขทางการตลาด
(market conditions) ที่มีส่วนสําคัญต่อการกําหนดความเป็ นไปได้ของมาตรฐานที่พฒนาขึ้น health IT
                                                                           ั
vendors จึงเป็ น stakeholder กลุ่มหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามในการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ
        ในต่างประเทศ องค์กรที่ทาหน้าที่พฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ เช่น Health Level Seven
                               ํ        ั
International (HL7) หรื อองค์กรที่ทาหน้าที่ประสานความร่ วมมือเกี่ยวกับมาตรฐาน เช่น Health Information
                                   ํ
Technology Standard Panel (HITSP) ล้วนแล้วแต่ส่งเสริ มให้มีผแทน vendors เข้ามามีส่วนร่ วมในการ
                                                            ู้
พัฒนา (ร่ วมกับนักวิชาการและผูแทนของกลุ่ม stakeholders อื่นๆ) ทั้งสิ้ น10-11 แนวทางที่เหมาะสมจึงมิใช่
                              ้
การปิ ดโอกาส vendors ในกระบวนการพัฒนามาตรฐาน แต่เป็ นการตระหนักในความสําคัญของ vendors
การให้โอกาส vendors เข้ามามีบทบาทในกระบวนการพัฒนามาตรฐาน และการกําหนดกระบวนการกํากับ
ดูแลและการพัฒนามาตรฐานที่ป้องกันมิให้มีการเอื้อประโยชน์แก่ผใดผูหนึ่งโดยไม่เป็ นธรรม
                                                           ู้ ้
Myth 4: จะมีมาตรฐานสารสนเทศได้ ต้ องใช้ ซอฟต์ แวร์ ตวเดียวกัน
                                                    ั
        ผูปฏิบติงานในวงการเวชสารสนเทศในประเทศไทยมีความเข้าใจเช่นนี้ไม่นอย ว่าการแลกเปลี่ยน
          ้ ั                                                          ้
ข้อมูลสารสนเทศระหว่างกัน (เช่น จากสถานีอนามัยไปสถานพยาบาล หรื อจากสถานพยาบาลหนึ่งไปยังอีก
แห่งหนึ่ง) จําเป็ นจะต้องใช้ซอฟต์แวร์หรื อระบบสารสนเทศตัวเดียวกัน หรื อจาก vendor เดียวกัน
        ผูเ้ ขียนขอยกตัวอย่าง 2 กรณี ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการแลกเปลี่ยนข้อมูลสามารถเกิดขึ้นได้
แม้จะใช้ซอฟต์แวร์คนละตัว (หรื อแม้กระทังใช้ระบบปฏิบติการ หรื อฮาร์ดแวร์ที่มีสถาปั ตยกรรมที่แตกต่าง
                                       ่           ั
                                                                ่
กัน) ตัวอย่างที่เห็นได้ชดเจนคือ การท่องเว็บผ่าน browser ซึ่งแม้วาในฝั่ง client จะใช้ browser คนละตัว ก็จะ
                        ั
ได้ผลลัพธ์ที่เหมือนหรื อคล้ายคลึงกันมาก (เช่นเดียวกับการใช้ web server software คนละตัวกันในฝั่ง
server) และการรับ-ส่ ง e-mail ซึ่งไม่จาเป็ นที่ผรับและผูส่ง (หรื อผูรับคนเดียวกันที่เปิ ด e-mail ต่างเวลากัน)
                                      ํ         ู้      ้           ้
จะต้องใช้โปรแกรมเดียวกัน นี่เป็ นผลโดยตรงจากมาตรฐานข้อมูล (ในที่น้ ีคือ HTTP Protocol, POP3/IMAP
และ SMTP Protocol ตลอดจน TCP/IP)
        เช่นเดียวกัน hospital information system (HIS) คนละตัว ก็สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ หาก
                 ่
สามารถตกลงกันได้วาจะรับส่ งข้อมูลกันอย่างไร ในความเป็ นจริ งซึ่งมีตวเลือกของ HIS จํานวนมาก การ
                                                                   ั
กําหนดข้อตกลงและมาตรฐานที่ยอมรับร่ วมกันเป็ นแนวทางที่จะทําให้ HIS ที่หลากหลายสามารถเชื่อมต่อ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้เช่นเดียวกับ web browsing และ e-mail
        นอกจากนี้ บางท่านอาจมีความเข้าใจที่ถูกต้องแล้วว่า การใช้ซอฟต์แวร์คนละตัวจะสามารถ
                           ็
แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ แต่กมีความเชื่อว่า การใช้ซอฟต์แวร์เดียวกัน จะทําให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลเป็ นไป
อย่างราบรื่ นกว่าและควรมีการส่ งเสริ มให้สถานพยาบาลทัวประเทศใช้ซอฟต์แวร์สารสนเทศโรงพยาบาลตัว
                                                     ่
เดียวกัน ผูเ้ ขียนขอยกตัวอย่างมาตรฐาน Portable Document Format (PDF) ซึ่งเป็ นมาตรฐานที่สนับสนุนให้
มีการแลกเปลี่ยนเอกสารในรู ปแบบไฟล์สกุล PDF ที่ผอ่านอาจคุนเคยกันได้โดยง่าย แม้คนจํานวนไม่นอย
                                               ู้       ้                                ้
มักจะเข้าใจว่ามาตรฐานนี้เป็ นของ Adobe เนื่องจากผูใช้งานจํานวนมากใช้ Adobe Acrobat หรื อ Adobe
                                                  ้
Reader ในการเปิ ดไฟล์ดงกล่าว แต่ในความเป็ นจริ ง มาตรฐานนี้เป็ นมาตรฐานเปิ ด (open standard) ดังนั้น
                      ั
จึงอาจมีผอื่นที่สามารถพัฒนา PDF viewer ขึ้นได้โดยอิสระ และผูใช้งานก็สามารถเลือกใช้ PDF viewer ที่
         ู้                                                 ้
ตนต้องการได้เช่นกัน หากเราพิจารณาสถานการณ์สมมติที่มาตรฐานนี้เป็ นมาตรฐานปิ ดที่มี Adobe เป็ น
          ้                                                              ั          ่
เจ้าของ ผูท่ีจะเปิ ดไฟล์ PDF ได้ จะต้องใช้โปรแกรมของ Adobe เท่านั้น บริ ษท Adobe ก็ยอมผูกขาด
โปรแกรม PDF viewer ของตน (ซึ่ งอาจมีผลต่อการกําหนดราคาของโปรแกรมดังกล่าว) ผูใช้งานจึงขาด
                                                                            ้
อิสระที่จะเลือกใช้โปรแกรมที่ตนต้องการได้
                                                       ่
        สําหรับระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็ นที่ทราบกันดีวา โรงพยาบาลแต่ละแห่ง แม้จะเป็ น
โรงพยาบาลประเภทเดียวกัน สังกัดเดียวกัน ก็อาจมีลกษณะ ขั้นตอนการทํางาน หรื อความจําเป็ นเฉพาะด้าน
                                               ั
                  ่
ที่แตกต่างกัน ไม่วาจะเป็ นปัจจัยด้านองค์กร ปั จจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางการเงิน ปัจจัยด้านปริ มาณการ
ให้บริ การ ปั จจัยทางเทคนิคของระบบสารสนเทศ ปัจจัยด้านบุคลากร หรื อปัจจัยด้านกระบวนการทํางาน
(workflow) ปั จจัยเชิงบริ บทเหล่านี้ลวนแล้วแต่ส่งผลต่อการตัดสิ นใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลที่
                                     ้
เหมาะสมทั้งสิ้ น และเป็ นสาเหตุสาคัญที่การพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะที่ (local customizations) ยังเป็ นสิ่ งที่
                                ํ
