SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 107
1



               บทที่ ๓ เพื่อ นกัน


   แผนผัง มโนทัศ น์ ชุด วิว ธ ภาษา ชัน ม .๑
                            ิ        ้
             บทที่ ๓ เพือ นกัน
                          ่



      ดูภ าพ        ฟัง การอธิบ าย    ฟัง เรื่อ งสั้น
     ประกอบ

     เขีย น          ฟัง ดู          พูด รายงาน
  วิเ คราะห์                           หน้า ชัน
                                              ้

  เขีย น             เพื่อ นกัน              พูด

เขีย นประโยค                          การพูด เล่า
                                        เรื่อ ง
                      อ่า น
                                      คำา กริย า
     การอ่า นใน      คำา สรรพนาม
        ใจ
2



                   แผนการจัด การเรีย นรู้ ที่ ๑
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิช าภาษาไทย                          ชั้น
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑
ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน                    เวลา
๘ ชั่ว โมง
เรื่อ ง การอ่า นในใจ                                  เวลา
๑      ชั่ว โมง

มาตรฐาน ท ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อ
๑.๑       นำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต
          และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัว ชี้ว ัด
       มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑ / ๒        จับใจความสำาคัญจากเรื่องที่
อ่าน
สาระสำา คัญ
             การอ่านในใจคือการกวาดสายตาไปยังข้อความจาก
   หนังสือ พุ่งความสนใจ
ไปยังสาระที่อ่าน แล้วเก็บใจความสำาคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถ
ถ่ายโอนสาระที่อ่าน
ไปยังผู้อื่นได้ด้วยทั้งพูดและการเขียน
จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้
     ๑. อ่านในใจและเก็บใจความสำาคัญของเรื่องได้
     ๒. ถ่ายโอนสาระเรื่องราวที่อ่านไปยังผู้อื่นได้
     ๓. บอกความหมายคำาใหม่ในบทเรียนได้

คุณ ลัก ษะอัน พึง ประสงค์
     ๑. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
     ๒. เป็นผู้นำาและผู้ตามที่ดี
     ๓. มีความภาคภูมิใจในภาษาไทย
     ๔. อ่านและเก็บใจความสำาคัญของเรื่องได้
     ๕. รู้จักประหยัดและอดทน
สาระการเรีย นรู้
3


    ๑. อ่านในใจเรื่อง “เพื่อนกัน”
    ๒. เล่าเรื่อง “ เพื่อนกัน”
     ๓. วิเคราะห์คุณค่าของบทเรียนได้
     ๔. ทำาแบบทดสอบก่อนเรียน
กระบวนการเรีย นรู้
        ๑. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับบทเรียน สาระ
ของหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดวิวิธภาษา ชั้น ม.๑ ครูอธิบายว่า
เนื้อหาสาระส่วนมากเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการอ่านเรื่องสั้น หลัก
ภาษาไทยและการนำาภาษาไปใช้ตามสถานการณ์ต่างๆ ผู้เรียนจะได้
ฝึกทักษะเน้นหนักไปพร้อมๆกันทั้ง ฟัง ดู พูด อ่าน และเขียน
       ๒. นักเรียนทุกคนทำาแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง เพื่อนกัน
จากนั้นนำาส่งครูตรวจสอบความถูกต้องและประกาศผลโดยที่ยังไม่
ต้องเฉลย
       ๓. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง “ การอ่านในใจ ” ( ท้าย
แผน ) จากนั้น นักเรียนอ่านในใจบทเรียนเรื่อง “ เพื่อนกัน” ใน
หนังสือเรียน ชุด วิวิธภาษา หน้า ๓๔ – ๓๘ ครูตั้งคำาถามให้
นักเรียนแข่งขันกันตอบ ๕ – ๑๐ คำาถาม
       ๔. นักเรียนทำาแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ ๑ ( ท้ายแผน ) ชุด
ตอบคำาถาม จากนั้นนำาส่งครูตรวจสอบประเมินผลและประกาศผล
การประเมิน พร้อมทั้งแนะนำาแก้ไขข้อบกพร่องเป็นรายๆ
       ๕. ครูมอบหมายให้นักเรียนไปเตรียม กล่องกระดาษ ( ควร
ใช้กล่องกระดาษที่มีขนาดเท่ากัน เช่นกล่องนมโรงเรียน ) กรรไกร
สี กาว เข็ม ด้าย เพื่อนำามาทำาเป็นกล่องเก็บสะสมผลงาน ให้
นักเรียนนำามาในชั่วโมงต่อไป
สื่อ / แหล่ง เรีย นรู้ / บุค คล

ลำา ดั      รายการสื่อ               กิจ กรรมที่ใ ช้     แหล่ง ที่ไ ด้
     บ                                                     มา
     ท
     ีี
     ี่
  ๑     ใบความรู้เรื่องการ        นักเรียนศึกษาวิธีการ   ครูจัด
        อ่านในใจ                  อ่านในใจ               เตรียม
  ๒     แบบทดสอบก่อน              นักเรียนทำาแบบ         ครูจัดทำา
4


        เรียน                  ทดสอบก่อนเรียน
    ๓   แบบฝึกหัดชุดที่ ๑      นักเรียนตอบคำาถาม       ครูจัดทำา
    ๔   หนังสือเรียน ชุด       นักเรียนดูภาพและฝึก     ครูจัดหา
        วิวิธภาษา ชั้น ม. ๑    อ่าน
    ๕   เฉลยแบบทดสอบ           ตรวจสอบแบบทดสอบ         ครูจัดทำา
        ก่อนเรียน              ตรวจสอบการจับคู่
        เฉลยแบบฝึกหัด
    ๖   แบบประเมินการ          บันทึกการสังเกต         ครูจัดทำา
        สังเกต                 พฤติกรรม และบันทึก
        พฤติกรรม และแบบ        ผลงานรายบุคคล
        ประเมินผลงานราย
        บุคคล

1




วัด ผลประเมิน ผล

กิจกรรมที่ประเมิน    เครื่อ งมือ ที่ใ ช้   วิธ ีก าร    เกณฑ์ก าร
                            ใน             ประเมิน       ประเมิน
                       การประเมิน
๑. สังเกต           แบบประเมินการ          สังเกตราย   ๑๖       =
พฤติกรรมด้าน        สังเกต                     บุคคล   ดีมาก
   ความพอเพียง      พฤติกรรม และ                       ๑๓ – ๑๕ =
                    แบบประเมินผล                       ดี
                    งาน                                ๑๐ – ๑๔ =
                                                       พอใช้
5


                                                        ตำ่ากว่า ๑๐ =
                                                        ปรับปรุง
๒. นักเรียนทำาแบบ แบบทดสอบก่อน            ตรวจงาน       ๒๖ – ๓๐ =
ทดสอบ             เรียน                   รายบุคคล      ดีมาก
   ก่อนเรียน                                            ๑๘ - ๒๕ =
                                                        ดี
                                                        ๑๕ – ๑๖ =
                                                        พอใช้
                                                        ตำ่ากว่า ๑๕
                                                        ปรับปรุง
๓. นักเรียนร่วม      แบบประเมินราย          สังเกตราย   ๕ = ดีมาก
สนทนาและ             กลุ่ม                      บุคคล   ๔ = ดี
   ตอบคำาถาม                                            ๓ = พอใช้
                                                        ตำ่ากว่า ๓ =
                                                        ปรับปรุง
๔. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินการ             ตรวจงาน     ๘ - ๑๐ = ดี
ฝึกหัด            สังเกต                        ราย     มาก
                  พฤติกรรม และ                 บุคคล    ๖ – ๗ = ดี
                  แบบประเมินผล                          ๕ = พอใช้
                  งาน                                   ตำ่ากว่า ๕ =
                                                        ปรับปรุง
๔. นักเรียนอ่านใน    แบบประเมินการ          ตรวจงาน     ๕ = ดีมาก
ใจ                   สังเกต                     ราย     ๔ = ดี
                     พฤติกรรม และ              บุคคล    ๓ = พอใช้
                     แบบประเมินผล                       ตำ่ากว่า ๓ =
                     งาน                                ปรับปรุง




การสัม พัน ธ์ก ับ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้อ ื่น
6


   คำา ชี้แ จง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ สัมพันธ์กับสาระการ
   เรียนรู้อื่น ดังนี้


                      สัง คมศึก ษา ฯ
                    การปฏิบัติตนต่อสมาชิก
                  ในครอบครัว

วิท ยาศาส
                       การอ่า นในใจ               ภาษา
    ตร์                                          อัง กฤษ
                                                การเรียนรู้
   การ
                                                ความหมาย
วิเคราะห์เรื่อง
                                                 ของคำา
และเหตุการณ์
ต่างๆ                  ศิล ปศึก ษา
การตั้ง                การเตรียมวัสดุ
สมมุติฐาน




 บัน ทึก ผลหลัง กระบวนการจัด การเรีย นรู้
    ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
 ……………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………
 …………………………………………….
 ……………………………………………………………………
 …………………………
    ปัญหา / อุปสรรค
7


……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…
  ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………….
……………………………………………………………………
…………………………

                              ลงชื่อ……………………....
                            …………
                                  ( ...................................... )
                              ตำาแหน่ง ครูวิทยฐานะชำานาญการ


บัน ทึก ข้อ เสนอแนะของผู้บ ริห ารหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย
……………………………………………………………………
………………………………….
……………………………………………………………………
………………………………….
……………………………………………………………………
…

                                  ลงชื่อ…………………………………
                            …..
                                       ( ..................................... )
                                  ตำาแหน่ง ผู้อำานวยการ
โรงเรียน.......................

                        ใบความรู้ เรื่อ งหลัก
                          การอ่า นในใจ
8


          การอ่านในใจ เป็นการอ่านเพื่อเก็บใจความสำาคัญและ
ทำาความเข้าใจ เป็นการอ่านเพื่อแสวงหาความรู้ความบันเทิงให้แก่
ตนเอง ผู้อ่านต้องมีความรู้เกี่ยวกับคำาศัพท์และสามารถเข้าใจเรื่อง
ราวที่อ่านได้โดยตลอด
        หลัก ทั่ว ไปของการอ่า นในใจ
         การอ่านได้เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับคุณสมบัติบางประการของผู้
อ่าน ดังนี้
            ๑. วงศัพ ท์ ถ้าผู้อ่านรู้ศัพท์มาก คือรู้ความหมายที่แท้
จริงของถ้อยคำา สำานวน
ในบทอ่านก็จะสามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดีและรวดเร็ว ถ้ารู้ศัพท์
น้อยก็ไม่อาจจับใจความของเรื่องที่อ่าน เป็นการอ่านที่เสียเวลา
และอาจนำาไปสื่อสารต่อไปอย่างผิดๆ
            ๒. ช่ว งสายตา การอ่านที่ดีควรอ่านเป็นกลุ่มไม่ใช่
อ่านทีละคำา ยิ่งผู้อ่านมีช่วงสายตายาว คืออ่านได้ทีละกลุ่มใหญ่
และเลื่อนช่วงสายตาไปข้างหน้าได้เร็วเพียงใดก็สามารถอ่านได้เร็ว
เพียงนั้น กลุ่มคำาที่ขีดคั่นต่อไปนี้เป็นกลุ่มคำาที่ควรทอดสายตา
แต่ละช่วง งานที่สนุกที่หนึ่ง / ในวัดเบญจมฯ / คืองานออกร้าน / ใน
วัดนี้
            ๓. การเคลื่อ นไหวริม ฝีป าก ตามธรรมดาการอ่าน
ในใจย่อมอ่านได้เร็วกว่า
การอ่านออกเสียง เพราะการอ่านออกเสียงต้องอ่านทีละคำา ถึงแม้
จะเป็นการอ่านในใจ ถ้า
ต้องทำาปากขมุบขมิบริมฝีปากตามไปด้วยก็ทำาให้เสียเวลาไล่เลี่ยกับ
การอ่านออกเสียง การอ่านในใจที่ถูกต้องจึงไม่ควรเคลื่อนไหวริม
ฝีปากในขณะอ่าน
            ๔. ระยะสายตา การอ่านหนังสือที่พอเหมาะแก่ระยะ
สายตา จะช่วยให้เห็นชัดและสบายตา คือระยะ ๑๕ นิ้ว การอ่าน
หนังสือทีอยู่ห่างจากตามากหรือน้อยกว่าระยะนี้จะอ่านได้ไม่ชัดและ
         ่
เป็นอันตรายต่อสายตา
            ๕. ความมุ่ง หมาย การอ่านจะได้ผลดีที่สุดต่อเมื่อผู้
อ่านมีความต้องการรู้เรื่องในข้อความที่อ่าน ผู้อ่านจะสามารถจับใจ
ความสำาคัญได้ดีและเร็ว ถ้าความมุ่งประสงค์ของผู้อ่านและผู้เขียน
ตรงกัน กล่าวคือผู้อ่านใคร่รู้เรื่องที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารแก่ผู้อ่าน
           ในการอ่านแต่ละครั้งควรตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้
ชัดเจนว่าต้องการรู้เรื่อง
9


