SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 75
Descargar para leer sin conexión
เรื่อง
 รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก
              ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒
               โดย ครูนงคราญ เจริญพงษ
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดนาน

                                                   หนาถัดไป
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อานกวีนิพนธประเภทกลอน โคลง กาพย และบทละคร แลวใช
หลักการพินิจวรรณคดี และวรรณกรรม พิจารณาคุณคาทางดาน
วรรณศิลป เนื้อเรือง สังคม และนําขอคิดไปใชในชีวิตจริงดวยการ
                  ่
อภิปราย หรือเขียนเปนบทความแสดงความคิดเห็น




                                                  กลับเมนูหลัก
จุดประสงคการเรียนรู


๑. อธิบายที่มาของเรื่องรามเกียรติ์ได
๒. อธิบายความหมายของคําศัพทสํานวนที่ปรากฏในเรื่องได
๓. อธิบายลักษณะคําประพันธของเรื่องได
๔. อธิบายคุณคาของเรื่องตอนที่เรียนในดานวรรณศิลปได
๕. บอกขอคิดที่ได จากเรื่อง แลวสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตจริงได



                                                              กลับเมนูหลัก
ตํานานการแตงรามายณะนั้นมีหลายประเภท แตเสฐียร
                 โกเศศกลาวไวดังนี้
พระวาลมิกิพรหมฤาษีไปสูสํานักพระนารทพรหมฤษี สนทนาไตถามถึง
บุคคลสําคัญในโลกนี้วามีใครเปนผูแกลวกลาสามารถ และมีคุณสมบัติดี
เลิศ พระนารทฤษีจึงเลาประวัติพระรามใหฟง ครั้นกลับจากสํานักพระนา
รทฤาษี ไดเห็นพรานยิงนกกระเรียนตัวผูซึ่งกําลังรื่นรมยกับคูของมันตาย
พระวาลมิกิสลดใจสมเพชนกนักหนา ถึงกับทนนิ่งอยูไมได จึงกลาวสาป
นายพราน (รัชกาลที่ ๖ ไดแปลมาเปนฉันท) ดังนี้
ชะพรานกมลชั่ว จิตมัวมิรูอาย พรากนกกระเรียนตาย ขณะมันสราญรมย
ใจมึงบปรานี ก็จะมีอะไรสม แนมึงจะตกจม ณ นรกตลอดกาล
                                                           หนาถัดไป
ตอมาพระวาลมิกิ หวนระลึกถึงเหตุการณนั้นก็เสียใจที่สาป
พรานไป ดวยมิใชกิจอะไรของตน เมื่อไมสามารถบรรเทาความ
โทมนัสนั้นใหสงบได ทาวมหาพรหมกรุณามาปรากฏตัวใหเห็น
ชวยปลอบโยนวาไมควรเสียใจในการที่กลาวคําสาปนั้น เพราะ
แทจริงแลวคําสาปพรานนั้น กลายเปนความหมายในทาง
สรรเสริญพระนารายณเปนเจาเมื่อทรงปราบยักษ
ทั้งนี้เพราะคําที่เปลงเปนโศลกภาษาสันสกฤตนั้นสามารถแปล
จากนกกระเรียนเปนยักษไดดวย จึงอาจแปลความไดวา
                                                 หนาถัดไป
“ขาแตพระองคผูเปนที่ประทับแหงพระลักษมี ไดทรงถึง
ความมั่นคงแลวเปนเวลานานป เพราะไดพรากคูยักษลง
ตนหนึ่งซึ่งหลงเพลินในกาม” และทาวมหาพรหมบอกอีก
วา ถอยคําของพระวาลมิกินั้นกลาวดวยถอยคําที่สมเพช
จึงใหเรียกวา โศลก และใหเปนบทแรกในเรื่องรามายณะ
ของใหพระวาลมิกิฤาษี รจนาเรื่องตอไป พระฤาษีวาลมิกิ
จึงไดเขียนเรื่องรามายณะขึ้นไปจนจบ รวมเปนโศลกถึง
สองหมื่นสี่พันโศลก สําหรับใหมนุษย          อาน
                                            กลับเมนูหลัก
ที่มาของเรื่องรามเกียรติ์