จําเป็ นสําหรับโรงพยาบาลที่นาซอฟต์แวร์เหล่านี้มาใช้ การจะกําหนดให้โรงพยาบาลไม่กี่แห่ ง (เช่น ใน
                            ํ
อําเภอหรื อในจังหวัดเดียวกัน) ใช้ซอฟต์แวร์เดียวกัน อาจจะมีความเป็ นไปได้ในบางพื้นที่12 แต่คงจะเป็ นไป
ไม่ได้ที่จะกําหนดให้โรงพยาบาลทุกแห่ งทัวประเทศในสังกัดเดียวกันต้องใช้ซอฟต์แวร์ตวเดียวกัน แล้ว
                                       ่                                       ั
คาดหวังว่าจะตอบสนองความต้องการและตอบโจทย์ตามบริ บทของโรงพยาบาลเหล่านั้นได้อย่างเต็มที่ และ
ทําให้ผใช้งานมีความพึงพอใจในระดับที่ใกล้เคียงกัน13
       ู้
                   ่
        หากพินิจดูวา ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางสุ ขภาพ จะเกิดขึ้นอย่างแท้จริ งเมื่อ
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสถานพยาบาลทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชน (ภายใต้เงื่อนไขที่คุมครองความ
                                                                                    ้
ปลอดภัยและความลับของผูป่วย) ยิงเป็ นไปไม่ได้เลยที่จะบังคับให้สถานพยาบาลเอกชนใช้ซอฟต์แวร์
                      ้       ่
เดียวกันกับสถานพยาบาลภาครัฐ เป้ าหมายของการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ จึงควรมองที่
ความเข้ากันได้ (interoperability) ของข้อมูล มากกว่าความเหมือน (homogeneity) ของระบบสารสนเทศ13
        การกําหนดให้ใช้ซอฟต์แวร์เดียวกันนั้น นอกจากจะทําให้เกิดความได้เปรี ยบและอาจนําไปสู่การ
ผูกขาดของบริ ษทใดบริ ษทหนึ่ง ซึ่งอาจมีผลต่อราคาแล้ว ยังอาจทําให้บริ ษทนั้นมีแนวโน้มที่จะตอบสนอง
              ั       ั                                              ั
ต่อลูกค้าน้อยลง เพราะระดับของการตอบสนอง (responsiveness) ไม่ได้ทาให้เกิดเงื่อนไขทางการตลาดที่
                                                                ํ
แตกต่างไป ซึ่งจะเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่องได้ ตัวอย่างของปั ญหาที่เกิดจาก
การเลือกใช้ซอฟต์แวร์เดียวกันสําหรับสถานพยาบาลจํานวนมาก ที่มีการบันทึกปั ญหาทั้งเชิงนโยบายและ
เชิงเทคนิค และผลกระทบอย่างรุ นแรงที่มีต่อผูปฏิบติงานในพื้นที่ ได้แก่ การใช้ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ
                                           ้ ั
ห้องฉุกเฉินของสถานพยาบาลทัวรัฐ New South Wales ประเทศออสเตรเลีย14
                          ่
                                   ่ ่
        ทั้งนี้ ผูเ้ ขียนตระหนักดีวา ยิงมี vendor มากเท่าใด ก็จะทําให้กระบวนการพัฒนาและ adopt
มาตรฐานมีความซับซ้อนมากขึ้นเท่านั้น หากพินิจดูความเป็ นจริ งแล้ว ทางสายกลางที่เหมาะสมใน
ระดับประเทศ จึงน่าจะอยูระหว่าง 2 extremes นี้มากกว่า กล่าวคือ เน้นการพัฒนามาตรฐานเพื่อนําไปสู่การ
                       ่
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันไม่วาสถานพยาบาลแต่ละแห่งจะใช้ซอฟต์แวร์ค่ายใด โดยไม่ยดติดว่าจะต้อง
                              ่                                               ึ
เป็ นซอฟต์แวร์ใดซอฟต์แวร์หนึ่ง โดยในขณะเดียวกันก็เข้าใจว่าในบางพื้นที่ สภาพแวดล้อมอาจเอื้อให้
สามารถใช้ซอฟต์แวร์เดียวกันได้อย่างราบรื่ นและคุมค่า และก็เป็ นความพยายามที่ควรได้รับความชื่นชม
                                               ้
Myth 5A: เราควรพัฒนามาตรฐานของประเทศเราเองทีไม่ เหมือนกับประเทศอืน
                                            ่                    ่
Myth 5B: เราควรหยิบมาตรฐานของประเทศอืนมาใช้ เลยโดยไม่ ต้องพัฒนาใหม่
                                     ่
        อีกหนึ่งตัวอย่างของ 2 extremes ที่เกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศคือ มุมมอง 2 มุมมองที่
ตรงกันข้ามกันอย่างสิ้ นเชิง ซึ่งฝ่ ายหนึ่งมองว่า เราควรจะพัฒนามาตรฐานของประเทศเราเองที่ไม่เหมือนกับ
ประเทศอื่น (Myth 5A) ในขณะที่อีกฝ่ ายมองว่า เราควรหยิบมาตรฐานของประเทศอื่นมาใช้เลยโดยไม่ตอง
                                                                                         ้
พัฒนาใหม่ (Myth 5B)
        ผูที่ยดติดกับมุมมองใดมุมมองหนึ่งข้างต้น อาจลืมไปว่า เป้ าหมายสําคัญของการพัฒนามาตรฐาน
          ้ ึ
สารสนเทศ ไม่ใช่ “ความภูมิใจที่ไม่เหมือนใคร” (Myth 5A) หรื อ “ความสะดวกสบาย ไม่ตองออกแรง”
                                                                               ้
(Myth 5B) แต่เป็ นการตอบโจทย์ดานระบบสุ ขภาพและการให้บริ การทางสุ ขภาพของประเทศ และเนื่องจาก
                              ้
งานด้านมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพของประเทศไทยยังตามหลังประเทศอื่นๆ อยู4,13 เราจึงควรที่จะ
                                                                     ่
พิจารณาว่า มาตรฐานที่ประเทศอื่นพัฒนาขึ้นมาแล้ว จะมีประโยชน์กบบริ บทของประเทศไทยหรื อไม่15 การ
                                                            ั
                                                         ่
พิจารณาดังกล่าว ไม่ใช่การตัดสิ นใจเลือกใช้มาตรฐานที่มีอยูโดยอัตโนมัติ (blind adoption) โดยขาดการ
วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนและบริ บทของไทย แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่การพัฒนามาตรฐานของไทยขึ้นใหม่
ทุกกรณี เพราะนอกจากจะต้องสูญเสี ยทรัพยากรโดยไม่จาเป็ นในการ reinvent the wheel แล้ว ยังอาจเป็ น
                                                ํ
อุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับประเทศอื่น (เช่น กรณี นกท่องเที่ยวต่างชาติมารับการรักษาพยาบาลใน
                                                       ั
ไทย) ประเด็นนี้ยงมีความสําคัญขึ้นเป็ นทวีคูณหากประเทศไทยยังคงดําเนินนโยบายการเป็ นศูนย์กลางด้าน
                ิ่
สุ ขภาพ (Medical Hub) และการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ (Medical Tourism) ต่อไป
ด้วยเหตุน้ ี ทางสายกลางที่เหมาะสม จึงเป็ นการพิจารณาดูอย่างรอบคอบว่ามีมาตรฐานใดหรื อไม่ที่
              ั                                   ั                     ่
ประเทศอื่นได้พฒนาขึ้นแล้วและเหมาะสมที่จะนํามาใช้ท้งหมดหรื อบางส่ วน ไม่วาจะโดยไม่มีการแก้ไข
                     ็
หรื อโดยมีการปรับแก้กตาม และเมื่อพิจารณาแล้ว ก็อาจพบช่องว่าง (gap) ที่มาตรฐานของต่างประเทศไม่
สามารถจะตอบโจทย์ของไทยได้ดีเท่าที่ควร และควรมีการพัฒนามาตรฐานขึ้นเองในที่สุด
Myth 6: หากเราตัดสิ นใจใช้ มาตรฐาน HL7 แล้ ว เราไม่ ต้องสนใจมาตรฐานอืนๆ อีก