อะไร โดยพยายามตั้งคำาถามจากชื่อบทหรือหัวข้อที่อ่านแล้วหาคำา
ตอบจากบทอ่านนั้น
     วิธ ีก ารอ่า นในใจ
             การอ่านในใจอาจแบ่งตามความมุ่งหมายได้ ๒ วิธี คือ
อ่านอย่างเร็วและอ่านอย่างละเอียด
          ๑ อ่า นอย่า งเร็ว การอ่านอย่างเร็วเป็นการอ่านผ่านๆไป
อย่างรวบรัด อาจข้ามตอนใดตอนหนึ่งหรือใจความส่วนใหญ่ใช้
ในกรณีที่เรื่องนั้นๆคุ้นและเป็นที่น่าสนใจ หรือ
รู้สึกสนุกสำาหรับผู้อ่าน ถึงแม้จะมีคำาบางคำาที่เป็นคำาแปลกใหม่ไม่รู้
จักมาก่อนก็อาจข้ามไปได้ บางทีผู้อ่านไม่ได้สังเกตเห็นด้วยซำ้าไป
การอ่านอย่างเร็วใช้ในการอ่านข้อความประเภทนวนิยาย เรื่องสั้น
บทความ ชื่อเฉพาะที่คุ้นเคย เช่นชื่อห้าร้าน ชื่อสินค้า พาดหัว
หนังสือพิมพ์ การค้นหาคำา หรือข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นต้น
         โดยทั่วไปการอ่านอย่างเร็วอาจทำาได้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ
หลายๆอย่างพร้อมกัน
ตามหัวข้อต่อไปนี้ ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการอ่าน
          1 อ่านเฉพาะหัวข้อเรื่อง หัวข้อเรื่องมักพิมพ์ด้วยตัวหนา
          2 พิจารณาใจความสำาคัญของแต่ละย่อหน้า ใจความ
             สำาคัญมักปรากฏอยู่ใน
ประโยคตอนต้น หรือตอนท้ายของย่อหน้า
          3. หาชื่อ สถานที่ วันที่ คำาจำากัดความ กฎเกณฑ์ หรือ
             ข้อคิดที่สำาคัญ
          4. อ่านอักษรตัวหนา ตัวเอน และเครื่องหมายอื่นๆที่แสดง
             ความคิดที่สำาคัญ
          5. พิจารณาโครงเรื่องหรือองค์ประกอบของข้อความ เพื่อ
             หาใจความสรุป
ระหว่างความคิดเห็น ข้อเท็จจริง และกฎเกณฑ์ต่างๆ
            การอ่านอย่างเร็วมีความจำาเป็นที่จะต้องใช้ควบคู่ไปกับ
การอ่านอย่างละเอียด
คือก่อนลงมืออ่านข้อความอย่างละเอียดควรได้อ่านอย่างเร็วมาล่วง
หน้าแล้ว และเมื่ออ่าน
อย่างละเอียดแล้วก็กลับมาอ่านอย่างเร็วอีกครั้งหนึ่ง
          ๒ การอ่า นอย่า งละเอีย ด การอ่านอย่างละเอียดคือ
การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์
10


เพื่อให้เข้าใจทุกสิ่งทุกอย่างทีอ่าน ขณะที่อ่านอย่างละเอียดควร
                               ่
หยุดตั้งคำาถามไปด้วยว่าได้อะไรบ้างจากการอ่าน อาจบันทึก
ถ้อยคำาหรือหัวข้อสำาคัญไว้ด้วย เมื่ออ่านจบแต่ละบทให้
นึกย้อนกลับไปใหม่ว่าจะจัดลำาดับความสำาคัญและข้อเท็จจริงที่ได้
จากการอ่านอย่างไร

        การจับ ใจความสำา คัญ
          ข้อความหนึ่งย่อหน้าจะมีใจความสำาคัญเพียงประการ
เดียว ใจความสำาคัญนี้ปรากฏอยู่ในประโยคใดประโยคหนึ่ง ซึ่ง
เรียกว่าประโยคใจความสำาคัญ ส่วนข้อความประโยคอื่นๆเป็นเพียง
พลความ คือทำาหน้าที่ประกอบประโยคใจความสำาคัญนั้นๆ เพราะ
ฉะนั้นข้อความหนึ่งย่อหน้าประกอบไปด้วยใจความสำาคัญ ๑
ประโยค และประโยค
ประกอบซึ่งอาจมีได้หลายประโยค สุดแต่ผู้เขียนจะขยายความมาก
หรือน้อย ข้อความหนึ่ง
ย่อหน้าจำาต้องมีใจความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน คือประโยคอื่นๆ ที่
ประกอบหรือขยาย
ประโยคใจความสำาคัญต้องมีใจความอย่างเดียวกันกับใจความ
สำาคัญ และทำาหน้าที่เสริม
ใจความประโยคใจความสำาคัญให้แจ่มแจ้ง ประโยคหนึ่งประโยค
ใดที่มีใจความคนละอย่างกับประโยคใจความสำาคัญจะรวมอยู่ในย่อ
หน้านั้นๆ ไม่ได้ต้องตัดทิ้งไปหรือไม่ก็แยกออกไปเป็นย่อหน้าใหม่
         ประโยคประกอบแต่ละประโยคอาจมีประโยคประกอบย่อย
ได้อีก และอาจมีจำานวนประโยคประกอบย่อยมากน้อยสุดแต่
ใจความ

         การอ่า นตีค วาม
               โดยทั่วไปการอ่านมีจุดประสงค์ เพื่อทำาความเข้าใจหรือ
ที่เรียกว่ารู้เรื่องหรือรู้เนื้อหาที่อ่านแล้วจับใจความให้ได้ว่าข้อความ
นั้นๆ มีใจความสำาคัญประการใด ส่วนใดเป็นใจความประกอบหรือ
พลความ ต่อจากนั้นอาจพิจารณาถึงข้อเท็จจริงหรือความรู้และ
ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน อย่างไรก็ดีในการอ่านระดับที่สูง
ขึน ควรจะได้พิจารณาถึงจุดประสงค์ หรือเจตนาของข้อความว่า
   ้
ต้องการสื่อถึงอ่านในลักษณะใด อาจเพื่อบอกเล่า ให้ความรู้ชี้แนะ
ตักเตือน สั่งสอน ติเตียน หรือประชดประชัน นอกจากข้อความที่
11


อ่านจะแสดงจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วยังแฝงนำ้าเสียงของผู้
เขียนว่ามีความรู้สึกอย่างไร เช่นเห็นใจ ชื่นชอบ รังเกียจ เสียดสี
หรือยั่วเย้า
             การอ่านที่มีประสิทธิภาพจึงไม่ใช่เพียงอ่านรู้เรื่องหรือ
จับใจความสำาคัญได้ จำาต้องพิจารณาให้เห็นลักษณะคุณค่าของ
เรื่องที่อ่านในด้านต่างๆตามที่กล่าวมาแล้ว จึงจะได้ประโยชน์จาก
การอ่านอย่างสมบูรณ์


           แบบทดสอบประจำา บทที่ ๓
                เพือ นกัน
                   ่

     ตอนที่ ๑ จงเลือกคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

     ๑. ข้อคิดที่ได้จากบทเรียนเรื่อง “ เพื่อนกัน” คืออะไร
           ก. คนที่มีวัยต่างกันย่อมมีพฤติกรรมที่ต่างกัน
           ข. คนในวัยเดียวกันแต่สนใจคนละอย่างย่อมมี
พฤติกรรมที่ต่างกัน
           ค. คนในวัยที่แตกต่างกันสนใจคนละอย่างย่อมมี
พฤติกรรมที่ต่างกัน
           ง. คนที่อยู่ในวัยต่างกันต้องเข้าใจพฤติกรรมซึ่งกันและ
กัน
     ๒. เจ้าแจ้ เป็นชื่อของสิ่งใด
           ก. ไก่                            ข. สุนัข
           ค. แมว                            ง. นก
     ๓. สิ่งใดแสดงให้เห็นว่าครอบครัวของต้นมีพฤติกรรมความ
พอเพียงด้านเศรษฐกิจ
           ก. เลี้ยงไก่ไว้บริโภค             ข. ปลูกพืชผักสวน
ครัวไว้กิน
           ค. ปลูกพืชผักสวนครัวไว้ขาย              ง. เลี้ยงปลาไว้
หลังบ้าน
     ๔. แม่อั้ว ในบทเรียนนี้คือใคร
           ก. คนสวน                     ข. คนดูแลบ้าน
           ค. คนทำาไร                        ง. แม่ของต้น
     ๕. ต้น ทำาไมไม่ค่อยชอบเจ้าแจ้
12


           ก. เพราะเจ้าแจ้ไม่ใช่คน            ข. เพราะเจ้าแจ้เป็น
สัตว์
           ค. เพราะเจ้าแจ้ชอบไล่เตะต้น              ง. เพราะทำาให้
ต้นโดนดุประจำา
      ๖. ตัวเชื่อมสมานฉันท์ระหว่าปู่กับต้นคือใคร
           ก. แม่                             ข. พ่อ
           ค. อัว ้                           ง. เจ้าแจ้
      ๗. คำาว่า “ ฮอร์โมนเหลือ” หมายความว่าอย่างไร
           ก. ทำาอะไรพิสดารเกินธรรมดา ข. ทำาอะไรขวางหู
ขวางตา
           ค. ทำาอะไรไม่ถูกไม่ควร             ง. ทำาอะไรเกินความ
เป็นจริง
      ๘. ครอบครัวของต้นมีทั้งหมดกี่คน
           ก. ๒ คน                       ข. ๓ คน
           ค. ๔ คน                       ง. ๕ คน
      ๙. ทำาไมคนที่อยู่ในวัยเด็กจึงชอบรำาคาญคนแก่
           ก. เพราะคนแก่น่ารำาคาญ             ข. เพราะคนแก่ไม่
เข้าใจเด็ก
           ค. เพราะเด็กไม่เข้าใจคนแก่               ง. เพราะต่าง
ไม่เข้าใจกัน
      ๑๐. สิ่งที่เด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการมากที่สุดคือสิ่งใด
           ก. ความรักจากพ่อแม่                ข. ความรักจากเพศ
ตรงข้าม
           ค. ความสนใจจากคนรอบข้าง                  ง. ความเป็น
อิสระ
      ๑๑. คำาว่า “ เยอะแยะ” ควรใช้คำาใดแทนจึงจะสุภาพ
           ก. ล้นเหลือ                        ข. เหลือเฟือ
           ค. เกินพิกัด                       ง. มากมาย
      ๑๒. ข้อใดเป็นภาษาเขียน
           ก. เป็นเรื่องจริง น่ะเรอะ          ข. ไม่จริงซักหน่อย
           ค. เรื่องไม่มีมูลความจริง          ง. ไม่เห็นได้เรื่องเลย
      ๑๓. ข้อใดเป็นภาษาพูด
           ก. ถอยห่างอีกนิดนึงสิ              ข. ผมไม่ชอบความ
วุ่นวาย
           ค. ดอกจำาปาหล่นเกลื่อนพื้น               ง. คุณจะมา
หรือไม่มาก็บอกด้วย
13


     ๑๔. “ สามโจรใต้กดบึ้มตลาดสดปักดงวอด” ควรใช้สำานวนใด
แทนจึงจะสุภาพ
          ก. โจรภาคใต้สามคนทิ้งระเบิดที่ตลาดปักดงได้รับความ
เสียหาย
          ข. สามโจรใต้ระเบิดตลาดสดปักดงวอดวายเสียหายยับ
เยิน
          ค. โจรใต้ระเบิดตลาดปักดงได้รับความเสียหายยับเยิน
          ง. โจรใต้สามคนระเบิดตลาดปักดงวอดวาย

      ๑๕. “ ฉันไปตลาดพบคุณ ยายของเธอกำาลังซื้อของ” คำาว่า
คุณ ยาย คำาสรรพนาม
           ชนิดใด
           ก. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๑              ข. บุรุษสรรพนาม
บุรุษที่ ๒
           ค. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๓              ง. วิภาคสรรพนาม
บุรุษที่ ๓
      ๑๖. “ ฉันกับแกต้องได้เห็นดีกัน” คำาว่า แก เป็นคำา
สรรพนามชนิดใด
           ก. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๑              ข. บุรุษสรรพนาม
บุรุษที่ ๒
           ค. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๓              ง. ปฤจฉาสรรพนาม
      ๑๗. ใครจะไปตลาดกับฉันบ้าง ใคร เป็นสรรพนามชนิดใด
           ก. บุรุษสรรพนามที่ ๒                ข. ปฤจฉาสรรพนาม
           ค. วิภาคสรรพนาม                         ง. นิยมสรรพนาม
      ๑๘. ................................จำาพรรษาอยู่วัดนี้หรือขอรับ ควร
เติมคำาใดลงในช่องว่าง
           ก. ท่าน                             ข. พระองค์
           ค. พระองค์ท่าน                      ง. พระคุณเจ้า
      ๑๙. “คุณลุงของฉัน .......................เป็นคนขี้หลงขี้ลืม” ควร
เติมคำาใดลงในช่องว่าง
           ก. ท่าน                             ข. แก
           ค. เธอ                                  ง. เขา
      ๒๐. “ถ้าเธอมาไม่ได้ ............จะเป็นคนไปหาเธอเอง” ควร
เติมคำาใดลงในช่องว่าง
           ก. ฉัน                                  ข. เธอ
           ค. เขา                                  ง. แก
14




  ตอนที่ ๑
         ๑. เข้าพรรษาปี
  นี้ ...................................จะจำาพรรษาที่วัดไหน
ตอนที่ ๒ ( ๑๐ คะแนน )
  ครับ
      ๑. คำา ชี้แ จ ให้นักเรียนเติมคำาบุรุษสรรพนามที่เหมาะสมลง
         ๒. คุณลุงของฉัน ..............................เป็น
ในช่องว่างต่อไปนี้
  คนขี้หลงขีลืม  ้
         ๓. ถ้าเธอมาไม่ได้ .......................จะเป็น
  คนไปหาเธอเอง
         ๔. คุณแม่ของผม...................ไม่สบายนอน
  ซมอยู่ในห้อง
         ๕. .........................ขอนิมนตร์พระคุณเจ้า
  ไปฉันเพลที่บ้านขอรับ
         ๖. พี่แดงครับ เมื่อไหร่คุณ
  ป้า............................จะมาเยี่ยมเราอีก
         ๗. …………..ไม่ได้จำาพรรษาอยู่ที่วัดนี้หรอก
  โยม
         ๘. นายมัน………….เป็นคนใจดี
                      ่
         ๙. เมื่อไหร่………….จะมาหาลูกและภรรยา
         ๑๐. ขอเดชะ……………….ขอพระองค์จงทรง
  พระเจริญยิ่งยืนนาน
  ตอนที่ ๒   ให้นักเรียนหาคำาที่เป็นคำาสรรพนามใน
  ประโยคต่อไปนี้ แล้ว
                บอกว่าเป็นบุรุษสรรพนามชนิดใด
คุณยายครับ ให้ต้นไปทำาบุญด้วยคนนะครับ
   คุณป้าครับ ถึงแม้คุณลุงไม่ว่างมาก็ขอให้คุณป้ามา
   งานผมนะครับ                                                              15
   เค้าซื่อขนมมาฝากตัวด้วยหละ เอ้านี่ รับไปซิจ๊ะ
          ข้อ
          ๑ .......................................................
          ...........................................
          ข้อ
          ๒ .......................................................
          ..........................................
          ข้อ
          ๓ .......................................................
          ...........................................