รามเกียรติ์ เปนบทละครที่มมาตั้งแตสมัยอยุธยา โดยมีเคาเรื่องมาจาก
                            ี
มหากาพยรามายนะของอินเดีย แตตนฉบับสมัยกรุงศรีอยุธยาขาดสูญไม
สมบูรณ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
(รัชกาลที่ ๑) พระองคทรงฟนฟูศิลปวัฒนธรรมขึ้นหลายอยาง รวมทั้งทรง
                              
พระราชนิพนธบทละครเรื่องรามเกียรติ์บางตอนดวย และทรงโปรดฯ ให
นักปราชญรวมกันประพันธ จนถือไดวา รามเกียรติฉบับพระราชนิพนธใน
                                               ์
รัชกาลที่ ๑ เปนฉบับที่สมบูรณที่สุด


                                                      กลับเมนูหลัก
เนื้อเรื่องยอ ตอนนารายณปราบนนทก
    นนทกนั่งประจําอยูที่บันไดของเชิงเขาไกรลาส โดยมีหนาที่ลางเทาใหแกเหลาเทวดาที่มาเขา
เฝาพระอิศวร เหลาเทวดาที่พากันมาเขาเฝาพระอิศวร ไดยื่นเทาใหลางแลวมักแหยเยาหยอกลอ
นนทกอยูเปนประจํา ดวยการลูบหัวบาง ตบหัวบาง ถอนผมบาง จนกระทั่งผมรวงลานทั้ง
ศีรษะ นนทกแคนใจมากแตวาตนเองไมมีกําลังจะสูได จึงไปเขาเฝาพระอิศวร แลวกราบทูลวา
ตนไดทํางานรับใชพระองคมานานถึง ๑๐ ลานป ยังไมเคยไดรับสิ่งตอบแทนใดๆเลย จึงทูล
ขอใหนิ้วเปนเพชร มีฤทธิ์ชี้ผูใดก็ใหผูนั้นตาย
พระอิศวรเห็นวานนทกปฏิบัติหนาที่รับใชพระองคมานานจึงประทานพรใหตามที่ขอ




                                                                          หนาถัดไป
ไมนานนักนนทกก็มีใจกําเริบ เพียงแตถูกเทวดามาลูบศีรษะเลนเชน
เคย นนทกก็ชี้ใหตายเปนจํานวนมาก พระอิศวรทรงทราบก็ทรง
กริ้ว โปรดใหพระนารายณไปปราบ
     พระนารายณแปลงเปนนางฟามายั่วยวน นนทกนึกรักจึงเกี้ยว
นาว นางแปลงจึงชวนใหนนทกรําตามนางกอนจึงจะรับรัก นนทก
ตกลงรําตามไปจนถึงทารําที่ใชนิ้วเพชรชี้ขาตนเองนนทกก็ลมลง



                                                 หนาถัดไป
จากนั้นนนทกเห็นนางแปลงปรากฎรางเปนพระนารายณ จึงตอวาพระนารายณวาเอาเปรียบ
ตนเพราะวาพระนารายณมีอํานาจ มีถึง ๔ กร แตตนมีแค ๒ มือและเหตุใดจึงมาทํา
อุบายหลอกลวงตนอีก
   พระนารายณจึงทาใหนนทกไปเกิดใหมใหมี ๒๐ มือ แลวพระองคจะตามไปเกิดเปนมนุษยที่มี
เพียง ๒ มือ
ลงไปสูดวย หลังจากที่พระนารายณพูดจบก็ใชพระแสงตรีตัดศีรษะนนทกแลวนนทกก็สิ้นใจตาย
   ชาติตอมานนทกจึงไดไปเกิดเปนทศกัณฐ สวนพระนารายณก็อวตารลงมาเกิดเปนพระราม




                                                                     กลับเมนูหลัก
ลักษณะคําประพันธ


                                 แตงดวยกลอนบทละคร
   ลักษณะกลอนบทละคร
   ลักษณะบังคับเหมือนกลอนสุภาพ แตวรรคแรกมักขึ้นตนดวย เมื่อนั้น บัดนั้น มา
จะกลาวบทไป