                                                                     ่
        ความเชื่อสุ ดท้ายที่ผเู ้ ขียนได้ยนอยูเ่ ป็ นระยะๆ คือ ความเข้าใจที่วา เนื่องจากมาตรฐาน HL7 ได้
                                          ิ                                  ่
ออกแบบมาสําหรับระบบสารสนเทศของสถานพยาบาลต่างๆ แล้ว จึงไม่มีความจําเป็ นที่จะต้องใช้มาตรฐาน
อื่นแต่อย่างใด ผูที่มีความเข้าใจเช่นนี้ จึงมักมองว่า การสนับสนุนให้มีการใช้มาตรฐานสารสนเทศทาง
                 ้
สุ ขภาพในโรงพยาบาลของไทย จะต้องส่ งเสริ มสนับสนุนให้มีการใช้ HL7 อย่างเต็มที่ โดยไม่ได้ให้
ความสําคัญกับมาตรฐานอื่นๆ เลย
        ในความเป็ นจริ ง มาตรฐาน HL7 มีความสําคัญและเป็ นประโยชน์อย่างมากต่อการออกแบบระบบ
สารสนเทศโรงพยาบาล เพื่อนําไปสู่ การแลกเปลี่ยนข้อมูล (health information exchange) และความเข้ากัน
ได้ (interoperability) ของระบบสารสนเทศระหว่างสถานพยาบาลในที่สุด หากแต่มาตรฐาน HL7 เป็ นเพียง
                                         ็
องค์ประกอบหนึ่ง แม้จะมีความสําคัญมาก แต่กไม่ใช่องค์ประกอบทั้งหมดของมาตรฐานที่จาเป็ นสําหรับ
                                                                              ํ
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล และไม่สามารถตอบโจทย์ท้ งหมดได้ ยังมีมาตรฐานอื่นๆ ที่จาเป็ นและอาจ
                                             ั                             ํ
ต้องนํามาใช้อีกมาก ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างมาตรฐานต่างๆ ที่รัฐบาลสหรัฐอเมริ กากําหนดให้เป็ น
มาตรฐานที่สาคัญและจําเป็ นสําหรับ electronic health records ของโรงพยาบาลและคลินิกทัวประเทศ13 ซึ่ง
           ํ                                                                       ่
มาตรฐานที่อาจจําเป็ นเหล่านี้ รวมถึง มาตรฐาน ICD-9-CM/ICD-10 สําหรับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล
และงานด้านเวชสถิติ; SNOMED CT สําหรับการบันทึกประวัติทางการแพทย์เพื่อประโยชน์ดานการ
                                                                              ้
รักษาพยาบาล; มาตรฐานสําหรับการระบุตวผูป่วย ผูให้บริ การ และสถานพยาบาล (unique identifiers);
                                   ั ้       ้
มาตรฐานด้านยา เช่น รหัสยา (National Drug Code), RxNorm, มาตรฐานเวชภัณฑ์; มาตรฐานด้านการตรวจ
ทางห้องปฏิบติการ เช่น LOINC; มาตรฐานทางรังสี วิทยา เช่น DICOM; มาตรฐาน IHE สําหรับการเลือกใช้
           ั
มาตรฐานที่เหมาะสมในสถานการณ์ต่างๆ (integration profiles); มาตรฐานพื้นฐานเช่น TCP/IP สําหรับการ
เชื่อมต่อเครื อข่าย หรื อมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการเข้ารหัสหรื อยืนยันตัวผูใช้งาน หรื อแม้กระทัง
                                                                            ้                   ่
มาตรฐานในกระบวนการพัฒนา การให้บริ การ และการบริ หารงานด้านสารสนเทศ ซึ่งความจําเป็ นในการใช้
มาตรฐานจํานวนมากเหล่านี้ เป็ นเพราะมาตรฐานแต่ละตัวมีขอบเขตและข้อจํากัดที่แตกต่างกัน สําหรับ
มาตรฐาน HL7 นั้น มีผทาการศึกษาถึงข้อจํากัดบางประการที่จาเป็ นจะต้องมีการพัฒนาต่อหรื อใช้มาตรฐาน
                    ู้ ํ                               ํ
อื่นควบคูไปด้วย16 ซึ่งตอกยํ้าว่า HL7 ไม่ใช่คาตอบสุ ดท้ายเพียงคําตอบเดียวสําหรับมาตรฐานสารสนเทศทาง
         ่                                  ํ
สุ ขภาพ
          กล่าวโดยสรุ ป ผูเ้ ขียนได้นาเสนอ myths หรื อความเข้าใจผิด 6 ข้อ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการพัฒนา
                                     ํ
มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ และได้พยายามชี้แจงทําความเข้าใจมุมมองที่ผเู ้ ขียนเชื่อว่าใกล้เคียงกับ
ความเป็ นจริ งมากกว่า รวมทั้งอ้างอิงตัวอย่างและประสบการณ์จากประเทศอื่นและบทความทางวิชาการที่
                               ั
อาจให้บทเรี ยนที่เป็ นประโยชน์กบประเทศไทย ผูเ้ ขียนหวังเป็ นอย่างยิงว่าบทความนี้จะช่วยปรับความเข้าใจ
                                                                   ่
ของทุกท่านให้ตรงกัน และนําไปสู่ การพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพของประเทศไทยอย่าง
เหมาะสมและสัมฤทธิ์ผลในที่สุด


เอกสารอ้างอิง
1. Kaushal R, Shojania KG, Bates DW. Effects of computerized physician order entry and
clinical decision support systems on medication safety: a systematic review. Arch Intern
Med. 2003 Jun 23;163(12):1409-16.
2. Chaudhry B, Wang J, Wu S, Maglione M, Mojica W, Roth E, Morton SC, Shekelle PG.
Systematic review: impact of health information technology on quality, efficiency, and costs
of medical care. Ann Intern Med. 2006 May 16;144(10):742-52.
3. Amarasingham R, Plantinga L, Diener-West M, Gaskin DJ, Powe NR. Clinical information
technologies and inpatient outcomes: a multiple hospital study. Arch Intern Med. 2009 Jan
26;169(2):108-14.
4. Kijsanayotin B, Kasitipradith N, Pannarunothai S. eHealth in Thailand: the current status.
Stud Health Technol Inform. 2010;160(Pt 1):376-80.
5. Kaelber DC, Bates DW. Health information exchange and patient safety. J Biomed Inform.
2007 Dec;40(6 Suppl):S40-5.
6. DeLone WH, McLean ER. Information systems success: the quest for the dependent
variable. Inform Syst Res. 1992 Mar;3(1):60-95.
7. Ash JS, Stavri PZ, Dykstra R, Fournier L. Implementing computerized physician order
entry: the importance of special people. Int J Med Inform. 2003 Mar;69(2-3):235-50.
8. Rogers EM. Diffusion of innovations. 5th ed. New York: Free Press; 2003. 551 p.
9. Gladwell M. The tipping point: how little things can make a big difference. New York:
Little Brown; 2000. 304 p.
10. HL7 - Meet the Board of Directors [Internet]. Ann Arbor (MI): Health Level Seven
International. c2007-2011 [cited 2011 Jul 2]. Available from:
http://www.hl7.org/about/hl7board.cfm
11. Membership and Participation in HITSP [Internet]. New York: American National
Standards Institute. c2009 [cited 2011 Jul 2]. Available from:
http://www.hitsp.org/membership.aspx
12. บุญชัย กิจสนาโยธิ น, มัลลิกา สงเคราะห์, ชัยพร สุ รเตมียกล, สุ วิทย์ กิริยา และนิ พนธ์ อุปมานรเศรษฐ์.