 ชือ .................................................................เลข
    ่
 ที่ ..................... ชัน ...............
                             ้

    ๒. คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนเปลี่ยนคำา วลี ต่อไปนี้ให้เป็น
ภาษาเขียน

ลำาดับ              ภาษาพูด                            ภาษาเขียน
  ที่
  ๑      เยอะแยะ
  ๒      เลอะเทอะ
  ๓      ลามปาม
  ๔      ถี่ยิบ
  ๕      ถีบหัวส่ง
16


๖       เฉไฉไปที่อื่น
๗       ฮัลโล จะพูดกับใครครับ
๘       เขาเอาน้องไปกรุงเทพ
๙       คุณเขารุดไปล่วงหน้าแล้ว
๑๐      ธุระผมก็ไม่ใช่




ชือ .................................................................เลข
   ่
ที่ ..................... ชัน ...............
                            ้
      เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น – หลัง เรีย น บทที่ ๓

     1. ก         2. ก        3. ข            4. ข         5. ง
     6. ง         7. ก        8. ง            9. ค         10. ง
     11. ง               12. ก                13. ก             14. ก
          15.     ค
     16. ข               17. ข                18. ง               19. ก
          20.     ก
17




           แบบฝึก เสริม ทัก ษะ
               ชุด ที่ ๑
คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้
       ๑. ครอบครัวของต้นมีลักษณะอย่างไร มีสมาชิกใน
ครอบครัวกี่คน
       ๒. ปู่ของต้นมีพฤติกรรมอย่างไร อายุประมาณเท่าใด
       ๓. เจ้าแจ้คือชื่อของอะไร เข้ามาอยู่ในบ้านของต้นอย่างไร
       ๔. ทำาไม่ต้นจึงอิจฉาเจ้าแจ้อยู่เสมอ
18


        ๕. นักเรียนคิดว่าแม่ของต้นอยู่ในบ้านเดียวกับต้นหรือไม่
เหตุใดจึงคิดเช่นนั้น
        ๖. ในเรื่องนี้ คำาว่า “ เพื่อนกัน” หมายถึงใครกับใคร
        ๗. พ่อของต้นมีนิสัยอย่างไร ข้อความประโยคใดแสดงให้
เห็นว่าเขาเป็นเช่นนั้น
        ๘. ใครพาเจ้าแจ้ไปหาหมอ ไปอย่างไร
        ๙. ครอบครัวของต้นดำาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
หรือไม่ อย่างไร
        ๑๐. ปู่เป็นคนมีเหตุผลหรือไม่ข้อความตอนใดแสดงให้เห็นว่า
       กระดาษคำา ตอบแบบฝึก เสริม ทัก ษะ ชุด ที่ ๑
ปู่เป็นคนมีเหตุผลที่ดี
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
.......................................................................
.................................................................
.........................................................................19
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................
.........................................................................
     ...............................................................
  .......................................................................
.................................................................




ชือ .................................................................เลข
   ่
ที่ ..................... ชัน ...............ย นรู้ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้
แบบบัน ทึก ผลการประเมิน การเรี
                            ้
                ภาษาไทย ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑
ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน ประกอบแผนการเรีย นรู้ท ี่
                   ๑ เรื่อ งการอ่า นในใจ
                      ด้า นคุณ ลัก ษณะอัน         ด้า นผล
                                                                      รวม




                           พึง ประสงค์              งาน
ข




๐
๖




๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑




๔
๕
๔




๒
๒




๓
๓




๘
                                       ที่




๙
๗
                                       เล     ชื่อ – สกุล




    ๒
                    มีค วามสนใจใฝ่เ รีย นรู้




    ๒
                     เป็น ผู้น ำา และผู้ต ามที่ด ี




    ๒
          มีค วามรัก และภูม ิใ จในภาษาไทย


    ๒
      อ่า นและเก็บ ใจความสำา คัญ ของเรื่อ ง
    ๒                   รู้จ ัก ประหยัด อดทน
๐
๑

             รวมคะแนนด้า นคุณ ลัก ษณะ ฯ
             การทำา แบบทดสอบก่อ นเรีย น

             ทำา แบบฝึก เสริม ทัก ษะ ชุด ที่ ๑
      ๐
๓๐ ๑๐ ๕
                                                            20




                 ผ่า น / ไม่ผ ่า น
21


ความหมายระดับ คุณ ภาพ         ๒ หมายถึง             ดี
เกณฑ์ร ะดับ คะแนน        ๔๕ – ๕๐ = ๒
                   ๑ หมายถึง    พอใช้
    ๓๐ – ๔๔ = ๑
                           ๐ หมายถึง ปรับ ปรุง
๐ - ๒๙ = ๐
                                         เกณฑ์ก ารผ่า น ได้
    คะแนน ๑ ขึ้น ไป
                              ลงชื่อ .......................................
    ....ผู้ป ระเมิน
                                          ( ...............................
   ............ )




      แบบประเมิน ผลการทดสอบก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น
             ประกอบแบบฝึก หัด ประจำา บทเรีย น
  กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ภ าษาไทย ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ ชุด
                            วิว ิธ ภาษา
                        บทที่ ๓ เพื่อ นกัน

                               ทดสอบ ทดสอบ
      เลขที่ – ชื่อ – สกุล      ก่อ น   หลัง  ผล              ผล      สรุ
                                เรีย น เรีย น ต่า ง           ต่า ง   ป
                                                                ๒
                                 ๓๐     ๓๐
  ๑                                                                   ผ่า
                                                                      น
  ๒
  ๓
  ๔
  ๕
  ๖
22


๗
 ๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖



      รวมทั้ง หมด
            เฉลี่ย
ค่า เบี่ย งเบนมาตรฐาน
           ร้อ ยละ




                  แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๒
 กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิช าภาษาไทย
       ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑
         ้
 ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน
เวลา        ๘ ชัว โมง
                    ่
 เรื่อ ง     วิเ คราะห์เ นื้อ หาบทเรีย น
เวลา        ๑      ชั่ว โมง
 ใช้ส อนวัน ที่ ................................................   โดย
นางกิต ิก าญจน์ ฤทธิ์บ ำา รุง
มาตรฐาน          ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อ
23


ท ๑.๑          นำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต
               และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัว ชี้ว ัด
       มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑ / ๓          ระบุเหตุและผล และข้อเท็จ
  จริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
สาระสำา คัญ
        การวิเคราะห์บทเรียนเป็นการสอดแทรกความรู้สึกส่วนตัวเพื่อ
คิดวิเคราะห์สาระที่กำาลังศึกษา ผู้แสดงความคิดเห็นควรใช้ภาษาที่
สุภาพไม่กระทบกระเทือนถึงบุคคลอื่นและแสดงความคิดเห็นในด้าน
พยุง จรรโลงและสร้างสรรค์สังคมให้ดีงาม ต้องมีความรู้ลึกซึ้งใน
เรื่องคำาและสำานวนภาษาเพื่อให้ใช้ได้ถูกต้องตามบริบท

จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้
     ๑. นักเรียนบอกเนื้อหาสาระในบทเรียนได้
     ๒. นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นในบทเรียนได้
     ๓. นักเรียนนำาข้อคิดจากเรื่องมาใช้ในชีวิตประจำาวันได้

คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์
       ๑. รักและชื่นชมในเอกลักษณ์ไทย
       ๒. คิดวิเคราะห์เรื่องราวต่างๆได้
       ๓. มีวินัยในตนเอง
       ๔. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
       ๕. อยู่อย่างพอเพียง
สาระการเรีย นรู้
     ๑. การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อบทเรียน
     ๒. การสรุปเนื้อหาในบทเรียน
     ๓. การนำาข้อคิดจากบทเรียนมาประยุกต์ใช้
การจัด กระบวนการจัด การเรีย นรู้
       ขั้น ที่ ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน
แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วยนักเรียนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง
และตำ่า ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม และ
เลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรียน
       ขั้น ที่ ๒. นักเรียนทุกคนนำาวัสดุอุปกรณ์ที่ครูให้เตรียมมา
เป็นการบ้าน มารวมกันไว้ตามกลุ่ม จากนั้นครูแจกกระดาษชาร์ทสี
ให้แต่ละกลุ่มตามจำานวนคน ครูนำาตัวอย่างกล่องเก็บผลงานของ
24


นักเรียนรุ่นก่อนมาให้ดู นักเรียนทุกคนออกแบบกล่องเก็บผลงาน
ของตนเอง วาดภาพระบายสีลงในแผ่นชาร์ทแล้วนำามาติดไว้ข้าง
กล่อง นำาส่งครูตรวจสอบแนะนำาแก้ไข
         ขั้น ที่ ๓. นักเรียนอ่านออกเสียงต่อกันกลุ่มละ ๑ ย่อหน้า
ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดวิวิธภาษา หน้า ๓๔ – ๓๘ จากนั้น
ทุกคนอ่านพร้อมกันครูแนะนำาแก้ไขข้อบกพร่องในการอ่านของ
แต่ละกลุ่ม
         ขั้น ที่ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำาแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่
๒.๑ ( ท้ายแผน )
ชุด วิเคราะห์เนื้อหาบทเรียนเรื่อง “ เพื่อนกัน ” ตามหัวข้อที่กำาหนด
ให้ เสร็จแล้วนำาส่งครูตรวจสอบและประเมินผล จากนั้นประกาศผล
การประเมินให้ทุกกลุ่มได้รับทราบ
        ขั้น ที่ ๖.   นักเรียนทุกคนทำาแบบฝึกเสริมทักษะ ที่ ๒.๒ (
ท้ายแผน ) ชุด คัดลอกคำากลอนที่ตรงกับหลักปรัชญาความพอ
เพียง เสร็จแล้วนำาส่งครูตรวจสอบและประเมินผล แนะนำาแก้ไขผู้
ที่มีส่วนบกพร่อง และยกย่องชมเชยผู้ที่ทำาได้ดี



สื่อ / แหล่ง เรีย นรู้ / บุค คล

ลำา ดั       รายการสื่อ              กิจ กรรมที่ใ ช้    แหล่ง ที่ไ ด้
     บ                                                    มา
     ท
     ีี
     ี่
  ๑     กรรไกร กาว                นักเรียนศึกษาศิลปะ    ครูจัด
        กล่องนม กระดาษ            การประพันธ์           เตรียม
        ชาร์ทสี สี
  ๒     แบบฝึกเสริมทักษะ          นักเรียนวิเคราะห์     ครูจัดทำา
        ชุดที่ ๒.๑                เนื้อหาบทเรียน
  ๓     แบบฝึกหัดชุดที่           นักเรียนคัดลอกคำา     ครูจัดทำา
        ๒.๒                       กลอน
  ๔     หนังสือเรียน ชุด          นักเรียนดูภาพและฝึก   ครูจัดหา
        วิวิธภาษา ชั้น ม. ๑       อ่าน
25


๕   เฉลยแบบฝึกเสริม   ตรวจสอบแบบฝึกเสริม ครูจัดทำา
    ทักษะ             ทักษะ
๖   แบบประเมินผลงาน   ประเมินผลงานราย    ครูจัดทำา
    รายกลุ่ม          กลุ่ม
๗   แบบประเมินการ     บันทึกการสังเกต    ครูจัดทำา
    สังเกต            พฤติกรรม และบันทึก
    พฤติกรรม และแบบ   ผลงานรายบุคคล
    ประเมินผลงานราย
    บุคคล
26




วัด ผลประเมิน ผล


กิจกรรมที่ประเมิน    เครื่อ งมือ ที่ใ ช้    วิธ ีก าร      เกณฑ์ก าร
                            ใน              ประเมิน         ประเมิน
                       การประเมิน
๑. สังเกต           แบบประเมินการ           สังเกตราย    ๑๖           =
พฤติกรรมด้าน        สังเกต                      บุคคล    ดีมาก
   ความพอเพียง      พฤติกรรม และ                         ๑๓ – ๑๕ =
                    แบบประเมินผล                         ดี
                    งาน                                  ๑๐ – ๑๔ =
                                                         พอใช้
                                                         ตำ่ากว่า ๑๐ =
                                                         ปรับปรุง
๒. การเตรียมวัสดุ   แบบประเมินผล           สังเกตราย     ๘ - ๑๐ = ดี
อุปกรณ์             งาน                    กลุ่ม         มาก
                    รายกลุ่ม                             ๖ – ๗ = ดี
                                                         ๕ = พอใช้
                                                         ตำ่ากว่า ๕ =
                                                         ปรับปรุง
๓. การทำากล่องเก็บ แบบประเมินการ             ตรวจงาน ๘ - ๑๐ = ดี
ผลงาน              สังเกต                         ราย    มาก
                   พฤติกรรม และ                  บุคคล ๖ – ๗ = ดี
                   แบบประเมินผล                          ๕ = พอใช้
                   งาน                                   ตำ่ากว่า ๕ =
                                                         ปรับปรุง
๔. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินราย              ตรวจงาน ๘ - ๑๐ = ดี
ฝึก                 กลุ่ม                       รายกลุ่ม มาก
     เสริมทักษะ ชุด                                      ๖ – ๗ = ดี
ที่ ๒.๑                                                  ๕ = พอใช้
                                                         ตำ่ากว่า ๕ =
                                                         ปรับปรุง
๔. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินการ              ตรวจงาน ๕ = ดีมาก
27