    เมื่อนั้น ใชกับตัวละครเอกของเรื่อง หรือตัวละครที่เปนพระมหากษัตริย
    บัดนั้น ใชกับตัวละครสามัญ หรือตัวละครที่มีบทบาทรอง
    มาจะกลาวบทไป นิยมใชเมื่อขึ้นความใหม หรือเปลี่ยนเรื่องมาเลาเรื่องใหม



                                                                    หนาถัดไป
แผนผังกลอนบทละคร

บาทเอก   OOOOOO       OOOOOO
บาทโท    OOOOOO       OOOOOO           สัมผัส
                                     ระหวางบท
         OOOOOO       OOOOOO
         OOOOOO       OOOOOO




                                กลับเมนูหลัก
คุณคางานประพันธดานวรรณศิลป
   รสทางวรรณคดี หมายถึง บทที่เปนสวนของเนื้อหาที่เนน
    คุณคาทางดานอารมณ โดยการเลือกใช
    ถอยคําหรือสํานวนภาษาที่ทําใหเกิดภาพพจนและความงาม
    ทําใหผูอานรับรูถึงอารมณความรูสกตางๆ เชน สะเทือน
                                        ึ
    อารมณ ประทับใจ กินใจ เปนตน


                                                หนาถัดไป
เสาวรจนี



สัลปงคพิสัย     รสวรรณคดี
               คลิกเพื่อดูรายละเอียด   นารีปราโมทย



                  พิโรธวาทัง
                                           กลับเมนูหลัก
๑. เสาวรจนี             ไดแก บทชมความงาม
   ตัวอยาง ในตอนที่นนทกเห็นนางแปลงก็ตกตะลึงในความงาม ถึงกับ
พรรณนาออกมาวา
       ถึงโฉมองคอัครลักษมี          พระสุรัสวดีเสนหา
       สิ้นทั้งไตรภพจบโลกา           จะเอามาเปรียบไมเทียบทัน
       ดูไหนก็เพลินจําเริญรัก        ในองคเยาวลักษณสาวสวรรค
       ยิ่งพิศยิ่งคิดผูกพัน         ก็เดินกระชั้นเขาไป


                                    กลับเมนูหลัก   กลับหนาเดิม
๒. นารีปราโมทย ไดแก บทเกี้ยวพาราสี
ตัวอยาง ในตอนที่นนทกเกี้ยวพาราสีตอนางแปลง
 อันซึ่งธุระของเจา       หนักเบาจงแจงใหประจักษ
 ถาวาสนาเราเคยบํารุงรัก    ก็จะเปนภักษผลสืบไป
 ตัวพี่มิไดลวนลาม        จะถือความสิ่งนี้นี่ไมได
  สาวสวรรคขวัญฟายาใจ      พี่ไรคูจะพึ่งแตไมตรี


                                   กลับเมนูหลัก กลับหนาเดิม
๓. พิโรธวาทัง ไดแก บทโกรธ บทตัดพอตอวา
   ตัวอยาง ในตอนที่นนทกแสดงอาการโกรธที่โดนเทวดา
แกลง

         บัดนั้น         นนทกน้ําใจแกลวกลา
กริ้วโกรธรองประกาศตวาดมา อนิจจาขมเหงเลนทุกวัน
จนหัวไมมีผมติด               สุดคิดที่เราจะอดกลั้น
วันนี้จะไดเห็นดีกัน          ฟนแลวชี้นิ้วไป

                                กลับเมนูหลัก   กลับหนาเดิม
๔. สัลลาปงคพิสัย ไดแก บทโศกเศราเสียใจ
            ตัวอยาง ในตอนที่นนทกรําพึงรําพันเมื่อเขา
เฝาพระอิศวร
                    พระองคผูทรงศักดาเดช
             ไมโปรดเกศแกขาบทศรี
              กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้
             ทูลพลางโศกีราพัน
                          ํ