                                                           ์ุ
One province, one software. นําเสนอใน: Health Informatics: From Standards to Practice. Thai

Medical Informatics Association Annual Conference 2010. 10 พฤศจิกายน 2553.

13. นวนรรน ธี ระอัมพรพันธุ ์. Electronic Health Records: “อเมริ กาเข้มแข็ง” สอนอะไรไทย? ใน: Health
Informatics: From Standards to Practice. Thai Medical Informatics Association Annual
Conference 2010. Available from: http://www.slideshare.net/nawanan/electronic-health-
records-what-does-hitech-act-teach-thailand
14. Patrick J. A Study of a Health Enterprise Information System [Internet]. New South
Wales: University of Sydney. 2011 Mar 4 [cited 2011 Jul 2]. Available from:
http://sydney.edu.au/engineering/it/~hitru/index.php?option=com_content&task=view&id=9
1&Itemid=146
15. Theera-Ampornpunt N. Medical informatics: a look from USA to Thailand. In:
Ramathibodi's Fourth Decade: Best Innovation to Daily Practice; 2009 Feb 10-13;
Nonthaburi, Thailand. Bangkok (Thailand): Mahidol University, Faculty of Medicine
Ramathibodi Hospital; 2009. Available from: http://www.slideshare.net/nawanan/medical-
informatics-a-look-from-usa-to-thailand-paper
16. Flores AE, Win KT. Analyzing the key variables in the adoption process of HL7. Stud
Health Technol Inform. 2007;129(Pt 1):444-8.

Más contenido relacionado

Más de Nawanan Theera-Ampornpunt

Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Más de Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
 
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
 
Cybersecurity (November 12, 2021)
Cybersecurity (November 12, 2021)Cybersecurity (November 12, 2021)
Cybersecurity (November 12, 2021)
 
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
 

Myths and Truths on Health Information Standards

  • 1. ตํานานความเชื่อและข้ อเท็จจริงเกียวกับมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ ่ Myths and Truths on Health Information Standards นายแพทย์ นวนรรน ธี ระอัมพรพันธุ์ ฝ่ ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิ บดี มหาวิทยาลัยมหิ ดล การพัฒนางานด้านมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพนั้น เป็ นภารกิจที่มีความซับซ้อนเป็ นอย่างมาก เพราะโดยธรรมชาติของข้อมูลสารสนเทศทางสุ ขภาพที่มีความหลากหลาย หน่วยงานต่างๆ ที่เป็ นโครงสร้าง ็ พื้นฐานของระบบสารสนเทศระดับชาติกมีความพร้อมและทรัพยากรแตกต่างกัน นอกจากนี้ การพัฒนา มาตรฐานสารสนเทศจําเป็ นจะต้องอาศัยความร่ วมมือจากทุกภาคส่วน และต้องอาศัยการวางแผน การกํากับ ดูแล การวิจยและพัฒนา การเจรจาหาข้อสรุ ป กระบวนการตัดสิ นใจ การนํามาตรฐานไปใช้จริ ง และการ ั ประเมินผล ทุกขั้นตอนใช้เวลาและทรัพยากรเป็ นอย่างมาก บ่อยครั้ง ทิศทางในการพัฒนาก็อาจขาดความ ชัดเจนและอาจไม่สมฤทธิ์ผลตามที่วางแผนไว้ ส่ งผลเสี ยต่อโอกาสการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศ ั โดยรวมในที่สุด บางครั้ง ปั ญหาในกระบวนการพัฒนามาตรฐาน เกิดจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของ ผูเ้ กี่ยวข้อง และขาดความพยายามที่จะแก้ไขความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเหล่านี้ ด้วยเหตุน้ ี การทําความเข้าใจที่ ถูกต้องตั้งแต่แรกเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ จึงมีความสําคัญอย่างยิงต่อความสําเร็ จ ่ ของภารกิจนี้ ซึ่งจะส่ งผลดีต่อระบบสุ ขภาพของประเทศต่อไป ในแวดวงมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ มีความเข้าใจผิดบางประการที่มกได้ยนกันบ่อยๆ ซึ่ง ั ิ ผูเ้ ขียนขอเรี ยกว่าเป็ น “ตํานานความเชื่อ” (Myths) ที่หลายท่านอาจ “เชื่อ” หรื อเห็นเช่นนั้น โดยปราศจากข้อ พิสูจน์ และบทความนี้มีเจตนาที่จะสะกิดเตือนท่านที่หลงเชื่อ “ตํานาน” เหล่านี้ โดยเสนออีกหนึ่งมุมมองที่ ในทัศนคติของผูเ้ ขียน ใกล้เคียงกับความจริ ง (Truths) มากกว่า โดยจะพยายามอธิบายเหตุผล และอ้างอิง หลักฐานทางวิชาการหรื อยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริ งเท่าที่ทาได้ ํ Myth 1: ไม่ จําเป็ นต้ องมีมาตรฐานสารสนเทศก็ให้ บริการผู้ป่วยได้ การพัฒนามาตรฐานจึงไม่ จําเป็ น ท่านผูอ่านลองจินตนาการถึงสถานการณ์ดงต่อไปนี้ ้ ั ่ ่ ่ - ท่านขับรถไปทํางาน แล้วเมื่อผ่านสี่ แยกไฟแดงที่มีการจราจรคับคัง ท่านไม่สามารถมันใจได้วา ผู ้ ขับขี่รถคันอื่นจะแปลสัญญาณไฟสี แดงว่าเป็ นสัญญาณให้รถหยุดเช่นเดียวกับท่านหรื อไม่ (หรื อแย่ ไปกว่านั้น ไม่มีสญญาณไฟโดยสิ้ นเชิง) ั
  • 2. - หากท่านจะทําธุรกรรมกับทางธนาคาร ธนาคารไม่สามารถจะตรวจสอบยืนยันตัวตนของท่านได้ อย่างมันใจ เพราะทางราชการไม่ได้ออกบัตรประชาชนและเลขประจําตัวประชาชนให้ท่าน ่ - ท่านไม่สามารถติดต่อสื่ อสารทางโทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ หรื อทาง e-mail ได้ เพราะไม่มีการ กําหนดมาตรฐานทางเทคนิคที่จาเป็ นสําหรับเทคโนโลยีน้ นๆ ํ ั ตัวอย่างสถานการณ์เหล่านี้ แสดงให้เห็นว่า มาตรฐานนั้น เข้ามามีบทบาทในชีวตประจําวันของเรา ิ เป็ นอย่างมาก จริ งอยูที่ในอดีตกาล การที่เราไม่มีมาตรฐานเหล่านี้ อาจไม่ได้ส่งผลกระทบกับการดําเนินชีวิต ่ นัก แต่ในปั จจุบนที่เรามีประชากรจํานวนมาก การดําเนินชีวิตมีความซับซ้อนขึ้นเรื่ อยๆ และจําเป็ นจะต้อง ั ่ อาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ อยูตลอดเวลา มาตรฐานยิงมีความสําคัญเพิ่มมากขึ้น ่ ในทางการแพทย์และสาธารณสุ ข มาตรฐานที่ทุกท่านคงคุนเคย