 ฝึก                 สังเกต                       ราย      ๔ = ดี
      เสริมทักษะ ชุด พฤติกรรม และ                บุคคล     ๓ = พอใช้
 ที่ ๒.๒             แบบประเมินผล                          ตำ่ากว่า ๓ =
                     งาน                                   ปรับปรุง




 การสัม พัน ธ์ก ับ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้อ ื่น
   คำา ชี้แ จง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ สัมพันธ์กับสาระการ
   เรียนรู้อื่น ดังนี้


                        สัง คมศึก ษา ฯ
                    หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
                  พอเพียง

วิท ยาศาส
                     การวิเ คราะห์เ นื้อ หา                ภาษา
    ตร์                                                   อัง กฤษ
                                                         การเรียนรู้
   การ
                                                         ความหมาย
วิเคราะห์เรื่อง
                                                          ของคำา
และเหตุการณ์
                                                         ในบทเรียน
ต่างๆ                 ศิล ปศึก ษา
การตั้ง           การวาดภาพระบายสี
สมมุติฐาน       ตกแต่งกล่อง
                       เก็บผลงาน
28




บัน ทึก ผลหลัง กระบวนการจัด การเรีย นรู้
   ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………….
……………………………………………………………………
…………………………
   ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…
   ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………….
……………………………………………………………………
…………………………

                          ลงชื่อ…………………………….......
                          .
                                ( ..................................... )
                          ตำาแหน่ง ครูวิทยฐานะชำานาญการ


บัน ทึก ข้อ เสนอแนะของผู้บ ริห ารหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย
……………………………………………………………………
………………………………….
……………………………………………………………………
………………………………….
29


……………………………………………………………………
…

                                        ลงชื่อ…………………………………
                                …..
                                             ( .................................. )
                                        ตำาแหน่ง ผู้อำานวยการ
โรงเรียน............

                 แบบฝึก เสริม ทัก ษะ
        คำา ชี้แ จง ให้ชุด ที่ ๒.๑ ่มช่วยกันวิเคราะห์ตัวละครใน
                       นักเรียนแต่ละกลุ
เรื่องเพื่อนกันคนใด
                คนหนึ่งว่ามีคุณลักษะอันพึงประสงค์ในด้านต่อไปนี้
หรือไม่ และ
                ข้อความตอนใดที่แสดงให้เห็นว่ามีพฤติกรรมนั้น

        ๑. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านตนเอง
..............................................................
              ข้อความที่แสดงให้เห็น
................................................................................
               ................................................................................
......................................
               ................................................................................
......................................
        ๒. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านสังคม
..............................................................
              ข้อความที่แสดงให้เห็น
................................................................................
               ................................................................................
......................................
               ................................................................................
......................................
        ๓. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านทรัพยากร
.............................................................
              ข้อความที่แสดงให้เห็น
................................................................................
30


               ................................................................................
......................................
               ................................................................................
......................................
        ๔. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านภูมิปัญญา
.........................................................
              ข้อความที่แสดงให้เห็น
................................................................................
               ................................................................................
......................................
               ................................................................................
......................................
        ๕. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านเศรษฐกิจ
.........................................................
              ข้อความที่แสดงให้เห็น
................................................................................
               ................................................................................
......................................
               ................................................................................
......................................



                  แบบฝึก เสริม ทัก ษะ
                     ชุด ที่ ๒.๒
      คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนทุกคนเขียนอธิบายเนื้อหาในบทเรียน
ที่ตรงกับหลัก
                 ปรัชญาความพอเพียงหัวข้อละ ๒ บท

                            ๑. ความพอประมาณ
  .......................................................................
       ..............................................................
  .......................................................................
      ...............................................................
  .......................................................................
       ..............................................................
  .......................................................................
      ...............................................................
31



                       ๑. ความมีเ หตุม ผ ล
                                       ี
 .......................................................................
      ..............................................................
 .......................................................................
     ...............................................................
 .......................................................................
                      ๑. การมีภ ูม ค ุ้ม กัน ที่ด ี
                                       ิ
      ..............................................................
 .......................................................................
 .......................................................................
     ...............................................................
      ..............................................................
 .......................................................................
     ...............................................................
 .......................................................................
      ..............................................................
             แบบประเมิน การตรวจผลงานรายกลุ่ม
 .......................................................................
               ประกอบแผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๒
รายการตรวจและให้ค ะแนน
     ...............................................................

      ๑.    การเขียนอธิบาย
      ๒.    การเตรียมอุปกรณ์
      ๓.    การทำาแบบฝึกเสริมทักษะ
      ๔.    ความสามัคคีภายในกลุ่ม
      ๕.    การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม

ชื่อกลุ่ม                   รายการตรวจให้คะแนน             รวม      ผล
                            ๑   ๒   ๓    ๔   ๕                      การ
                            ๕   ๕   ๕ ๑๐ ๕                  ๓๐     ประเมิ
                                                                     น
32




 ความหมายระดับคุณภาพ    ๒ หมายถึง   ดี        เกณฑ์
 ระดับคะแนน     ๒๖ – ๓๐ = ๒
                ๑ หมายถึง     พอใช้
           ๒๐ – ๒๕ = ๑
                         ๐ หมายถึง  ปรับปรุง
 ๐ - ๑๙ = ๐
                                เกณฑ์ก ารผ่า น ได้
      คะแนน ๑ ขึ้น ไป

                      ลงชื่อ...........................................ผู้
                ประเมิน




                                                                                                                                                                                                                    ชุด ที่ ๒ การทำา แบบฝึก เสริม ทัก ษะ
                         ( ......................................... )

 แบบบัน ทึก ผลการประเมิน การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้
                  ภาษาไทย ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑
  ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน ประกอบแผนการเรีย นรู้ท ี่
                    ๒ เรื่อ งการวิเ คราะห์เ นื้อ หา
เล                     ด้า นคุณ ลัก ษณะอัน          ด้า นผล
                                                                                                                                                             รวมคะแนนด้า นคุณ ลัก ษณะ ฯ




ข                            พึง ประสงค์              งาน
ที่     ชื่อ – สกุล
                                                                                                มีค วามสนใจใฝ่เ รีย นรู้
                                            เป็น ผู้น ำา และผู้ต ามที่ด ี
                       มีค วามเมตตากรุณ า


                                                                            มีว ิน ัย ในตนเอง




                                                                                                                                                                                          การทำา กล่อ งเก็บ ผลงาน
                                                                                                                           เพีย ง ประหยัด และอยู่อ ย่า งพอ




                                                                                                                                                                                                                                                           ผ่า น / ไม่ผ ่า น
                                                                                                                                                                                                                                                                 รวม




                      ๒                            ๒                        ๒                   ๒                          ๒                                 ๑ ๑๐ ๑๐                                                                                       ๓
                                                                                                                                                             ๐                                                                                             ๐
33


๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑
๐
๑
๑
๑
๒
๑
๓

ความหมายระดับ คุณ ภาพ         ๒ หมายถึง             ดี
เกณฑ์ร ะดับ คะแนน        ๒๕ – ๓๐ = ๒
                   ๑ หมายถึง    พอใช้
    ๑๘ – ๒๔ = ๑
                           ๐ หมายถึง ปรับ ปรุง
๐ - ๑๗ = ๐
                                         เกณฑ์ก ารผ่า น ได้
    คะแนน ๑ ขึ้น ไป
                              ลงชื่อ .......................................
    ....ผู้ป ระเมิน
                                          ( .............................
   )


                    แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๓
     กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิช าภาษาไทย
           ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑
             ้
     ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน
    เวลา        ๘ ชัว โมง
                      ่
     เรื่อ ง การเขีย นแผนภาพโครงเรื่อ ง
ใช้ส อนวัน ที่ ................................................
 โดย ...............................
                                                                    34




 มาตรฐาน ท ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ
 ๒.๑          ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียน
              รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา
              ค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัว ชี้ว ัด
       มาตรฐาน ท ๒.๑ ม.๑ / ๓ เขียนบรรยายประสบการณ์
  โดยระบุสาระสำาคัญและ
รายละเอียดสนับสนุน

สาระสำา คัญ
             แผนภาพโครงเรื่อง เป็นแผนภาพที่ประกอบด้วยส่วน
ของคำาถามเกี่ยวกับเรื่องบอกให้ทราบว่าใคร ทำาอะไร ที่ไหน
อย่างไร เพราะเหตุใด และข้อคิดจากเรื่องแผนภาพโครงเรื่อง จะ
ช่วยให้สามารถบอกเหตุการณ์ของเรื่องเป็นตอน ๆ โดยอาศัยการ
คิดคำาตอบจากคำาถามในแผนภาพ และช่วยลำาดับเรื่องได้อย่างต่อ
เนื่อง ทำาให้สามารถสรุปเรื่องทั้งหมดได้

คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์
     ๑. ชื่นชมในเอกลักษณ์ความเป็นไทย
     ๒. อนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมไทย
     ๓. เผยแพร่เอกลักษณ์ความเป็นไทยได้
     ๔. นำาข้อคิดมาใช้ในชีวิตประจำาวัน
     ๕. ประยุกต์ข้อคิดใช้ให้เกิดประโยชน์

สาระการเรีย นรู้
     ๑.การเขี ย นแผนภาพโครงเรื่ อ งจากบทเรี ย น เรื่ อ ง ผั ก
สมุนไพรใบหญ้า ฯ
     ๒. การเขียนเรื่องตามแผนภาพโครงเรื่อง
35


     ๓. การเล่าเรื่องตามแผนภาพโครงเรื่อง

กระบวนการจัด การเรีย นรู้
       ขั้น ที่ ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน
แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วยนักเรียนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง
และตำ่า ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม และ
เลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรียน
      ขั้น ที่ ๒ นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาทบทวนเนื้อเรื่องผัก
      เพื่อนกัน โดยครูใช้
คำาถามถามนำานักเรียนให้นักเรียนตอบคำาถาม ดังนี้
          • ในเรื่องนี้มีตัวละครกี่คน
          • ใครคือเจ้าแจ้
          • ปู่ของต้นเป็นคนอย่างไร
          • นักเรียนมีสัตว์เลี้ยงที่บ้านหรือไม่ เป็นสัตว์ชนิดใดมีชื่อ
              อย่างไร
          • เรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรกับนักเรียนบ้าง
          • นักเรียนชอบสัตว์เลี้ยงชนิดใดมากที่สุด ในเรื่องนี้กล่าว
              ถึงหรือไม่
      ขั้น ที่ ๓ ให้แต่ละกลุ่ม ส่งตัวแทนเล่าเรื่อง เพื่อนกัน ทั้งนั้น
      ต่อกันคนละประโยคจนจบด้วยภาษาของตนเอง จากนั้นครู
      นำาเสนอแผนภูมิแผนภาพโครงเรื่อง
 (ภาคผนวก) ให้นักเรียนดูบนกระดานดำา
      ขั้น ที่ ๔ นักเรียนและครูช่วยกันอภิปราย และเติมคำาถาม
      และเหตุการณ์ตาม
แผนภาพโครงเรื่องได้ดังนี้ เช่น

       ใคร      :
     ……………………..........................................
       ที่ไ หน    :
       …………………….........................................
       เมื่อ ไร   :
       ……………………........................................
       เหตุก ารณ์ :
       ………………………………………………
36


         อย่า งไร :
       ………………………………………………
         ข้อ คิด    :
       ………………………………………………
                           ………………………………………
                         ………
          ขั้น ที่ ๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนแผนภาพโครง
เรื่องเพื่อนกัน
ลงในแบบฝึกหัดรายกลุ่ม ชุดที่ ๓.๑ ( ท้ายแผน ) นำาส่งครูตรวจ
สอบและประเมินคุณภาพ
       ขั้น ที่ ๖ นักเรียนทุกคนทำาแบบฝึกหัดชุดที่ ๓.๒ ( ท้ายแผน
       ) ชุด เขียนเรื่อง
 เพื่อนกัน ด้วยภาษาของตนเอง เสร็จแล้วครูตรวจสอบและแนะนำา
แก้ไขข้อบกพร่องนักเรียนเก็บลงในแฟ้มสะสมผลงาน

สื่อ / แหล่ง เรีย นรู้ / บุค คล

ลำา ดั      รายการสื่อ                กิจ กรรมที่ใ ช้        แหล่ง ที่ไ ด้
     บ                                                         มา
     ท
     ีี
     ี่
  ๑     บัตรคำาศัพท์              นักเรียนเรียนรู้คำาศัพท์   ครูจัด
                                  และบอกความหมาย             เตรียม
   ๒     แฟ้มสะสมผลงาน            นักเรียนเก็บสะสมผล         ครูจัดทำา
                                  งาน
   ๓     แบบฝึกหัดชุดที่          นักเรียนทำาใบงานกลุ่ม      ครูจัดทำา
         ๓.๑
   ๔     แบบฝึกหัดชุดที่          นักเรียนทำาแบบฝึกหัด       ครูจัดทำา
         ๓.๒
   ๕     หนังสือเรียน ชุด         นักเรียนดูภาพและฝึก        ครูจัดหา
         วิวิธภาษา                อ่าน
         ชั้น ม.๑
   ๖     เฉลยแบบฝึกหัด            ตรวจสอบแบบฝึกหัด           ครูจัดทำา
37


   ๗    แบบประเมินการ          บันทึกการสังเกต         ครูจัดทำา
        สังเกต                 พฤติกรรม และบันทึก
        พฤติกรรม และแบบ        ผลงานรายบุคคล
        ประเมินผลงานราย
        บุคคล