                               กลับเมนูหลัก   กลับหนาเดิม
แงคิดจากเรื่อง


   ความสัมพันธระหวางคนตางฐานะ ควรแสดงความมีน้ําใจ
ตอบแทนใหแกกัน ไมถือศักดิ์วาตนเองมีฐานะเหนือกวา แลวขม
เหงน้ําใจกันและกัน จะทําใหสังคมไมสงบสุข
   ความโกรธและความอาฆาตรุนแรง จะนําความเสียหายมาสู
ตนเองในที่สุด
      การจองเวรเปนเรื่องที่ไมดี เพราะจะกอใหเกิดการลางแคนไมมี
ที่สิ้นสุด เพราะฉะนั้น เวรยอมระงับดวยการไมจองเวร
                                                          กลับเมนูหลัก
คําศัพท สํานวนที่ควรทราบ
 คลิกเพื่อคนหาความหมาย
                                    สุรัสวดี
เกษียรวารี       อสุนี                               หัสนัยน
                 อัฒจันทร          นาคี
ไกรลาส                                               ไฟกาล
                  เทพนมปฐม           สุบรรณ
ตรัยตรึงศา                                           ภักษผล
                  พรหมสี่หนา        บทบงสุ,บทศรี
ตรี                                                  ลักษมี
คนธรรพ            ธาตรี               บังเหตุ
                                        พระหริวงศ     วิทยา
เทพอัปสร          สําเร็จมโนรถ
 จุไร             นนทก,นนทุก          โสมนัสา
                  พระองคทรงสังข
                  คทาธร

                                                         กลับเมนูหลัก
เทพนมปฐมพรหมสี่หนา

   ทารําของนางรํา ที่เปนนารายณแปลงซึ่งไดแก
    ๑. เทพนม                        ๒. ปฐม
    ๓. พรหมสี่หนา                  ๔. สอดสรอยมาลา
    ๕. กวางเดินดง                   ๖. หงสบิน         ทานาคามวนหางเปนทารํา
    ๗. กินรินเลียบถ้ํา              ๘. ชานางนอน          ที่นางรําลวงใหนนทก
    ๙. ภมรเคลา                     ๑๐. แขกเตาเขารัง รําตอไปจนตองชี้ขาตัวเอง
    ๑๑. ผาลาเพียงไหล               ๑๒. เมขลาลอแกว               ลมลง
    ๑๓. มยุเรศฟอน                  ๑๔. ลมพัดยอดตอง
    ๑๕. พรหมนิมิต                   ๑๖. พิสมัยเรียงหมอน              กลับหนา
    ๑๗. มัจฉาชมสาคร                 ๑๘. พระสี่กรขวางจักร            คําศัพท

    ๑๙. นาคามวนหาง                                              กลับเมนูหลัก
เทพอัปสร หมายถึง นางฟา


ธาตรี หมายถึง แผนดิน โลก


                                กลับหนา
                                คําศัพท

                            กลับเมนูหลัก
นนทก, นนทุก
    ในรามเกียรติ์พระราชนิพนธรัชกาลที่ ๑ ตัว
     ละครตัวนี้ชื่อวานนทก สวนพระราชนิพนธ
     เบิกโรงในรัชกาลที่ ๔ ใชวา
    นนทุก ดังนี้
     เรื่องนารายณกําราบปราบนนทุก
     ในตนไตรดายุคโบราณวา
     เปนเรื่องดึกดําบรรพสืบกันมา
     ครังศรีอยุธยาเอามาใช
          ้                                      กลับหนา
                                                 คําศัพท

                                                กลับเมนูหลัก
 บทบงสุ, บทศรี
               ใชหมายถึง พระบาท
 ของเทวดา หรือกษัตริยเปนตน

บังเหตุ หมายถึง ประมาท ทําใหเปนเหตุ


                                        กลับหนา
                                        คําศัพท

                                   กลับเมนูหลัก
กระเษียรวารี

   หมายถึง เกษียรสมุทร หรือ ทะเลน้ํานม ขณะบรรทม
    พระนารายณจะประทับอยูบนพญาอนันตนาคราชกลาง
    เกษียรสมุทร ซึ่งมักเรียกวา นารายณบรรทมสินธุ (เมื่อ
    เหาะเหินจึงจะทรงครุฑ ซึ่งมักเรียกวา นารายณทรง
    สุบรรณ)

                                                      กลับหนา
                                                      คําศัพท


                                                   กลับเมนูหลัก
นาคี หมายถึง นาค คือ งูใหญมีหงอน
         เปนสัตวในนิยาย


พระหริวงศ หมายถึง พระนารายณ

ภักษผล หมายถึง ผลสําเร็จ
                                       กลับหนา
                                       คําศัพท