คือ มาตรฐานในการให้บริ การ ซึ่ง ้ เกี่ยวข้องกับมาตรฐานวิชาชีพ ความคาดหวังของผูรับบริ การ และกระบวนการพัฒนาคุณภาพ และเป็ นที่มา ้ ของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Administration) ซึ่งมีความสําคัญต่อคุณภาพของการ ให้บริ การต่อผูป่วย มาตรฐาน HA เป็ นตัวสนับสนุน (facilitator) ให้โรงพยาบาลต่างๆ หันมาให้ความสําคัญ ้ กับกระบวนการพัฒนาคุณภาพ หากไม่มีมาตรฐาน HA คุณภาพการให้บริ การของแต่ละโรงพยาบาลก็จะมี ความแตกต่างกันเป็ นอย่างมาก (large variations) ซึ่งจะส่ งผลเสี ยต่อผูป่วยโดยรวมได้ ้ สําหรับประเทศไทย เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในกระบวนการ รักษาพยาบาล มีงานวิจยในต่างประเทศที่พบว่า การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในกระบวนการ ั รักษาพยาบาล ส่ งผลดีต่อคุณภาพการรักษาพยาบาล1-3 แต่ในประเทศไทย อุปสรรคที่สาคัญประการหนึ่งต่อ ํ การพัฒนางานด้านเวชสารสนเทศของประเทศ คือการขาดข้อตกลงที่เป็ นที่ยอมรับเกี่ยวกับมาตรฐาน สารสนเทศที่ควรนํามาใช้4 แม้วาเราจะสามารถให้บริ การผูป่วยได้ดงเช่นในปัจจุบนทั้งที่ไม่มีขอสรุ ปเรื่ อง ่ ้ ั ั ้ มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพที่ชดเจน แต่การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้โดยปราศจากมาตรฐานที่ ั เหมาะสมก็อาจทําให้เกิดความแตกต่างในคุณภาพการให้บริ การได้ ทั้งยังเป็ นอุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยน ข้อมูลทางสุ ขภาพ (health information exchange) เพื่อความต่อเนื่องในการรักษา (continuity of care) ระหว่างสถานพยาบาล ซึ่งมีความสําคัญต่อคุณภาพในการรักษาพยาบาลและความปลอดภัยของผูป่วย ้ (patient safety)5 จึงถือเป็ น “โอกาสพัฒนา” ที่มีความสําคัญยิงต่อคุณภาพชีวิตของผูป่วยโดยรวม ่ ้ ด้วยเหตุน้ ี มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ จึงเป็ นสิ่ งที่มีความสําคัญต่อการนําเทคโนโลยี สารสนเทศไปใช้อย่างกว้างขวางในสถานพยาบาลทัวประเทศ ซึ่งเป็ นองค์ประกอบสําคัญของการพัฒนา ่ คุณภาพการรักษาพยาบาลโดยรวม การปฏิเสธความสําคัญของมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ ท่ามกลาง
  • 3. บริ บทของการรักษาพยาบาลในศตวรรษที่ 21 จึงเป็ นอันตรายทั้งต่อตัวผูป่วยเอง และต่อการพัฒนาคุณภาพ ้ ่ อย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement) และความอยูรอดของสถานพยาบาล Myth 2: การพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ เป็ นงานของนักไอที ่ เป็ นความจริ งที่วา บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญทางเทคนิคด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ มีความสําคัญยิงต่อการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ แต่ผเู ้ ชี่ยวชาญด้านนี้ เป็ นเพียง ่ ส่ วนประกอบหนึ่งที่มีผลต่อความสําเร็ จของการพัฒนามาตรฐานเท่านั้น เพราะความสําเร็ จที่แท้จริ งของ มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ (และเทคโนโลยีสารสนเทศ) ไม่ใช่การมีมาตรฐาน (existence of standards) โดยตัวของมันเอง แต่คือ การยอมรับของผูใช้งาน (user acceptance) การนํามาตรฐานไปใช้อย่าง ้ กว้างขวาง (widespread adoption) และผลดีต่อการให้บริ การ (improved quality of care)6 ดังนั้น จึงมี ความสําคัญเป็ นอย่างมากที่กระบวนการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศ (และเทคโนโลยีสารสนเทศ) จะต้องมี คนกลุ่มพิเศษ หรื อ “Special People”7 กล่าวคือ ต้องมีผที่มีความรู ้ความเข้าใจกระบวนการรักษาพยาบาล ู้ ความคาดหวัง และมุมมองของผูให้บริ การ นอกจากนี้ยงควรมีผที่เป็ นตัวแทนของผูรับบริ การมามีส่วนร่ วม ้ ั ู้ ้ ด้วย และการสนับสนุนส่ งเสริ มให้มาตรฐานดังกล่าวมีการนําไปใช้อย่างกว้างขวางก็จาเป็ นจะต้องมีการ ํ วางแผนยุทธศาสตร์และนําทฤษฎีดานการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Adoption) มาปรับใช้ดวย จึงจะ ้ ้ ถึงจุด “Tipping Point” ที่จะทําให้เกิดการยอมรับในวงกว้าง8-9 ไม่เช่นนั้น โอกาสที่มาตรฐานที่จดทําขึ้นจะ ั นําไปใช้ได้จริ ง ก็มีต่า ทําให้เสี ยเวลา ทรัพยากร และแรงงานในการพัฒนาโดยใช่เหตุ ํ Myth 3: องค์ กรเอกชนและบริษัททีจําหน่ ายหรือให้ บริการด้ านสารสนเทศ (vendors) ไม่ เกียวข้ องกับ ่ ่ กระบวนการพัฒนามาตรฐาน คนจํานวนไม่นอยมักมองว่า หาก vendors เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการพัฒนามาตรฐาน จะ ้ พยายามที่จะต่อต้านการพัฒนามาตรฐาน หรื ออาจพยายามชี้นาทิศทางการพัฒนามาตรฐานในลักษณะที่ให้ ํ ั ประโยชน์กบตนเป็ นหลัก จึงอาจสนับสนุนกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ปราศจากผูแทนของ vendors มา ้ มีส่วนร่ วม ซึ่งแม้วาในความเป็ นจริ ง ผลประโยชน์ทบซ้อน (conflict of interest) จะเป็ นสิ่ งที่ควรให้ ่ ั ความสําคัญและควบคุมไม่ให้เกิดความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบหรื อประโยชน์อนไม่เป็ นธรรมหรื อผิดจริ ยธรรม ั กับผูใด แต่ตองตระหนักว่า vendors มีบทบาทสําคัญในการตัดสิ นความสําเร็ จหรื อล้มเหลวของมาตรฐาน ้ ้ หนึ่งๆ ทั้งนี้เพราะหาก vendors มองว่ามาตรฐานดังกล่าว ซับซ้อนเกินกว่าจะนําไปใช้ได้จริ ง หรื อไม่ได้ สอดคล้องกับความต้องการของผูใช้งาน หรื อเข้ากันไม่ได้ (incompatible) กับผลิตภัณฑ์ของตน ก็อาจเลือกที่ ้ จะไม่ adopt หรื อ implement มาตรฐานนั้นๆ ในผลิตภัณฑ์ของตน อันจะเป็ นการลดโอกาสที่มาตรฐาน ดังกล่าวจะส่ งประโยชน์ต่อสถานพยาบาลและระบบสุ ขภาพโดยรวม นอกจากนี้ ต้องไม่ลืมว่า vendors เป็ นผู ้