วัด ผลประเมิน ผล


กิจกรรมที่ประเมิน    เครื่อ งมือ ที่ใ ช้   วิธ ีก าร    เกณฑ์ก าร
                            ใน             ประเมิน       ประเมิน
                       การประเมิน
๑. สังเกต           แบบประเมินการ          สังเกตราย   ๑๖           =
พฤติกรรมด้าน        สังเกต                     บุคคล   ดีมาก
   คุณลักษณะ        พฤติกรรม และ                       ๑๓ – ๑๕ =
                    แบบประเมินผล                       ดี
                    งาน                                ๑๐ – ๑๔ =
                                                       พอใช้
                                                       ตำ่ากว่า ๑๐ =
                                                       ปรับปรุง
๒. นักเรียนเล่า     แบบบันทึกผลงาน ตรวจงาน             ๕ = ดีมาก
เรื่อง              รายกลุ่ม       รายกลุ่ม            ๔ = ดี
                                                       ๓ = พอใช้
                                                       ตำ่ากว่า ๓ =
                                                       ปรับปรุง
๒. นักเรียนเขียน    แบบบันทึกผลงาน ตรวจงาน             ๘ - ๑๐ = ดี
แผนภาพ              รายกลุ่ม       รายกลุ่ม            มาก
   โครงเรื่อง                                          ๖ – ๗ = ดี
                                                       ๕ = พอใช้
                                                       ตำ่ากว่า ๕ =
                                                       ปรับปรุง
๓. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินราย            สังเกตราย   ๘ - ๑๐ = ดี
38


 ฝึกหัด               กลุ่ม                      กลุ่ม     มาก
                                                           ๖ – ๗ = ดี
                                                           ๕ = พอใช้
                                                           ตำ่ากว่า ๕ =
                                                           ปรับปรุง
 ๔. นักเรียนตอบ       แบบประเมินการ          ตรวจงาน       ๘ - ๑๐ = ดี
 คำาถาม               สังเกต                     ราย       มาก
                      พฤติกรรม และ              บุคคล      ๖ – ๗ = ดี
                      แบบประเมินผล                         ๕ = พอใช้
                      งาน                                  ตำ่ากว่า ๕ =
                                                           ปรับปรุง




 การสัม พัน ธ์ก ับ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้อ ื่น
   คำา ชี้แ จง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ สัมพันธ์กับสาระการ
   เรียนรู้อื่น ดังนี้


                          สัง คมศึก ษา ฯ
                          กระบวนการทำางาน
                  กลุ่ม

วิท ยาศาส           การเขีย นแผนภาพ                        ภาษา
    ตร์                โครงเรื่อ ง                        อัง กฤษ
                                                         การเรียนรู้
   การ                                                   ความหมาย
วิเคราะห์                                                 ของคำา
   หาความ                                                ในบทเรียน
หมาย                       ศิล ปศึก ษา
                    การเขียนแผนภาพ
                  โครงเรื่อง
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1krusu01
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
Verb to_..
Verb  to_..Verb  to_..
Verb to_..
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 

Similar a บทที่ ๓ เพื่อนกัน

แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
Relation sufficiency1
Relation sufficiency1Relation sufficiency1
Relation sufficiency1wongsrida122
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55wongsrida
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 

Similar a บทที่ ๓ เพื่อนกัน (20)

Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Relation sufficiency1
Relation sufficiency1Relation sufficiency1
Relation sufficiency1
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 