                                     กลับเมนูหลัก
พระองคทรงคทาธร เปนสี่กรก็รูประจักษใจ หมายถึง
พระนารายณ ตามคติอินเดียวามีสี่กร ถือสังข จักร คทา
และธรณี สวนในวรรณคดีไทย พระนารายณมักถือ ตรี
แทนธรณี ดังปรากฏในรามเกียรติ์ตอน “กุมภกรรณลม”
  วา กอนจะตายกุมภกรรณเห็นพระรามเปนพระสี่กร
      ทรงเทพอาวุธจักรสังข ทั้งตรีคทาศิลปศร
 จึงรูวานารายณฤทธิรอน จากกระเษียรสาครเสด็จมา
                                                  กลับหนา
                                                  คําศัพท

                                               กลับเมนูหลัก
ไพกาล คือ ไพกัลป หรือ
ไฟบรรลัยกัลป ตามคติพราหมณเชื่อวา
เปนไฟไหมลางโลกเมื่อสิ้นอายุของ
โลกครั้งหนึ่ง ๆซึ่งเรียกวากัป หรือกัลป

                                           กลับหนา
                                           คําศัพท

                                    กลับเมนูหลัก
ลักษมี คือ พระชายาของพระนารายณ
วิทยา คือ วิทยาธร ชาวสวรรคพวกหนึ่งมีวิชาอาคม

สําเร็จมโนรถ หมายถึง ไดตามที่ตองการ

                                             กลับหนา
                                             คําศัพท


                                         กลับเมนูหลัก
สิ้นทา หมายถึง ครบทุกทารํา

สุบรรณ หมายถึง ครุฑ คือ พญานกในเทพนิยาย

สุรัสวดี หมายถึง ชายาของพระพรหม

 โสมนัสา หมายถึง ยินดี                กลับหนา
                                      คําศัพท


                                  กลับเมนูหลัก
หัสนัยน หมายถึง สหัสนัยน คือ ผูมพันดา หมายถึง พระ
                                   ี
อินทร เปนเทวราชผูเปนใหญในสวรรคชั้นดาวดึงส


อสุนี หมายถึง ฟาผา

 อัฒจันทร หมายถึง ขั้นบันได
                                                กลับหนา
                                                คําศัพท

                                              กลับเมนูหลัก
ไกรลาส
 ชื่อภูเขาที่เปนทีประทับของพระอิศวร
                    ่




                                           กลับหนา
                                           คําศัพท
                                        กลับเมนูหลัก
คนธรรพ
             ชาวสวรรคพวกหนึ่ง
          มีความชํานาญในวิชาดนตรี
                 และขับรอง


                                      กลับหนา
                                      คําศัพท

                                    กลับเมนูหลัก
จุไร
   ผมที่เกลาเปนจุก และประดับอยาง
                 สวยงาม


                                กลับหนา
                                คําศัพท
                                กลับเมนูหลัก
ตรัยตรึงศา
 ตรัยตรึงศ หรือดาวดึงส  แปลวา ๓๓ เปนชื่อ
  สวรรคที่มีเทพชั้นผูใหญ ๓๓ องค และมีพระ
  อินทรเปนหัวหนา เปนสวรรคชั้นที่ ๒ แหง
  ฉกามาพจร(สวรรค ๖ ชั้นฟา)

                                         กลับหนา
                                         คําศัพท

                                        กลับเมนูหลัก
ตรี
คือ ตรีศูลเปนอาวุธสามงาม
                        ปกติเปน
 เทพอาวุธของพระอิศวร แตในที่นี้เปน
 เพทอาวุธของพระนารายณ