  • 4. ที่มีประสบการณ์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในโลกของความเป็ นจริ ง และเข้าใจเงื่อนไขทางการตลาด (market conditions) ที่มีส่วนสําคัญต่อการกําหนดความเป็ นไปได้ของมาตรฐานที่พฒนาขึ้น health IT ั vendors จึงเป็ น stakeholder กลุ่มหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามในการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ ในต่างประเทศ องค์กรที่ทาหน้าที่พฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ เช่น Health Level Seven ํ ั International (HL7) หรื อองค์กรที่ทาหน้าที่ประสานความร่ วมมือเกี่ยวกับมาตรฐาน เช่น Health Information ํ Technology Standard Panel (HITSP) ล้วนแล้วแต่ส่งเสริ มให้มีผแทน vendors เข้ามามีส่วนร่ วมในการ ู้ พัฒนา (ร่ วมกับนักวิชาการและผูแทนของกลุ่ม stakeholders อื่นๆ) ทั้งสิ้ น10-11 แนวทางที่เหมาะสมจึงมิใช่ ้ การปิ ดโอกาส vendors ในกระบวนการพัฒนามาตรฐาน แต่เป็ นการตระหนักในความสําคัญของ vendors การให้โอกาส vendors เข้ามามีบทบาทในกระบวนการพัฒนามาตรฐาน และการกําหนดกระบวนการกํากับ ดูแลและการพัฒนามาตรฐานที่ป้องกันมิให้มีการเอื้อประโยชน์แก่ผใดผูหนึ่งโดยไม่เป็ นธรรม ู้ ้ Myth 4: จะมีมาตรฐานสารสนเทศได้ ต้ องใช้ ซอฟต์ แวร์ ตวเดียวกัน ั ผูปฏิบติงานในวงการเวชสารสนเทศในประเทศไทยมีความเข้าใจเช่นนี้ไม่นอย ว่าการแลกเปลี่ยน ้ ั ้ ข้อมูลสารสนเทศระหว่างกัน (เช่น จากสถานีอนามัยไปสถานพยาบาล หรื อจากสถานพยาบาลหนึ่งไปยังอีก แห่งหนึ่ง) จําเป็ นจะต้องใช้ซอฟต์แวร์หรื อระบบสารสนเทศตัวเดียวกัน หรื อจาก vendor เดียวกัน ผูเ้ ขียนขอยกตัวอย่าง 2 กรณี ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการแลกเปลี่ยนข้อมูลสามารถเกิดขึ้นได้ แม้จะใช้ซอฟต์แวร์คนละตัว (หรื อแม้กระทังใช้ระบบปฏิบติการ หรื อฮาร์ดแวร์ที่มีสถาปั ตยกรรมที่แตกต่าง ่ ั ่ กัน) ตัวอย่างที่เห็นได้ชดเจนคือ การท่องเว็บผ่าน browser ซึ่งแม้วาในฝั่ง client จะใช้ browser คนละตัว ก็จะ ั ได้ผลลัพธ์ที่เหมือนหรื อคล้ายคลึงกันมาก (เช่นเดียวกับการใช้ web server software คนละตัวกันในฝั่ง server) และการรับ-ส่ ง e-mail ซึ่งไม่จาเป็ นที่ผรับและผูส่ง (หรื อผูรับคนเดียวกันที่เปิ ด e-mail ต่างเวลากัน) ํ ู้ ้ ้ จะต้องใช้โปรแกรมเดียวกัน นี่เป็ นผลโดยตรงจากมาตรฐานข้อมูล (ในที่น้ ีคือ HTTP Protocol, POP3/IMAP และ SMTP Protocol ตลอดจน TCP/IP) เช่นเดียวกัน hospital information system (HIS) คนละตัว ก็สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ หาก ่ สามารถตกลงกันได้วาจะรับส่ งข้อมูลกันอย่างไร ในความเป็ นจริ งซึ่งมีตวเลือกของ HIS จํานวนมาก การ ั กําหนดข้อตกลงและมาตรฐานที่ยอมรับร่ วมกันเป็ นแนวทางที่จะทําให้ HIS ที่หลากหลายสามารถเชื่อมต่อ และแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้เช่นเดียวกับ web browsing และ e-mail นอกจากนี้ บางท่านอาจมีความเข้าใจที่ถูกต้องแล้วว่า การใช้ซอฟต์แวร์คนละตัวจะสามารถ ็ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ แต่กมีความเชื่อว่า การใช้ซอฟต์แวร์เดียวกัน จะทําให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลเป็ นไป อย่างราบรื่ นกว่าและควรมีการส่ งเสริ มให้สถานพยาบาลทัวประเทศใช้ซอฟต์แวร์สารสนเทศโรงพยาบาลตัว ่
  • 5. เดียวกัน ผูเ้ ขียนขอยกตัวอย่างมาตรฐาน Portable Document Format (PDF) ซึ่งเป็ นมาตรฐานที่สนับสนุนให้ มีการแลกเปลี่ยนเอกสารในรู ปแบบไฟล์สกุล PDF ที่ผอ่านอาจคุนเคยกันได้โดยง่าย แม้คนจํานวนไม่นอย ู้ ้ ้ มักจะเข้าใจว่ามาตรฐานนี้เป็ นของ Adobe เนื่องจากผูใช้งานจํานวนมากใช้ Adobe Acrobat หรื อ Adobe ้ Reader ในการเปิ ดไฟล์ดงกล่าว แต่ในความเป็ นจริ ง มาตรฐานนี้เป็ นมาตรฐานเปิ ด (open standard) ดังนั้น ั จึงอาจมีผอื่นที่สามารถพัฒนา PDF viewer ขึ้นได้โดยอิสระ และผูใช้งานก็สามารถเลือกใช้ PDF viewer ที่ ู้ ้ ตนต้องการได้เช่นกัน หากเราพิจารณาสถานการณ์สมมติที่มาตรฐานนี้เป็ นมาตรฐานปิ ดที่มี Adobe เป็ น ้ ั ่ เจ้าของ ผูท่ีจะเปิ ดไฟล์ PDF ได้ จะต้องใช้โปรแกรมของ Adobe เท่านั้น บริ ษท Adobe ก็ยอมผูกขาด โปรแกรม PDF viewer ของตน (ซึ่ งอาจมีผลต่อการกําหนดราคาของโปรแกรมดังกล่าว) ผูใช้งานจึงขาด ้ อิสระที่จะเลือกใช้โปรแกรมที่ตนต้องการได้ ่ สําหรับระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็ นที่ทราบกันดีวา โรงพยาบาลแต่ละแห่ง แม้จะเป็ น โรงพยาบาลประเภทเดียวกัน สังกัดเดียวกัน ก็อาจมีลกษณะ ขั้นตอนการทํางาน หรื อความจําเป็ นเฉพาะด้าน ั ่ ที่แตกต่างกัน ไม่วาจะเป็ นปัจจัยด้านองค์กร ปั จจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางการเงิน ปัจจัยด้านปริ มาณการ ให้บริ การ ปั จจัยทางเทคนิคของระบบสารสนเทศ ปัจจัยด้านบุคลากร หรื อปัจจัยด้านกระบวนการทํางาน (workflow) ปั จจัยเชิงบริ บทเหล่านี้ลวนแล้วแต่ส่งผลต่อการตัดสิ นใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลที่ ้ เหมาะสมทั้งสิ้ น และเป็ นสาเหตุสาคัญที่การพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะที่ (local customizations) ยังเป็ นสิ่ งที่ ํ จําเป็ นสําหรับโรงพยาบาลที่นาซอฟต์แวร์เหล่านี้มาใช้ การจะกําหนดให้โรงพยาบาลไม่กี่แห่ ง (เช่น ใน ํ อําเภอหรื อในจังหวัดเดียวกัน) ใช้ซอฟต์แวร์เดียวกัน อาจจะมีความเป็ นไปได้ในบางพื้นที่12 แต่คงจะเป็ นไป ไม่ได้ที่จะกําหนดให้โรงพยาบาลทุกแห่ งทัวประเทศในสังกัดเดียวกันต้องใช้ซอฟต์แวร์ตวเดียวกัน แล้ว ่ ั คาดหวังว่าจะตอบสนองความต้องการและตอบโจทย์ตามบริ บทของโรงพยาบาลเหล่านั้นได้อย่างเต็มที่ และ ทําให้ผใช้งานมีความพึงพอใจในระดับที่ใกล้เคียงกัน13 ู้ ่ หากพินิจดูวา ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางสุ ขภาพ จะเกิดขึ้นอย่างแท้จริ งเมื่อ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสถานพยาบาลทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชน (ภายใต้เงื่อนไขที่คุมครองความ ้ ปลอดภัยและความลับของผูป่วย) ยิงเป็ นไปไม่ได้เลยที่จะบังคับให้สถานพยาบาลเอกชนใช้ซอฟต์แวร์ ้ ่ เดียวกันกับสถานพยาบาลภาครัฐ เป้ าหมายของการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ จึงควรมองที่ ความเข้ากันได้ (interoperability) ของข้อมูล มากกว่าความเหมือน (homogeneity) ของระบบสารสนเทศ13 การกําหนดให้ใช้ซอฟต์แวร์เดียวกันนั้น นอกจากจะทําให้เกิดความได้เปรี ยบและอาจนําไปสู่การ ผูกขาดของบริ ษทใดบริ ษทหนึ่ง ซึ่งอาจมีผลต่อราคาแล้ว ยังอาจทําให้บริ ษทนั้นมีแนวโน้มที่จะตอบสนอง ั ั ั ต่อลูกค้าน้อยลง เพราะระดับของการตอบสนอง (responsiveness) ไม่ได้ทาให้เกิดเงื่อนไขทางการตลาดที่ ํ