บทที่ ๓ เพื่อนกัน

  • 1. 1 บทที่ ๓ เพื่อ นกัน แผนผัง มโนทัศ น์ ชุด วิว ธ ภาษา ชัน ม .๑ ิ ้ บทที่ ๓ เพือ นกัน ่ ดูภ าพ ฟัง การอธิบ าย ฟัง เรื่อ งสั้น ประกอบ เขีย น ฟัง ดู พูด รายงาน วิเ คราะห์ หน้า ชัน ้ เขีย น เพื่อ นกัน พูด เขีย นประโยค การพูด เล่า เรื่อ ง อ่า น คำา กริย า การอ่า นใน คำา สรรพนาม ใจ
  • 2. 2 แผนการจัด การเรีย นรู้ ที่ ๑ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิช าภาษาไทย ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน เวลา ๘ ชั่ว โมง เรื่อ ง การอ่า นในใจ เวลา ๑ ชั่ว โมง มาตรฐาน ท ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อ ๑.๑ นำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัว ชี้ว ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑ / ๒ จับใจความสำาคัญจากเรื่องที่ อ่าน สาระสำา คัญ การอ่านในใจคือการกวาดสายตาไปยังข้อความจาก หนังสือ พุ่งความสนใจ ไปยังสาระที่อ่าน แล้วเก็บใจความสำาคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถ ถ่ายโอนสาระที่อ่าน ไปยังผู้อื่นได้ด้วยทั้งพูดและการเขียน จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ ๑. อ่านในใจและเก็บใจความสำาคัญของเรื่องได้ ๒. ถ่ายโอนสาระเรื่องราวที่อ่านไปยังผู้อื่นได้ ๓. บอกความหมายคำาใหม่ในบทเรียนได้ คุณ ลัก ษะอัน พึง ประสงค์ ๑. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๒. เป็นผู้นำาและผู้ตามที่ดี ๓. มีความภาคภูมิใจในภาษาไทย ๔. อ่านและเก็บใจความสำาคัญของเรื่องได้ ๕. รู้จักประหยัดและอดทน สาระการเรีย นรู้
  • 3. 3 ๑. อ่านในใจเรื่อง “เพื่อนกัน” ๒. เล่าเรื่อง “ เพื่อนกัน” ๓. วิเคราะห์คุณค่าของบทเรียนได้ ๔. ทำาแบบทดสอบก่อนเรียน กระบวนการเรีย นรู้ ๑. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับบทเรียน สาระ ของหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดวิวิธภาษา ชั้น ม.๑ ครูอธิบายว่า เนื้อหาสาระส่วนมากเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการอ่านเรื่องสั้น หลัก ภาษาไทยและการนำาภาษาไปใช้ตามสถานการณ์ต่างๆ ผู้เรียนจะได้ ฝึกทักษะเน้นหนักไปพร้อมๆกันทั้ง ฟัง ดู พูด อ่าน และเขียน ๒. นักเรียนทุกคนทำาแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง เพื่อนกัน จากนั้นนำาส่งครูตรวจสอบความถูกต้องและประกาศผลโดยที่ยังไม่ ต้องเฉลย ๓. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง “ การอ่านในใจ ” ( ท้าย แผน ) จากนั้น นักเรียนอ่านในใจบทเรียนเรื่อง “ เพื่อนกัน” ใน หนังสือเรียน ชุด วิวิธภาษา หน้า ๓๔ – ๓๘ ครูตั้งคำาถามให้ นักเรียนแข่งขันกันตอบ ๕ – ๑๐ คำาถาม ๔. นักเรียนทำาแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ ๑ ( ท้ายแผน ) ชุด ตอบคำาถาม จากนั้นนำาส่งครูตรวจสอบประเมินผลและประกาศผล การประเมิน พร้อมทั้งแนะนำาแก้ไขข้อบกพร่องเป็นรายๆ ๕. ครูมอบหมายให้นักเรียนไปเตรียม กล่องกระดาษ ( ควร ใช้กล่องกระดาษที่มีขนาดเท่ากัน เช่นกล่องนมโรงเรียน ) กรรไกร สี กาว เข็ม ด้าย เพื่อนำามาทำาเป็นกล่องเก็บสะสมผลงาน ให้ นักเรียนนำามาในชั่วโมงต่อไป สื่อ / แหล่ง เรีย นรู้ / บุค คล ลำา ดั รายการสื่อ กิจ กรรมที่ใ ช้ แหล่ง ที่ไ ด้ บ มา ท ีี ี่ ๑ ใบความรู้เรื่องการ นักเรียนศึกษาวิธีการ ครูจัด อ่านในใจ อ่านในใจ เตรียม ๒ แบบทดสอบก่อน นักเรียนทำาแบบ ครูจัดทำา
  • 4. 4 เรียน ทดสอบก่อนเรียน ๓ แบบฝึกหัดชุดที่ ๑ นักเรียนตอบคำาถาม ครูจัดทำา ๔ หนังสือเรียน ชุด นักเรียนดูภาพและฝึก ครูจัดหา วิวิธภาษา ชั้น ม. ๑ อ่าน ๕ เฉลยแบบทดสอบ ตรวจสอบแบบทดสอบ ครูจัดทำา ก่อนเรียน ตรวจสอบการจับคู่ เฉลยแบบฝึกหัด ๖ แบบประเมินการ บันทึกการสังเกต ครูจัดทำา สังเกต พฤติกรรม และบันทึก พฤติกรรม และแบบ ผลงานรายบุคคล ประเมินผลงานราย บุคคล 1 วัด ผลประเมิน ผล กิจกรรมที่ประเมิน เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ วิธ ีก าร เกณฑ์ก าร ใน ประเมิน ประเมิน การประเมิน ๑. สังเกต แบบประเมินการ สังเกตราย ๑๖ = พฤติกรรมด้าน สังเกต บุคคล ดีมาก ความพอเพียง พฤติกรรม และ ๑๓ – ๑๕ = แบบประเมินผล ดี งาน ๑๐ – ๑๔ = พอใช้
  • 5. 5 ตำ่ากว่า ๑๐ = ปรับปรุง ๒. นักเรียนทำาแบบ แบบทดสอบก่อน ตรวจงาน ๒๖ – ๓๐ = ทดสอบ เรียน รายบุคคล ดีมาก ก่อนเรียน ๑๘ - ๒๕ = ดี ๑๕ – ๑๖ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๑๕ ปรับปรุง ๓. นักเรียนร่วม แบบประเมินราย สังเกตราย ๕ = ดีมาก สนทนาและ กลุ่ม บุคคล ๔ = ดี ตอบคำาถาม ๓ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๓ = ปรับปรุง ๔. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินการ ตรวจงาน ๘ - ๑๐ = ดี ฝึกหัด สังเกต ราย มาก พฤติกรรม และ บุคคล ๖ – ๗ = ดี แบบประเมินผล ๕ = พอใช้ งาน ตำ่ากว่า ๕ = ปรับปรุง ๔. นักเรียนอ่านใน แบบประเมินการ ตรวจงาน ๕ = ดีมาก ใจ สังเกต ราย ๔ = ดี พฤติกรรม และ บุคคล ๓ = พอใช้ แบบประเมินผล ตำ่ากว่า ๓ = งาน ปรับปรุง การสัม พัน ธ์ก ับ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้อ ื่น
  • 6. 6 คำา ชี้แ จง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ สัมพันธ์กับสาระการ เรียนรู้อื่น ดังนี้ สัง คมศึก ษา ฯ การปฏิบัติตนต่อสมาชิก ในครอบครัว วิท ยาศาส การอ่า นในใจ ภาษา ตร์ อัง กฤษ การเรียนรู้ การ ความหมาย วิเคราะห์เรื่อง ของคำา และเหตุการณ์ ต่างๆ ศิล ปศึก ษา การตั้ง การเตรียมวัสดุ สมมุติฐาน บัน ทึก ผลหลัง กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………………………………… ………………………… ปัญหา / อุปสรรค
  • 7. 7 …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… … ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………………………………… ………………………… ลงชื่อ…………………….... ………… ( ...................................... ) ตำาแหน่ง ครูวิทยฐานะชำานาญการ บัน ทึก ข้อ เสนอแนะของผู้บ ริห ารหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย …………………………………………………………………… …………………………………. …………………………………………………………………… …………………………………. …………………………………………………………………… … ลงชื่อ………………………………… ….. ( ..................................... ) ตำาแหน่ง ผู้อำานวยการ โรงเรียน....................... ใบความรู้ เรื่อ งหลัก การอ่า นในใจ
  • 8. 8 การอ่านในใจ เป็นการอ่านเพื่อเก็บใจความสำาคัญและ ทำาความเข้าใจ เป็นการอ่านเพื่อแสวงหาความรู้ความบันเทิงให้แก่ ตนเอง ผู้อ่านต้องมีความรู้เกี่ยวกับคำาศัพท์และสามารถเข้าใจเรื่อง ราวที่อ่านได้โดยตลอด หลัก ทั่ว ไปของการอ่า นในใจ การอ่านได้เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับคุณสมบัติบางประการของผู้ อ่าน ดังนี้ ๑. วงศัพ ท์ ถ้าผู้อ่านรู้ศัพท์มาก คือรู้ความหมายที่แท้ จริงของถ้อยคำา สำานวน ในบทอ่านก็จะสามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดีและรวดเร็ว ถ้ารู้ศัพท์ น้อยก็ไม่อาจจับใจความของเรื่องที่อ่าน เป็นการอ่านที่เสียเวลา และอาจนำาไปสื่อสารต่อไปอย่างผิดๆ ๒. ช่ว งสายตา การอ่านที่ดีควรอ่านเป็นกลุ่มไม่ใช่ อ่านทีละคำา ยิ่งผู้อ่านมีช่วงสายตายาว คืออ่านได้ทีละกลุ่มใหญ่ และเลื่อนช่วงสายตาไปข้างหน้าได้เร็วเพียงใดก็สามารถอ่านได้เร็ว เพียงนั้น กลุ่มคำาที่ขีดคั่นต่อไปนี้เป็นกลุ่มคำาที่ควรทอดสายตา แต่ละช่วง งานที่สนุกที่หนึ่ง / ในวัดเบญจมฯ / คืองานออกร้าน / ใน วัดนี้ ๓. การเคลื่อ นไหวริม ฝีป าก ตามธรรมดาการอ่าน ในใจย่อมอ่านได้เร็วกว่า การอ่านออกเสียง เพราะการอ่านออกเสียงต้องอ่านทีละคำา ถึงแม้ จะเป็นการอ่านในใจ ถ้า ต้องทำาปากขมุบขมิบริมฝีปากตามไปด้วยก็ทำาให้เสียเวลาไล่เลี่ยกับ การอ่านออกเสียง การอ่านในใจที่ถูกต้องจึงไม่ควรเคลื่อนไหวริม ฝีปากในขณะอ่าน ๔. ระยะสายตา การอ่านหนังสือที่พอเหมาะแก่ระยะ สายตา จะช่วยให้เห็นชัดและสบายตา คือระยะ ๑๕ นิ้ว การอ่าน หนังสือทีอยู่ห่างจากตามากหรือน้อยกว่าระยะนี้จะอ่านได้ไม่ชัดและ ่ เป็นอันตรายต่อสายตา ๕. ความมุ่ง หมาย การอ่านจะได้ผลดีที่สุดต่อเมื่อผู้ อ่านมีความต้องการรู้เรื่องในข้อความที่อ่าน ผู้อ่านจะสามารถจับใจ ความสำาคัญได้ดีและเร็ว ถ้าความมุ่งประสงค์ของผู้อ่านและผู้เขียน ตรงกัน กล่าวคือผู้อ่านใคร่รู้เรื่องที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารแก่ผู้อ่าน ในการอ่านแต่ละครั้งควรตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ ชัดเจนว่าต้องการรู้เรื่อง
  • 9. 9 อะไร โดยพยายามตั้งคำาถามจากชื่อบทหรือหัวข้อที่อ่านแล้วหาคำา ตอบจากบทอ่านนั้น วิธ ีก ารอ่า นในใจ การอ่านในใจอาจแบ่งตามความมุ่งหมายได้ ๒ วิธี คือ อ่านอย่างเร็วและอ่านอย่างละเอียด ๑ อ่า นอย่า งเร็ว การอ่านอย่างเร็วเป็นการอ่านผ่านๆไป อย่างรวบรัด อาจข้ามตอนใดตอนหนึ่งหรือใจความส่วนใหญ่ใช้ ในกรณีที่เรื่องนั้นๆคุ้นและเป็นที่น่าสนใจ หรือ รู้สึกสนุกสำาหรับผู้อ่าน ถึงแม้จะมีคำาบางคำาที่เป็นคำาแปลกใหม่ไม่รู้ จักมาก่อนก็อาจข้ามไปได้ บางทีผู้อ่านไม่ได้สังเกตเห็นด้วยซำ้าไป การอ่านอย่างเร็วใช้ในการอ่านข้อความประเภทนวนิยาย เรื่องสั้น บทความ ชื่อเฉพาะที่คุ้นเคย เช่นชื่อห้าร้าน ชื่อสินค้า พาดหัว หนังสือพิมพ์ การค้นหาคำา หรือข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นต้น โดยทั่วไปการอ่านอย่างเร็วอาจทำาได้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายๆอย่างพร้อมกัน ตามหัวข้อต่อไปนี้ ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการอ่าน 1 อ่านเฉพาะหัวข้อเรื่อง หัวข้อเรื่องมักพิมพ์ด้วยตัวหนา 2 พิจารณาใจความสำาคัญของแต่ละย่อหน้า ใจความ สำาคัญมักปรากฏอยู่ใน ประโยคตอนต้น หรือตอนท้ายของย่อหน้า 3. หาชื่อ สถานที่ วันที่ คำาจำากัดความ กฎเกณฑ์ หรือ ข้อคิดที่สำาคัญ 4. อ่านอักษรตัวหนา ตัวเอน และเครื่องหมายอื่นๆที่แสดง ความคิดที่สำาคัญ 5. พิจารณาโครงเรื่องหรือองค์ประกอบของข้อความ เพื่อ หาใจความสรุป ระหว่างความคิดเห็น ข้อเท็จจริง และกฎเกณฑ์ต่างๆ การอ่านอย่างเร็วมีความจำาเป็นที่จะต้องใช้ควบคู่ไปกับ การอ่านอย่างละเอียด คือก่อนลงมืออ่านข้อความอย่างละเอียดควรได้อ่านอย่างเร็วมาล่วง หน้าแล้ว และเมื่ออ่าน อย่างละเอียดแล้วก็กลับมาอ่านอย่างเร็วอีกครั้งหนึ่ง ๒ การอ่า นอย่า งละเอีย ด การอ่านอย่างละเอียดคือ การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์
  • 10. 10 เพื่อให้เข้าใจทุกสิ่งทุกอย่างทีอ่าน ขณะที่อ่านอย่างละเอียดควร ่ หยุดตั้งคำาถามไปด้วยว่าได้อะไรบ้างจากการอ่าน อาจบันทึก ถ้อยคำาหรือหัวข้อสำาคัญไว้ด้วย เมื่ออ่านจบแต่ละบทให้ นึกย้อนกลับไปใหม่ว่าจะจัดลำาดับความสำาคัญและข้อเท็จจริงที่ได้ จากการอ่านอย่างไร การจับ ใจความสำา คัญ ข้อความหนึ่งย่อหน้าจะมีใจความสำาคัญเพียงประการ เดียว ใจความสำาคัญนี้ปรากฏอยู่ในประโยคใดประโยคหนึ่ง ซึ่ง เรียกว่าประโยคใจความสำาคัญ ส่วนข้อความประโยคอื่นๆเป็นเพียง พลความ คือทำาหน้าที่ประกอบประโยคใจความสำาคัญนั้นๆ เพราะ ฉะนั้นข้อความหนึ่งย่อหน้าประกอบไปด้วยใจความสำาคัญ ๑ ประโยค และประโยค ประกอบซึ่งอาจมีได้หลายประโยค สุดแต่ผู้เขียนจะขยายความมาก หรือน้อย ข้อความหนึ่ง ย่อหน้าจำาต้องมีใจความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน คือประโยคอื่นๆ ที่ ประกอบหรือขยาย ประโยคใจความสำาคัญต้องมีใจความอย่างเดียวกันกับใจความ สำาคัญ และทำาหน้าที่เสริม ใจความประโยคใจความสำาคัญให้แจ่มแจ้ง ประโยคหนึ่งประโยค ใดที่มีใจความคนละอย่างกับประโยคใจความสำาคัญจะรวมอยู่ในย่อ หน้านั้นๆ ไม่ได้ต้องตัดทิ้งไปหรือไม่ก็แยกออกไปเป็นย่อหน้าใหม่ ประโยคประกอบแต่ละประโยคอาจมีประโยคประกอบย่อย ได้อีก และอาจมีจำานวนประโยคประกอบย่อยมากน้อยสุดแต่ ใจความ การอ่า นตีค วาม โดยทั่วไปการอ่านมีจุดประสงค์ เพื่อทำาความเข้าใจหรือ ที่เรียกว่ารู้เรื่องหรือรู้เนื้อหาที่อ่านแล้วจับใจความให้ได้ว่าข้อความ นั้นๆ มีใจความสำาคัญประการใด ส่วนใดเป็นใจความประกอบหรือ พลความ ต่อจากนั้นอาจพิจารณาถึงข้อเท็จจริงหรือความรู้และ ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน อย่างไรก็ดีในการอ่านระดับที่สูง ขึน ควรจะได้พิจารณาถึงจุดประสงค์ หรือเจตนาของข้อความว่า ้ ต้องการสื่อถึงอ่านในลักษณะใด อาจเพื่อบอกเล่า ให้ความรู้ชี้แนะ ตักเตือน สั่งสอน ติเตียน หรือประชดประชัน นอกจากข้อความที่
  • 11. 11 อ่านจะแสดงจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วยังแฝงนำ้าเสียงของผู้ เขียนว่ามีความรู้สึกอย่างไร เช่นเห็นใจ ชื่นชอบ รังเกียจ เสียดสี หรือยั่วเย้า การอ่านที่มีประสิทธิภาพจึงไม่ใช่เพียงอ่านรู้เรื่องหรือ จับใจความสำาคัญได้ จำาต้องพิจารณาให้เห็นลักษณะคุณค่าของ เรื่องที่อ่านในด้านต่างๆตามที่กล่าวมาแล้ว จึงจะได้ประโยชน์จาก การอ่านอย่างสมบูรณ์ แบบทดสอบประจำา บทที่ ๓ เพือ นกัน ่ ตอนที่ ๑ จงเลือกคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๑. ข้อคิดที่ได้จากบทเรียนเรื่อง “ เพื่อนกัน” คืออะไร ก. คนที่มีวัยต่างกันย่อมมีพฤติกรรมที่ต่างกัน ข. คนในวัยเดียวกันแต่สนใจคนละอย่างย่อมมี พฤติกรรมที่ต่างกัน ค. คนในวัยที่แตกต่างกันสนใจคนละอย่างย่อมมี พฤติกรรมที่ต่างกัน ง. คนที่อยู่ในวัยต่างกันต้องเข้าใจพฤติกรรมซึ่งกันและ กัน ๒. เจ้าแจ้ เป็นชื่อของสิ่งใด ก. ไก่ ข. สุนัข ค. แมว ง. นก ๓. สิ่งใดแสดงให้เห็นว่าครอบครัวของต้นมีพฤติกรรมความ พอเพียงด้านเศรษฐกิจ ก. เลี้ยงไก่ไว้บริโภค ข. ปลูกพืชผักสวน ครัวไว้กิน ค. ปลูกพืชผักสวนครัวไว้ขาย ง. เลี้ยงปลาไว้ หลังบ้าน ๔. แม่อั้ว ในบทเรียนนี้คือใคร ก. คนสวน ข. คนดูแลบ้าน ค. คนทำาไร ง. แม่ของต้น ๕. ต้น ทำาไมไม่ค่อยชอบเจ้าแจ้
  • 12. 12 ก. เพราะเจ้าแจ้ไม่ใช่คน ข. เพราะเจ้าแจ้เป็น สัตว์ ค. เพราะเจ้าแจ้ชอบไล่เตะต้น ง. เพราะทำาให้ ต้นโดนดุประจำา ๖. ตัวเชื่อมสมานฉันท์ระหว่าปู่กับต้นคือใคร ก. แม่ ข. พ่อ ค. อัว ้ ง. เจ้าแจ้ ๗. คำาว่า “ ฮอร์โมนเหลือ” หมายความว่าอย่างไร ก. ทำาอะไรพิสดารเกินธรรมดา ข. ทำาอะไรขวางหู ขวางตา ค. ทำาอะไรไม่ถูกไม่ควร ง. ทำาอะไรเกินความ เป็นจริง ๘. ครอบครัวของต้นมีทั้งหมดกี่คน ก. ๒ คน ข. ๓ คน ค. ๔ คน ง. ๕ คน ๙. ทำาไมคนที่อยู่ในวัยเด็กจึงชอบรำาคาญคนแก่ ก. เพราะคนแก่น่ารำาคาญ ข. เพราะคนแก่ไม่ เข้าใจเด็ก ค. เพราะเด็กไม่เข้าใจคนแก่ ง. เพราะต่าง ไม่เข้าใจกัน ๑๐. สิ่งที่เด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการมากที่สุดคือสิ่งใด ก. ความรักจากพ่อแม่ ข. ความรักจากเพศ ตรงข้าม ค. ความสนใจจากคนรอบข้าง ง. ความเป็น อิสระ ๑๑. คำาว่า “ เยอะแยะ” ควรใช้คำาใดแทนจึงจะสุภาพ ก. ล้นเหลือ ข. เหลือเฟือ ค. เกินพิกัด ง. มากมาย ๑๒. ข้อใดเป็นภาษาเขียน ก. เป็นเรื่องจริง น่ะเรอะ ข. ไม่จริงซักหน่อย ค. เรื่องไม่มีมูลความจริง ง. ไม่เห็นได้เรื่องเลย ๑๓. ข้อใดเป็นภาษาพูด ก. ถอยห่างอีกนิดนึงสิ ข. ผมไม่ชอบความ วุ่นวาย ค. ดอกจำาปาหล่นเกลื่อนพื้น ง. คุณจะมา หรือไม่มาก็บอกด้วย