                                  กลับหนา
                                  คําศัพท
                               กลับเมนูหลัก
หนาถัดไป
กิตติกรรมประกาศ
กราบขอบพระคุณ
   คุณครูคนงนาฏ รุณวุฒิ ที่ใหคําปรึกษาเนื้อหาการทําสื่อ
   คณะครูคอมพิวเตอรโรงเรียนสา ใหคําปรึกษาเรื่องโปรแกรมการจัดทํา
   สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน
   คุณครูจํานง ปญญาดี ฝายโสตทัศนศึกษาโรงเรียน ที่ชวยตัดตอภาพยนตร
   ตัวอยาง และบันทึกเสียง
   บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวงไทย จํากัด ที่เอื้อเฟอภาพยนตรการตูนเรื่อง
   รามเกียรติ์
   คณะครูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โรงเรียนทาวังผาพิทยาคมที่เอื้อเฟอ
   วีซีดีเสนสีลีลาวรรณกรรม เรื่อง นารายณอวตาร และทุกทานที่ใหกําลังใจเสมอ
   มา                                                                กลับเมนูหลัก
บรรณานุกรม
   www.heritage.thaigov.net
   กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่
    ๒ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.กรุงเทพมหานคร.๒๕๔๘
   นาคะประทีป.สมญาภิธานรามเกียรติ์. พระนคร : แพรพิทยา, 2510.
   พุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช , พระบาทสมเด็จพระ. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ เลม 1-4.
    กรุงเทพฯ : แพรพิทยา, 2515.
   มงกุฎเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. บอเกิดรามเกียรติ์. พระนคร : ศิลปาบรรณาคาร,
    2509.
   วิพุธ โสภวงศ และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานภาษาไทย : ไทยวัฒนาพานิช.
    กรุงเทพมหานคร,๒๕๔๗.
   สมพร สิงหโต. “ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมีกิและรามเกียรติ์พระราชนิพนธใน
    รัชกาลที่ 1,” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516.
   เสนีย วิลาวรรณ.ประวัติวรรณคดี ๒ . กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช.มปป.
                                                                              กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๑   ขอที่ ๖
ขอที่ ๒   ขอที่ ๗
ขอที่ ๓   ขอที่ ๘
ขอที่ ๔   ขอที่ ๙
ขอที่ ๕   ขอที่ ๑๐


                       กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๑ เรื่องรามเกียรติ์ ตอนที่นักเรียนเรียน
เปนบทพระราชนิพนธในสมัยใด
  สมเด็จพระนารายณมหาราช
 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
         พระบาทสมเด็จจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
                                              กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๒ รามเกียรติ์เปนบทละครที่มีมาตั้งแต
สมัยใด
  สุโขทัย
  อยุธยา
  ธนบุรี
           รัตนโกสินทร
                                         กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๓ รามเกียรติ์ ฉบับใดที่ถือวาเปนฉบับที่
สมบูรณที่สุด
  รัชกาลที่ ๑
 รัชกาลที่ ๒
  รัชกาลที่ ๓
          สมเด็จพระนารายณมหาราช
                                           กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๔ เรื่องรามเกียรติ์ เปนเรื่องราวการ
อวตารของเทพเจาองคใด
  พระนารายณ
 พระพรหม
  พระอิศวร
         พระอินทร
                                              กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๕ นนทก คือใคร
 ศัตรูของพระนารายณ
 ผูที่ทําหนาที่ลางเทาใหเทวดาเชิงเขาไกรลาส
                  
 ผูทําหนาที่เฝาประตูทั้งสี่ใหแกพระอิศวร

         ผูที่ทําหนาที่ฟอนรําใหกับเทวดาชม
                          

                                                กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๖ ใครเปนผูประทานนิ้วเพชรใหแกนนทก

     พระอินทร
     พระอิศวร
     พระพรหม

           พระนารายณ

                                        กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๗ นนทกไปเกิดเปนใครในชาติตอมา

     พระลักษณ
    พระราม
     ทศกัณฐ

             หนุมาน

                                        กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๘ “ผมโกรนโลนเกลี้ยงถึงเพียงหู ดูเงาในน้ําแลวรองไห” ขอใด
    เปนเหตุใหนนทกมีลักษณะเชนนั้นมากที่สุด

        เหลาเทวดาตบหัว
       เหลาเทวดาลูบหัว
        เหลาเทวดาถอนผม

                เหลาเทวดาลูบหนา

                                                           กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๙ นักเรียนคิดวาขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหนนทกตองประสบ
    เคราะหกรรมครั้งนี้


       ความเคียดแคนพยาบาท
       การละทิงหนาที่การงาน
              ้
       ความขลาดเขลาเบาปญญา