  • 6. แตกต่างไป ซึ่งจะเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่องได้ ตัวอย่างของปั ญหาที่เกิดจาก การเลือกใช้ซอฟต์แวร์เดียวกันสําหรับสถานพยาบาลจํานวนมาก ที่มีการบันทึกปั ญหาทั้งเชิงนโยบายและ เชิงเทคนิค และผลกระทบอย่างรุ นแรงที่มีต่อผูปฏิบติงานในพื้นที่ ได้แก่ การใช้ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ ้ ั ห้องฉุกเฉินของสถานพยาบาลทัวรัฐ New South Wales ประเทศออสเตรเลีย14 ่ ่ ่ ทั้งนี้ ผูเ้ ขียนตระหนักดีวา ยิงมี vendor มากเท่าใด ก็จะทําให้กระบวนการพัฒนาและ adopt มาตรฐานมีความซับซ้อนมากขึ้นเท่านั้น หากพินิจดูความเป็ นจริ งแล้ว ทางสายกลางที่เหมาะสมใน ระดับประเทศ จึงน่าจะอยูระหว่าง 2 extremes นี้มากกว่า กล่าวคือ เน้นการพัฒนามาตรฐานเพื่อนําไปสู่การ ่ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันไม่วาสถานพยาบาลแต่ละแห่งจะใช้ซอฟต์แวร์ค่ายใด โดยไม่ยดติดว่าจะต้อง ่ ึ เป็ นซอฟต์แวร์ใดซอฟต์แวร์หนึ่ง โดยในขณะเดียวกันก็เข้าใจว่าในบางพื้นที่ สภาพแวดล้อมอาจเอื้อให้ สามารถใช้ซอฟต์แวร์เดียวกันได้อย่างราบรื่ นและคุมค่า และก็เป็ นความพยายามที่ควรได้รับความชื่นชม ้ Myth 5A: เราควรพัฒนามาตรฐานของประเทศเราเองทีไม่ เหมือนกับประเทศอืน ่ ่ Myth 5B: เราควรหยิบมาตรฐานของประเทศอืนมาใช้ เลยโดยไม่ ต้องพัฒนาใหม่ ่ อีกหนึ่งตัวอย่างของ 2 extremes ที่เกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานสารสนเทศคือ มุมมอง 2 มุมมองที่ ตรงกันข้ามกันอย่างสิ้ นเชิง ซึ่งฝ่ ายหนึ่งมองว่า เราควรจะพัฒนามาตรฐานของประเทศเราเองที่ไม่เหมือนกับ ประเทศอื่น (Myth 5A) ในขณะที่อีกฝ่ ายมองว่า เราควรหยิบมาตรฐานของประเทศอื่นมาใช้เลยโดยไม่ตอง ้ พัฒนาใหม่ (Myth 5B) ผูที่ยดติดกับมุมมองใดมุมมองหนึ่งข้างต้น อาจลืมไปว่า เป้ าหมายสําคัญของการพัฒนามาตรฐาน ้ ึ สารสนเทศ ไม่ใช่ “ความภูมิใจที่ไม่เหมือนใคร” (Myth 5A) หรื อ “ความสะดวกสบาย ไม่ตองออกแรง” ้ (Myth 5B) แต่เป็ นการตอบโจทย์ดานระบบสุ ขภาพและการให้บริ การทางสุ ขภาพของประเทศ และเนื่องจาก ้ งานด้านมาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพของประเทศไทยยังตามหลังประเทศอื่นๆ อยู4,13 เราจึงควรที่จะ ่ พิจารณาว่า มาตรฐานที่ประเทศอื่นพัฒนาขึ้นมาแล้ว จะมีประโยชน์กบบริ บทของประเทศไทยหรื อไม่15 การ ั ่ พิจารณาดังกล่าว ไม่ใช่การตัดสิ นใจเลือกใช้มาตรฐานที่มีอยูโดยอัตโนมัติ (blind adoption) โดยขาดการ วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนและบริ บทของไทย แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่การพัฒนามาตรฐานของไทยขึ้นใหม่ ทุกกรณี เพราะนอกจากจะต้องสูญเสี ยทรัพยากรโดยไม่จาเป็ นในการ reinvent the wheel แล้ว ยังอาจเป็ น ํ อุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับประเทศอื่น (เช่น กรณี นกท่องเที่ยวต่างชาติมารับการรักษาพยาบาลใน ั ไทย) ประเด็นนี้ยงมีความสําคัญขึ้นเป็ นทวีคูณหากประเทศไทยยังคงดําเนินนโยบายการเป็ นศูนย์กลางด้าน ิ่ สุ ขภาพ (Medical Hub) และการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ (Medical Tourism) ต่อไป
  • 7. ด้วยเหตุน้ ี ทางสายกลางที่เหมาะสม จึงเป็ นการพิจารณาดูอย่างรอบคอบว่ามีมาตรฐานใดหรื อไม่ที่ ั ั ่ ประเทศอื่นได้พฒนาขึ้นแล้วและเหมาะสมที่จะนํามาใช้ท้งหมดหรื อบางส่ วน ไม่วาจะโดยไม่มีการแก้ไข ็ หรื อโดยมีการปรับแก้กตาม และเมื่อพิจารณาแล้ว ก็อาจพบช่องว่าง (gap) ที่มาตรฐานของต่างประเทศไม่ สามารถจะตอบโจทย์ของไทยได้ดีเท่าที่ควร และควรมีการพัฒนามาตรฐานขึ้นเองในที่สุด Myth 6: หากเราตัดสิ นใจใช้ มาตรฐาน HL7 แล้ ว เราไม่ ต้องสนใจมาตรฐานอืนๆ อีก ่ ความเชื่อสุ ดท้ายที่ผเู ้ ขียนได้ยนอยูเ่ ป็ นระยะๆ คือ ความเข้าใจที่วา เนื่องจากมาตรฐาน HL7 ได้ ิ ่ ออกแบบมาสําหรับระบบสารสนเทศของสถานพยาบาลต่างๆ แล้ว จึงไม่มีความจําเป็ นที่จะต้องใช้มาตรฐาน อื่นแต่อย่างใด ผูที่มีความเข้าใจเช่นนี้ จึงมักมองว่า การสนับสนุนให้มีการใช้มาตรฐานสารสนเทศทาง ้ สุ ขภาพในโรงพยาบาลของไทย จะต้องส่ งเสริ มสนับสนุนให้มีการใช้ HL7 อย่างเต็มที่ โดยไม่ได้ให้ ความสําคัญกับมาตรฐานอื่นๆ เลย ในความเป็ นจริ ง มาตรฐาน HL7 มีความสําคัญและเป็ นประโยชน์อย่างมากต่อการออกแบบระบบ สารสนเทศโรงพยาบาล เพื่อนําไปสู่ การแลกเปลี่ยนข้อมูล (health information exchange) และความเข้ากัน ได้ (interoperability) ของระบบสารสนเทศระหว่างสถานพยาบาลในที่สุด หากแต่มาตรฐาน HL7 เป็ นเพียง ็ องค์ประกอบหนึ่ง แม้จะมีความสําคัญมาก แต่กไม่ใช่องค์ประกอบทั้งหมดของมาตรฐานที่จาเป็ นสําหรับ ํ ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล และไม่สามารถตอบโจทย์ท้ งหมดได้ ยังมีมาตรฐานอื่นๆ ที่จาเป็ นและอาจ ั ํ ต้องนํามาใช้อีกมาก ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างมาตรฐานต่างๆ ที่รัฐบาลสหรัฐอเมริ กากําหนดให้เป็ น มาตรฐานที่สาคัญและจําเป็ นสําหรับ electronic health records ของโรงพยาบาลและคลินิกทัวประเทศ13 ซึ่ง ํ ่ มาตรฐานที่อาจจําเป็ นเหล่านี้ รวมถึง มาตรฐาน ICD-9-CM/ICD-10 สําหรับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล และงานด้านเวชสถิติ; SNOMED CT สําหรับการบันทึกประวัติทางการแพทย์เพื่อประโยชน์ดานการ ้ รักษาพยาบาล; มาตรฐานสําหรับการระบุตวผูป่วย ผูให้บริ การ และสถานพยาบาล (unique identifiers); ั ้ ้ มาตรฐานด้านยา เช่น รหัสยา (National Drug Code), RxNorm, มาตรฐานเวชภัณฑ์; มาตรฐานด้านการตรวจ ทางห้องปฏิบติการ เช่น LOINC; มาตรฐานทางรังสี วิทยา เช่น DICOM; มาตรฐาน IHE สําหรับการเลือกใช้ ั มาตรฐานที่เหมาะสมในสถานการณ์ต่างๆ (integration profiles); มาตรฐานพื้นฐานเช่น TCP/IP สําหรับการ เชื่อมต่อเครื อข่าย หรื อมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการเข้ารหัสหรื อยืนยันตัวผูใช้งาน หรื อแม้กระทัง ้ ่ มาตรฐานในกระบวนการพัฒนา การให้บริ การ และการบริ หารงานด้านสารสนเทศ ซึ่งความจําเป็ นในการใช้ มาตรฐานจํานวนมากเหล่านี้ เป็ นเพราะมาตรฐานแต่ละตัวมีขอบเขตและข้อจํากัดที่แตกต่างกัน สําหรับ มาตรฐาน HL7 นั้น มีผทาการศึกษาถึงข้อจํากัดบางประการที่จาเป็ นจะต้องมีการพัฒนาต่อหรื อใช้มาตรฐาน ู้ ํ ํ
  • 8. อื่นควบคูไปด้วย16 ซึ่งตอกยํ้าว่า HL7 ไม่ใช่คาตอบสุ ดท้ายเพียงคําตอบเดียวสําหรับมาตรฐานสารสนเทศทาง ่ ํ สุ ขภาพ กล่าวโดยสรุ ป ผูเ้ ขียนได้นาเสนอ myths หรื อความเข้าใจผิด 6 ข้อ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการพัฒนา ํ มาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพ และได้พยายามชี้แจงทําความเข้าใจมุมมองที่ผเู ้ ขียนเชื่อว่าใกล้เคียงกับ ความเป็ นจริ งมากกว่า รวมทั้งอ้างอิงตัวอย่างและประสบการณ์จากประเทศอื่นและบทความทางวิชาการที่ ั อาจให้บทเรี ยนที่เป็ นประโยชน์กบประเทศไทย ผูเ้ ขียนหวังเป็ นอย่างยิงว่าบทความนี้จะช่วยปรับความเข้าใจ ่ ของทุกท่านให้ตรงกัน และนําไปสู่ การพัฒนามาตรฐานสารสนเทศทางสุ ขภาพของประเทศไทยอย่าง เหมาะสมและสัมฤทธิ์ผลในที่สุด เอกสารอ้างอิง 1. Kaushal R, Shojania KG, Bates DW. Effects of computerized physician order entry and clinical decision support systems on medication safety: a systematic review. Arch Intern Med. 2003 Jun 23;163(12):1409-16. 2. Chaudhry B, Wang J, Wu S, Maglione M, Mojica W, Roth E, Morton SC, Shekelle PG. Systematic review: impact of health information technology on quality, efficiency, and costs of medical care. Ann Intern Med. 2006 May 16;144(10):742-52. 3. Amarasingham R, Plantinga L, Diener-West M, Gaskin DJ, Powe NR. Clinical information technologies and inpatient outcomes: a multiple hospital study. Arch Intern Med. 2009 Jan 26;169(2):108-14. 4. Kijsanayotin B, Kasitipradith N, Pannarunothai S. eHealth in Thailand: the current status. Stud Health Technol Inform. 2010;160(Pt 1):376-80. 5. Kaelber DC, Bates DW. Health information exchange and patient safety. J Biomed Inform. 2007 Dec;40(6 Suppl):S40-5. 6. DeLone WH, McLean ER. Information systems success: the quest for the dependent variable. Inform Syst Res. 1992 Mar;3(1):60-95. 7. Ash JS, Stavri PZ, Dykstra R, Fournier L. Implementing computerized physician order entry: the importance of special people. Int J Med Inform. 2003 Mar;69(2-3):235-50. 8. Rogers EM. Diffusion of innovations. 5th ed. New York: Free Press; 2003. 551 p. 9. Gladwell M. The tipping point: how little things can make a big difference. New York: Little Brown; 2000. 304 p. 10. HL7 - Meet the Board of Directors [Internet]. Ann Arbor (MI): Health Level Seven International. c2007-2011 [cited 2011 Jul 2]. Available from: http://www.hl7.org/about/hl7board.cfm
  • 9. 11. Membership and Participation in HITSP [Internet]. New York: American National Standards Institute. c2009 [cited 2011 Jul 2]. Available from: http://www.hitsp.org/membership.aspx 12. บุญชัย กิจสนาโยธิ น, มัลลิกา สงเคราะห์, ชัยพร สุ รเตมียกล, สุ วิทย์ กิริยา และนิ พนธ์ อุปมานรเศรษฐ์. ์ุ One province, one software. นําเสนอใน: Health Informatics: From Standards to Practice. Thai Medical Informatics Association Annual Conference 2010. 10 พฤศจิกายน 2553. 13. นวนรรน ธี ระอัมพรพันธุ ์. Electronic Health Records: “อเมริ กาเข้มแข็ง” สอนอะไรไทย? ใน: Health Informatics: From Standards to Practice. Thai Medical Informatics Association Annual Conference 2010. Available from: http://www.slideshare.net/nawanan/electronic-health- records-what-does-hitech-act-teach-thailand 14. Patrick J. A Study of a Health Enterprise Information System [Internet]. New South Wales: University of Sydney. 2011 Mar 4 [cited 2011 Jul 2]. Available from: http://sydney.edu.au/engineering/it/~hitru/index.php?option=com_content&task=view&id=9 1&Itemid=146 15. Theera-Ampornpunt N. Medical informatics: a look from USA to Thailand. In: Ramathibodi's Fourth Decade: Best Innovation to Daily Practice; 2009 Feb 10-13; Nonthaburi, Thailand. Bangkok (Thailand): Mahidol University, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital; 2009. Available from: http://www.slideshare.net/nawanan/medical- informatics-a-look-from-usa-to-thailand-paper 16. Flores AE, Win KT. Analyzing the key variables in the adoption process of HL7. Stud Health Technol Inform. 2007;129(Pt 1):444-8.