  • 13. 13 ๑๔. “ สามโจรใต้กดบึ้มตลาดสดปักดงวอด” ควรใช้สำานวนใด แทนจึงจะสุภาพ ก. โจรภาคใต้สามคนทิ้งระเบิดที่ตลาดปักดงได้รับความ เสียหาย ข. สามโจรใต้ระเบิดตลาดสดปักดงวอดวายเสียหายยับ เยิน ค. โจรใต้ระเบิดตลาดปักดงได้รับความเสียหายยับเยิน ง. โจรใต้สามคนระเบิดตลาดปักดงวอดวาย ๑๕. “ ฉันไปตลาดพบคุณ ยายของเธอกำาลังซื้อของ” คำาว่า คุณ ยาย คำาสรรพนาม ชนิดใด ก. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๑ ข. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๒ ค. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๓ ง. วิภาคสรรพนาม บุรุษที่ ๓ ๑๖. “ ฉันกับแกต้องได้เห็นดีกัน” คำาว่า แก เป็นคำา สรรพนามชนิดใด ก. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๑ ข. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๒ ค. บุรุษสรรพนาม บุรุษที่ ๓ ง. ปฤจฉาสรรพนาม ๑๗. ใครจะไปตลาดกับฉันบ้าง ใคร เป็นสรรพนามชนิดใด ก. บุรุษสรรพนามที่ ๒ ข. ปฤจฉาสรรพนาม ค. วิภาคสรรพนาม ง. นิยมสรรพนาม ๑๘. ................................จำาพรรษาอยู่วัดนี้หรือขอรับ ควร เติมคำาใดลงในช่องว่าง ก. ท่าน ข. พระองค์ ค. พระองค์ท่าน ง. พระคุณเจ้า ๑๙. “คุณลุงของฉัน .......................เป็นคนขี้หลงขี้ลืม” ควร เติมคำาใดลงในช่องว่าง ก. ท่าน ข. แก ค. เธอ ง. เขา ๒๐. “ถ้าเธอมาไม่ได้ ............จะเป็นคนไปหาเธอเอง” ควร เติมคำาใดลงในช่องว่าง ก. ฉัน ข. เธอ ค. เขา ง. แก
  • 14. 14 ตอนที่ ๑ ๑. เข้าพรรษาปี นี้ ...................................จะจำาพรรษาที่วัดไหน ตอนที่ ๒ ( ๑๐ คะแนน ) ครับ ๑. คำา ชี้แ จ ให้นักเรียนเติมคำาบุรุษสรรพนามที่เหมาะสมลง ๒. คุณลุงของฉัน ..............................เป็น ในช่องว่างต่อไปนี้ คนขี้หลงขีลืม ้ ๓. ถ้าเธอมาไม่ได้ .......................จะเป็น คนไปหาเธอเอง ๔. คุณแม่ของผม...................ไม่สบายนอน ซมอยู่ในห้อง ๕. .........................ขอนิมนตร์พระคุณเจ้า ไปฉันเพลที่บ้านขอรับ ๖. พี่แดงครับ เมื่อไหร่คุณ ป้า............................จะมาเยี่ยมเราอีก ๗. …………..ไม่ได้จำาพรรษาอยู่ที่วัดนี้หรอก โยม ๘. นายมัน………….เป็นคนใจดี ่ ๙. เมื่อไหร่………….จะมาหาลูกและภรรยา ๑๐. ขอเดชะ……………….ขอพระองค์จงทรง พระเจริญยิ่งยืนนาน ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนหาคำาที่เป็นคำาสรรพนามใน ประโยคต่อไปนี้ แล้ว บอกว่าเป็นบุรุษสรรพนามชนิดใด
  • 15. คุณยายครับ ให้ต้นไปทำาบุญด้วยคนนะครับ คุณป้าครับ ถึงแม้คุณลุงไม่ว่างมาก็ขอให้คุณป้ามา งานผมนะครับ 15 เค้าซื่อขนมมาฝากตัวด้วยหละ เอ้านี่ รับไปซิจ๊ะ ข้อ ๑ ....................................................... ........................................... ข้อ ๒ ....................................................... .......................................... ข้อ ๓ ....................................................... ........................................... ชือ .................................................................เลข ่ ที่ ..................... ชัน ............... ้ ๒. คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนเปลี่ยนคำา วลี ต่อไปนี้ให้เป็น ภาษาเขียน ลำาดับ ภาษาพูด ภาษาเขียน ที่ ๑ เยอะแยะ ๒ เลอะเทอะ ๓ ลามปาม ๔ ถี่ยิบ ๕ ถีบหัวส่ง
  • 16. 16 ๖ เฉไฉไปที่อื่น ๗ ฮัลโล จะพูดกับใครครับ ๘ เขาเอาน้องไปกรุงเทพ ๙ คุณเขารุดไปล่วงหน้าแล้ว ๑๐ ธุระผมก็ไม่ใช่ ชือ .................................................................เลข ่ ที่ ..................... ชัน ............... ้ เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น – หลัง เรีย น บทที่ ๓ 1. ก 2. ก 3. ข 4. ข 5. ง 6. ง 7. ก 8. ง 9. ค 10. ง 11. ง 12. ก 13. ก 14. ก 15. ค 16. ข 17. ข 18. ง 19. ก 20. ก
  • 17. 17 แบบฝึก เสริม ทัก ษะ ชุด ที่ ๑ คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ ๑. ครอบครัวของต้นมีลักษณะอย่างไร มีสมาชิกใน ครอบครัวกี่คน ๒. ปู่ของต้นมีพฤติกรรมอย่างไร อายุประมาณเท่าใด ๓. เจ้าแจ้คือชื่อของอะไร เข้ามาอยู่ในบ้านของต้นอย่างไร ๔. ทำาไม่ต้นจึงอิจฉาเจ้าแจ้อยู่เสมอ
  • 18. 18 ๕. นักเรียนคิดว่าแม่ของต้นอยู่ในบ้านเดียวกับต้นหรือไม่ เหตุใดจึงคิดเช่นนั้น ๖. ในเรื่องนี้ คำาว่า “ เพื่อนกัน” หมายถึงใครกับใคร ๗. พ่อของต้นมีนิสัยอย่างไร ข้อความประโยคใดแสดงให้ เห็นว่าเขาเป็นเช่นนั้น ๘. ใครพาเจ้าแจ้ไปหาหมอ ไปอย่างไร ๙. ครอบครัวของต้นดำาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง หรือไม่ อย่างไร ๑๐. ปู่เป็นคนมีเหตุผลหรือไม่ข้อความตอนใดแสดงให้เห็นว่า กระดาษคำา ตอบแบบฝึก เสริม ทัก ษะ ชุด ที่ ๑ ปู่เป็นคนมีเหตุผลที่ดี ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ...............................................................
  • 19. ....................................................................... ................................................................. .........................................................................19 ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ......................................................................... ............................................................... ....................................................................... ................................................................. ชือ .................................................................เลข ่ ที่ ..................... ชัน ...............ย นรู้ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ แบบบัน ทึก ผลการประเมิน การเรี ้ ภาษาไทย ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน ประกอบแผนการเรีย นรู้ท ี่ ๑ เรื่อ งการอ่า นในใจ ด้า นคุณ ลัก ษณะอัน ด้า นผล รวม พึง ประสงค์ งาน
  • 20. ข ๐ ๖ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๔ ๕ ๔ ๒ ๒ ๓ ๓ ๘ ที่ ๙ ๗ เล ชื่อ – สกุล ๒ มีค วามสนใจใฝ่เ รีย นรู้ ๒ เป็น ผู้น ำา และผู้ต ามที่ด ี ๒ มีค วามรัก และภูม ิใ จในภาษาไทย ๒ อ่า นและเก็บ ใจความสำา คัญ ของเรื่อ ง ๒ รู้จ ัก ประหยัด อดทน ๐ ๑ รวมคะแนนด้า นคุณ ลัก ษณะ ฯ การทำา แบบทดสอบก่อ นเรีย น ทำา แบบฝึก เสริม ทัก ษะ ชุด ที่ ๑ ๐ ๓๐ ๑๐ ๕ 20 ผ่า น / ไม่ผ ่า น
  • 21. 21 ความหมายระดับ คุณ ภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ร ะดับ คะแนน ๔๕ – ๕๐ = ๒ ๑ หมายถึง พอใช้ ๓๐ – ๔๔ = ๑ ๐ หมายถึง ปรับ ปรุง ๐ - ๒๙ = ๐ เกณฑ์ก ารผ่า น ได้ คะแนน ๑ ขึ้น ไป ลงชื่อ ....................................... ....ผู้ป ระเมิน ( ............................... ............ ) แบบประเมิน ผลการทดสอบก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น ประกอบแบบฝึก หัด ประจำา บทเรีย น กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ภ าษาไทย ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน ทดสอบ ทดสอบ เลขที่ – ชื่อ – สกุล ก่อ น หลัง ผล ผล สรุ เรีย น เรีย น ต่า ง ต่า ง ป ๒ ๓๐ ๓๐ ๑ ผ่า น ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
  • 22. 22 ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ รวมทั้ง หมด เฉลี่ย ค่า เบี่ย งเบนมาตรฐาน ร้อ ยละ แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๒ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิช าภาษาไทย ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ ้ ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน เวลา ๘ ชัว โมง ่ เรื่อ ง วิเ คราะห์เ นื้อ หาบทเรีย น เวลา ๑ ชั่ว โมง ใช้ส อนวัน ที่ ................................................ โดย นางกิต ิก าญจน์ ฤทธิ์บ ำา รุง มาตรฐาน ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อ
  • 23. 23 ท ๑.๑ นำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัว ชี้ว ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑ / ๓ ระบุเหตุและผล และข้อเท็จ จริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน สาระสำา คัญ การวิเคราะห์บทเรียนเป็นการสอดแทรกความรู้สึกส่วนตัวเพื่อ คิดวิเคราะห์สาระที่กำาลังศึกษา ผู้แสดงความคิดเห็นควรใช้ภาษาที่ สุภาพไม่กระทบกระเทือนถึงบุคคลอื่นและแสดงความคิดเห็นในด้าน พยุง จรรโลงและสร้างสรรค์สังคมให้ดีงาม ต้องมีความรู้ลึกซึ้งใน เรื่องคำาและสำานวนภาษาเพื่อให้ใช้ได้ถูกต้องตามบริบท จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ ๑. นักเรียนบอกเนื้อหาสาระในบทเรียนได้ ๒. นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นในบทเรียนได้ ๓. นักเรียนนำาข้อคิดจากเรื่องมาใช้ในชีวิตประจำาวันได้ คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑. รักและชื่นชมในเอกลักษณ์ไทย ๒. คิดวิเคราะห์เรื่องราวต่างๆได้ ๓. มีวินัยในตนเอง ๔. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง สาระการเรีย นรู้ ๑. การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อบทเรียน ๒. การสรุปเนื้อหาในบทเรียน ๓. การนำาข้อคิดจากบทเรียนมาประยุกต์ใช้ การจัด กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ขั้น ที่ ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วยนักเรียนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และตำ่า ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม และ เลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรียน ขั้น ที่ ๒. นักเรียนทุกคนนำาวัสดุอุปกรณ์ที่ครูให้เตรียมมา เป็นการบ้าน มารวมกันไว้ตามกลุ่ม จากนั้นครูแจกกระดาษชาร์ทสี ให้แต่ละกลุ่มตามจำานวนคน ครูนำาตัวอย่างกล่องเก็บผลงานของ
  • 24. 24 นักเรียนรุ่นก่อนมาให้ดู นักเรียนทุกคนออกแบบกล่องเก็บผลงาน ของตนเอง วาดภาพระบายสีลงในแผ่นชาร์ทแล้วนำามาติดไว้ข้าง กล่อง นำาส่งครูตรวจสอบแนะนำาแก้ไข ขั้น ที่ ๓. นักเรียนอ่านออกเสียงต่อกันกลุ่มละ ๑ ย่อหน้า ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดวิวิธภาษา หน้า ๓๔ – ๓๘ จากนั้น ทุกคนอ่านพร้อมกันครูแนะนำาแก้ไขข้อบกพร่องในการอ่านของ แต่ละกลุ่ม ขั้น ที่ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำาแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ ๒.๑ ( ท้ายแผน ) ชุด วิเคราะห์เนื้อหาบทเรียนเรื่อง “ เพื่อนกัน ” ตามหัวข้อที่กำาหนด ให้ เสร็จแล้วนำาส่งครูตรวจสอบและประเมินผล จากนั้นประกาศผล การประเมินให้ทุกกลุ่มได้รับทราบ ขั้น ที่ ๖. นักเรียนทุกคนทำาแบบฝึกเสริมทักษะ ที่ ๒.๒ ( ท้ายแผน ) ชุด คัดลอกคำากลอนที่ตรงกับหลักปรัชญาความพอ เพียง เสร็จแล้วนำาส่งครูตรวจสอบและประเมินผล แนะนำาแก้ไขผู้ ที่มีส่วนบกพร่อง และยกย่องชมเชยผู้ที่ทำาได้ดี สื่อ / แหล่ง เรีย นรู้ / บุค คล ลำา ดั รายการสื่อ กิจ กรรมที่ใ ช้ แหล่ง ที่ไ ด้ บ มา ท ีี ี่ ๑ กรรไกร กาว นักเรียนศึกษาศิลปะ ครูจัด กล่องนม กระดาษ การประพันธ์ เตรียม ชาร์ทสี สี ๒ แบบฝึกเสริมทักษะ นักเรียนวิเคราะห์ ครูจัดทำา ชุดที่ ๒.๑ เนื้อหาบทเรียน ๓ แบบฝึกหัดชุดที่ นักเรียนคัดลอกคำา ครูจัดทำา ๒.๒ กลอน ๔ หนังสือเรียน ชุด นักเรียนดูภาพและฝึก ครูจัดหา วิวิธภาษา ชั้น ม. ๑ อ่าน
  • 25. 25 ๕ เฉลยแบบฝึกเสริม ตรวจสอบแบบฝึกเสริม ครูจัดทำา ทักษะ ทักษะ ๖ แบบประเมินผลงาน ประเมินผลงานราย ครูจัดทำา รายกลุ่ม กลุ่ม ๗ แบบประเมินการ บันทึกการสังเกต ครูจัดทำา สังเกต พฤติกรรม และบันทึก พฤติกรรม และแบบ ผลงานรายบุคคล ประเมินผลงานราย บุคคล
  • 26. 26 วัด ผลประเมิน ผล กิจกรรมที่ประเมิน เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ วิธ ีก าร เกณฑ์ก าร ใน ประเมิน ประเมิน การประเมิน ๑. สังเกต แบบประเมินการ สังเกตราย ๑๖ = พฤติกรรมด้าน สังเกต บุคคล ดีมาก ความพอเพียง พฤติกรรม และ ๑๓ – ๑๕ = แบบประเมินผล ดี งาน ๑๐ – ๑๔ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๑๐ = ปรับปรุง ๒. การเตรียมวัสดุ แบบประเมินผล สังเกตราย ๘ - ๑๐ = ดี อุปกรณ์ งาน กลุ่ม มาก รายกลุ่ม ๖ – ๗ = ดี ๕ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๕ = ปรับปรุง ๓. การทำากล่องเก็บ แบบประเมินการ ตรวจงาน ๘ - ๑๐ = ดี ผลงาน สังเกต ราย มาก พฤติกรรม และ บุคคล ๖ – ๗ = ดี แบบประเมินผล ๕ = พอใช้ งาน ตำ่ากว่า ๕ = ปรับปรุง ๔. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินราย ตรวจงาน ๘ - ๑๐ = ดี ฝึก กลุ่ม รายกลุ่ม มาก เสริมทักษะ ชุด ๖ – ๗ = ดี ที่ ๒.๑ ๕ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๕ = ปรับปรุง ๔. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินการ ตรวจงาน ๕ = ดีมาก
  • 27. 27 ฝึก สังเกต ราย ๔ = ดี เสริมทักษะ ชุด พฤติกรรม และ บุคคล ๓ = พอใช้ ที่ ๒.๒ แบบประเมินผล ตำ่ากว่า ๓ = งาน ปรับปรุง การสัม พัน ธ์ก ับ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้อ ื่น คำา ชี้แ จง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ สัมพันธ์กับสาระการ เรียนรู้อื่น ดังนี้ สัง คมศึก ษา ฯ หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง วิท ยาศาส การวิเ คราะห์เ นื้อ หา ภาษา ตร์ อัง กฤษ การเรียนรู้ การ ความหมาย วิเคราะห์เรื่อง ของคำา และเหตุการณ์ ในบทเรียน ต่างๆ ศิล ปศึก ษา การตั้ง การวาดภาพระบายสี สมมุติฐาน ตกแต่งกล่อง เก็บผลงาน
  • 28. 28 บัน ทึก ผลหลัง กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………………………………… ………………………… ปัญหา / อุปสรรค …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… … ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………………………………… ………………………… ลงชื่อ……………………………....... . ( ..................................... ) ตำาแหน่ง ครูวิทยฐานะชำานาญการ บัน ทึก ข้อ เสนอแนะของผู้บ ริห ารหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย …………………………………………………………………… …………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………….
  • 29. 29 …………………………………………………………………… … ลงชื่อ………………………………… ….. ( .................................. ) ตำาแหน่ง ผู้อำานวยการ โรงเรียน............ แบบฝึก เสริม ทัก ษะ คำา ชี้แ จง ให้ชุด ที่ ๒.๑ ่มช่วยกันวิเคราะห์ตัวละครใน นักเรียนแต่ละกลุ เรื่องเพื่อนกันคนใด คนหนึ่งว่ามีคุณลักษะอันพึงประสงค์ในด้านต่อไปนี้ หรือไม่ และ ข้อความตอนใดที่แสดงให้เห็นว่ามีพฤติกรรมนั้น ๑. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านตนเอง .............................................................. ข้อความที่แสดงให้เห็น ................................................................................ ................................................................................ ...................................... ................................................................................ ...................................... ๒. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านสังคม .............................................................. ข้อความที่แสดงให้เห็น ................................................................................ ................................................................................ ...................................... ................................................................................ ...................................... ๓. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านทรัพยากร ............................................................. ข้อความที่แสดงให้เห็น ................................................................................
  • 30. 30 ................................................................................ ...................................... ................................................................................ ...................................... ๔. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านภูมิปัญญา ......................................................... ข้อความที่แสดงให้เห็น ................................................................................ ................................................................................ ...................................... ................................................................................ ...................................... ๕. คุณลักษะอันพึงประสงค์ด้านเศรษฐกิจ ......................................................... ข้อความที่แสดงให้เห็น ................................................................................ ................................................................................ ...................................... ................................................................................ ...................................... แบบฝึก เสริม ทัก ษะ ชุด ที่ ๒.๒ คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนทุกคนเขียนอธิบายเนื้อหาในบทเรียน ที่ตรงกับหลัก ปรัชญาความพอเพียงหัวข้อละ ๒ บท ๑. ความพอประมาณ ....................................................................... .............................................................. ....................................................................... ............................................................... ....................................................................... .............................................................. ....................................................................... ...............................................................
  • 31. 31 ๑. ความมีเ หตุม ผ ล ี ....................................................................... .............................................................. ....................................................................... ............................................................... ....................................................................... ๑. การมีภ ูม ค ุ้ม กัน ที่ด ี ิ .............................................................. ....................................................................... ....................................................................... ............................................................... .............................................................. ....................................................................... ............................................................... ....................................................................... .............................................................. แบบประเมิน การตรวจผลงานรายกลุ่ม ....................................................................... ประกอบแผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๒ รายการตรวจและให้ค ะแนน ............................................................... ๑. การเขียนอธิบาย ๒. การเตรียมอุปกรณ์ ๓. การทำาแบบฝึกเสริมทักษะ ๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม ๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม ชื่อกลุ่ม รายการตรวจให้คะแนน รวม ผล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ การ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๕ ๓๐ ประเมิ น
  • 32. 32 ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๒๖ – ๓๐ = ๒ ๑ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๕ = ๑ ๐ หมายถึง ปรับปรุง ๐ - ๑๙ = ๐ เกณฑ์ก ารผ่า น ได้ คะแนน ๑ ขึ้น ไป ลงชื่อ...........................................ผู้ ประเมิน ชุด ที่ ๒ การทำา แบบฝึก เสริม ทัก ษะ ( ......................................... ) แบบบัน ทึก ผลการประเมิน การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ ภาษาไทย ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน ประกอบแผนการเรีย นรู้ท ี่ ๒ เรื่อ งการวิเ คราะห์เ นื้อ หา เล ด้า นคุณ ลัก ษณะอัน ด้า นผล รวมคะแนนด้า นคุณ ลัก ษณะ ฯ ข พึง ประสงค์ งาน ที่ ชื่อ – สกุล มีค วามสนใจใฝ่เ รีย นรู้ เป็น ผู้น ำา และผู้ต ามที่ด ี มีค วามเมตตากรุณ า มีว ิน ัย ในตนเอง การทำา กล่อ งเก็บ ผลงาน เพีย ง ประหยัด และอยู่อ ย่า งพอ ผ่า น / ไม่ผ ่า น รวม ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑๐ ๑๐ ๓ ๐ ๐
  • 33. 33 ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๓ ความหมายระดับ คุณ ภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ร ะดับ คะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒ ๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑ ๐ หมายถึง ปรับ ปรุง ๐ - ๑๗ = ๐ เกณฑ์ก ารผ่า น ได้ คะแนน ๑ ขึ้น ไป ลงชื่อ ....................................... ....ผู้ป ระเมิน ( ............................. ) แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๓ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิช าภาษาไทย ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ ้ ชุด วิว ิธ ภาษา บทที่ ๓ เพื่อ นกัน เวลา ๘ ชัว โมง ่ เรื่อ ง การเขีย นแผนภาพโครงเรื่อ ง
  • 34. ใช้ส อนวัน ที่ ................................................ โดย ............................... 34 มาตรฐาน ท ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ๒.๑ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียน รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา ค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัว ชี้ว ัด มาตรฐาน ท ๒.๑ ม.๑ / ๓ เขียนบรรยายประสบการณ์ โดยระบุสาระสำาคัญและ รายละเอียดสนับสนุน สาระสำา คัญ แผนภาพโครงเรื่อง เป็นแผนภาพที่ประกอบด้วยส่วน ของคำาถามเกี่ยวกับเรื่องบอกให้ทราบว่าใคร ทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร เพราะเหตุใด และข้อคิดจากเรื่องแผนภาพโครงเรื่อง จะ ช่วยให้สามารถบอกเหตุการณ์ของเรื่องเป็นตอน ๆ โดยอาศัยการ คิดคำาตอบจากคำาถามในแผนภาพ และช่วยลำาดับเรื่องได้อย่างต่อ เนื่อง ทำาให้สามารถสรุปเรื่องทั้งหมดได้ คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑. ชื่นชมในเอกลักษณ์ความเป็นไทย ๒. อนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมไทย ๓. เผยแพร่เอกลักษณ์ความเป็นไทยได้ ๔. นำาข้อคิดมาใช้ในชีวิตประจำาวัน ๕. ประยุกต์ข้อคิดใช้ให้เกิดประโยชน์ สาระการเรีย นรู้ ๑.การเขี ย นแผนภาพโครงเรื่ อ งจากบทเรี ย น เรื่ อ ง ผั ก สมุนไพรใบหญ้า ฯ ๒. การเขียนเรื่องตามแผนภาพโครงเรื่อง
  • 35. 35 ๓. การเล่าเรื่องตามแผนภาพโครงเรื่อง กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ขั้น ที่ ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วยนักเรียนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และตำ่า ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม และ เลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรียน ขั้น ที่ ๒ นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาทบทวนเนื้อเรื่องผัก เพื่อนกัน โดยครูใช้ คำาถามถามนำานักเรียนให้นักเรียนตอบคำาถาม ดังนี้ • ในเรื่องนี้มีตัวละครกี่คน • ใครคือเจ้าแจ้ • ปู่ของต้นเป็นคนอย่างไร • นักเรียนมีสัตว์เลี้ยงที่บ้านหรือไม่ เป็นสัตว์ชนิดใดมีชื่อ อย่างไร • เรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรกับนักเรียนบ้าง • นักเรียนชอบสัตว์เลี้ยงชนิดใดมากที่สุด ในเรื่องนี้กล่าว ถึงหรือไม่ ขั้น ที่ ๓ ให้แต่ละกลุ่ม ส่งตัวแทนเล่าเรื่อง เพื่อนกัน ทั้งนั้น ต่อกันคนละประโยคจนจบด้วยภาษาของตนเอง จากนั้นครู นำาเสนอแผนภูมิแผนภาพโครงเรื่อง (ภาคผนวก) ให้นักเรียนดูบนกระดานดำา ขั้น ที่ ๔ นักเรียนและครูช่วยกันอภิปราย และเติมคำาถาม และเหตุการณ์ตาม แผนภาพโครงเรื่องได้ดังนี้ เช่น ใคร : …………………….......................................... ที่ไ หน : ……………………......................................... เมื่อ ไร : ……………………........................................ เหตุก ารณ์ : ………………………………………………
  • 36. 36 อย่า งไร : ……………………………………………… ข้อ คิด : ……………………………………………… ……………………………………… ……… ขั้น ที่ ๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนแผนภาพโครง เรื่องเพื่อนกัน ลงในแบบฝึกหัดรายกลุ่ม ชุดที่ ๓.๑ ( ท้ายแผน ) นำาส่งครูตรวจ สอบและประเมินคุณภาพ ขั้น ที่ ๖ นักเรียนทุกคนทำาแบบฝึกหัดชุดที่ ๓.๒ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนเรื่อง เพื่อนกัน ด้วยภาษาของตนเอง เสร็จแล้วครูตรวจสอบและแนะนำา แก้ไขข้อบกพร่องนักเรียนเก็บลงในแฟ้มสะสมผลงาน สื่อ / แหล่ง เรีย นรู้ / บุค คล ลำา ดั รายการสื่อ กิจ กรรมที่ใ ช้ แหล่ง ที่ไ ด้ บ มา ท ีี ี่ ๑ บัตรคำาศัพท์ นักเรียนเรียนรู้คำาศัพท์ ครูจัด และบอกความหมาย เตรียม ๒ แฟ้มสะสมผลงาน นักเรียนเก็บสะสมผล ครูจัดทำา งาน ๓ แบบฝึกหัดชุดที่ นักเรียนทำาใบงานกลุ่ม ครูจัดทำา ๓.๑ ๔ แบบฝึกหัดชุดที่ นักเรียนทำาแบบฝึกหัด ครูจัดทำา ๓.๒ ๕ หนังสือเรียน ชุด นักเรียนดูภาพและฝึก ครูจัดหา วิวิธภาษา อ่าน ชั้น ม.๑ ๖ เฉลยแบบฝึกหัด ตรวจสอบแบบฝึกหัด ครูจัดทำา
  • 37. 37 ๗ แบบประเมินการ บันทึกการสังเกต ครูจัดทำา สังเกต พฤติกรรม และบันทึก พฤติกรรม และแบบ ผลงานรายบุคคล ประเมินผลงานราย บุคคล วัด ผลประเมิน ผล กิจกรรมที่ประเมิน เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ วิธ ีก าร เกณฑ์ก าร ใน ประเมิน ประเมิน การประเมิน ๑. สังเกต แบบประเมินการ สังเกตราย ๑๖ = พฤติกรรมด้าน สังเกต บุคคล ดีมาก คุณลักษณะ พฤติกรรม และ ๑๓ – ๑๕ = แบบประเมินผล ดี งาน ๑๐ – ๑๔ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๑๐ = ปรับปรุง ๒. นักเรียนเล่า แบบบันทึกผลงาน ตรวจงาน ๕ = ดีมาก เรื่อง รายกลุ่ม รายกลุ่ม ๔ = ดี ๓ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๓ = ปรับปรุง ๒. นักเรียนเขียน แบบบันทึกผลงาน ตรวจงาน ๘ - ๑๐ = ดี แผนภาพ รายกลุ่ม รายกลุ่ม มาก โครงเรื่อง ๖ – ๗ = ดี ๕ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๕ = ปรับปรุง ๓. นักเรียนทำาแบบ แบบประเมินราย สังเกตราย ๘ - ๑๐ = ดี
  • 38. 38 ฝึกหัด กลุ่ม กลุ่ม มาก ๖ – ๗ = ดี ๕ = พอใช้ ตำ่ากว่า ๕ = ปรับปรุง ๔. นักเรียนตอบ แบบประเมินการ ตรวจงาน ๘ - ๑๐ = ดี คำาถาม สังเกต ราย มาก พฤติกรรม และ บุคคล ๖ – ๗ = ดี แบบประเมินผล ๕ = พอใช้ งาน ตำ่ากว่า ๕ = ปรับปรุง การสัม พัน ธ์ก ับ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้อ ื่น คำา ชี้แ จง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ สัมพันธ์กับสาระการ เรียนรู้อื่น ดังนี้ สัง คมศึก ษา ฯ กระบวนการทำางาน กลุ่ม วิท ยาศาส การเขีย นแผนภาพ ภาษา ตร์ โครงเรื่อ ง อัง กฤษ การเรียนรู้ การ ความหมาย วิเคราะห์ ของคำา หาความ ในบทเรียน หมาย ศิล ปศึก ษา การเขียนแผนภาพ โครงเรื่อง