                ความใจรอน

                                                        กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๑๐ นนทกหลงกลนางแปลงดวยทารําในขอใด
     พรหมสี่หนา
     นาคามวนหาง
     กวางเดินดง

           เมฆขลาโยนแกว

                                       กลับเมนูหลัก
คลิกที่นี่ ! เพื่อทําขอตอไป
           เลยนะคะ
คลิกที่นี่ ! กลับไปยังกรอบแบบทดสอบ
    กอนเรียนแลวทําขอตอไปเลยคะ
    อยาลืมบันทึกคะแนนไวนะคะ
ขอที่ ๑     ขอที่ ๖      ขอที่ ๑๑
    ขอที่ ๒     ขอที่ ๗      ขอที่ ๑๒
    ขอที่ ๓     ขอที่ ๘      ขอที่ ๑๓
    ขอที่ ๔     ขอที่ ๙      ขอที่ ๑๔
    ขอที่ ๕     ขอที่ ๑๐     ขอที่ ๑๕

ขอที่ ๑๖ ขอที่ ๑๗ ขอที่ ๑๘ ขอที่ ๑๙ ขอที่ ๒๐
                                                    กลับเมนูหลัก
ขอที่ ๑ เรื่องรามเกียรติ์ เปนเรื่องราวการอวตาร
ของเทพเจาองคใด
พระพรหม               พระอินทร
พระนารายณ            พระอิศวร



                                      กลับหนาแบบทดสอบ
                                           หลังเรียน
ขอที่ ๒ นักเรียนคิดวาขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหนนทกตอง
    ประสบเคราะหกรรมครั้งนี้

 ความต่าตอยในหนาที่การงาน
       ํ
      ความโงเขลาเบาปญญา
            ความอัปลักษณของตัวเอง
                   ความพยาบาทจองเวร
                                                 กลับหนาแบบทดสอบ
                                                      หลังเรียน
ขอที่ ๓ นนทกขอสิ่งใดจากพระอิศวร
 ขอพร ๗   ประการ          ขอพระตรีเพชร


 ขอนิ้วเพชรที่มีอํานาจ    ขอใหมีมือ ๒๐ มือ


                                      กลับหนาแบบทดสอบ
                                           หลังเรียน
ขอที่ ๔ เรื่องรามเกียรติ์ไดเคาเรื่องมาจาก
  เรื่องอะไร
 รามายนะของอินเดีย       มหาภารตะของจีน


 กาพยมหาชาติของไทย      ซูสีไทเฮา ของจีน


                                      กลับหนาแบบทดสอบ
                                           หลังเรียน
ขอที่ ๕นนทกแคนใจเรื่องใดมากที่สุดจึงมา
  เขาเฝาพระอิศวร
 เรื่องถูกถอนผม       คิดวาตนถูกดูหมิ่น


 ตาของตนแดง           ภาระอันต่ําตอย


                                   กลับหนาแบบทดสอบ
                                        หลังเรียน
ขอที่ ๖ พระอิศวรสงใครไป
ปราบนนทก

 พระอินทร            พระนารายณ


 พญาครุฑ             พระพรหม


                                 กลับหนาแบบทดสอบ
                                      หลังเรียน
ขอที่ ๗ ถานักเรียนเปนนนทก จะถือคติในขอใด
  เปวแตพกในการดําเนินชีวิต
 แล
      นหลั รหมลิขิต
                             ตาตอตา ฟนตอฟน



 เวรยอมระงับดวยการ    ธรรมะยอมชนะอธรรม

  ไมจองเวร
                                   กลับหนาแบบทดสอบ
                                        หลังเรียน
ขอที่ ๘ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด

 เหลือเห็นสตรีวิไลลักษณ พิศพักตรผองเพียงแขไข
งามโอษฐงามแกวงามจุไร งามนัยนเนตรงามกร

     เสาวรจนี                 นารีปราโมช

     พิโรธวาทัง               สัลปงคพิไสย

                                            กลับหนาแบบทดสอบ
                                                 หลังเรียน
ขอที่ ๙ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด
  ถึงโฉมองคอัครลักษมี   พระสุรัสวดีเสนหา
 สิ้นทั้งไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรียบไมเทียบทัน

  เสาวรจนี                  นารีปราโมช

  พิโรธวาทัง                สัลปงคพิไสย

                                        กลับหนาแบบทดสอบ
                                             หลังเรียน
ขอที่ ๑๐ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด
 ยิ้มแลวจึงกลาวสุนทร    ดูกอนนางฟาเฉลิมศรี
เจาจักปรารมภไปไยมี        พี่เปนคนเกาพอเขาใจ

 เสาวรจนี                 นารีปราโมช

 พิโรธวาทัง               สัลปงคพิไสย

                                      กลับหนาแบบทดสอบ
                                           หลังเรียน
ขอที่๑๑ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด
  พระองคผูทรงศักดาเดช   ไมโปรดเกศแกขาบทศรี
 กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้   ทูลพลางโศกีรําพัน

  เสาวรจนี                  นารีปราโมช

  พิโรธวาทัง                สัลปงคพิไสย

                                        กลับหนาแบบทดสอบ
                                             หลังเรียน
ขอที่๑๒ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด
  บัดนั้น                นนทกน้ําใจแกลวกลา
 กริ้วโกรธรองประกาศตวาดมา อนิจจาขงเหงเลนทุกวัน

  เสาวรจนี                 นารีปราโมช

  พิโรธวาทัง               สัลปงคพิไสย

                                       กลับหนาแบบทดสอบ
                                            หลังเรียน
ขอที่ ๑๓. “บัดนั้น นนทกผูใจแกลวกลา”
จากขอความทําไมจึงตองใช “บัดนั้น”

เพราะ “บัดนั้น” ใชสําหรับผูนอย
      เพราะ “บัดนั้น” ใชกับตัวละครที่เปนยักษ
           เพราะ “บัดนั้น” ใชกับตัวละครเอก
                    เพราะ “บัดนั้น” ใชกับผูเปนใหญในที่นั้น

                                                   กลับหนาแบบทดสอบ
                                                        หลังเรียน
ขอที่ ๑๔ นนทกหลงกลนางแปลงดวยทารําใด

 กวางเดินดง
         เมขลาโยนแกว
                 มัจฉาชมสาคร
                        นาคามวนหาง

                                      กลับหนาแบบทดสอบ
                                           หลังเรียน
ขอที่ ๑๕ เหตุใดพระนารายณตองมาปราบนนทก

เพราะ นนทกฆาเหลาเทวดา
     เพราะ นนทกมีชูกับนางฟอนรําของพระอิศวร
            เพราะ พระนารายณแคนใจนนทกที่ไมลางเทาให

                  เพราะ นนทกลักนางสีดาไป

                                           กลับหนาแบบทดสอบ
                                                หลังเรียน
ขอที่ ๑๖ ทาวสหัสนัยน หมายถึงใคร

พระอิศวร
     พระนารายณ
           พระพรหม

                  พระอินทร

                                     กลับหนาแบบทดสอบ
                                          หลังเรียน
ขอที่ ๑๗ “พระองคทรงสังขคทาธร” หมายถึงใคร

พระอิศวร
     พระนารายณ
           พระพรหม

                  พระอินทร

                                    กลับหนาแบบทดสอบ
                                         หลังเรียน
ขอที่ ๑๘ รามเกียรติ์ตอนที่นักเรียนเรียนนี้ใหขอคิด
ในการดําเนินชีวิต ยกเวนขอใด
 กรรมใดใครกอ กรรมนั้นยอมตอบสนอง
      ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว
                    อยาเห็นกงจักรเปนดอกบัว
                           เวรยอมระงับดวยการไมจองเวร
                                                 กลับหนาแบบทดสอบ
                                                      หลังเรียน
ขอที่ ๑๙ สุดทายแลวพระนารายณอวตารไปเกิดเปน
ใครเพื่อปราบนนทกอีกชาติหนึ่ง
     ทศกัณฐ
               พระลักษมณ
                            พระราม
                                     หนุมาน

                                              กลับหนาแบบทดสอบ
                                                   หลังเรียน
ขอที่ ๒๐ รามเกียรติ์ฉบับที่เรียนนี้เปนพระราช
นิพนธในรัชสมัยใด
     รัชกาลที่ ๑
                   รัชกาลที่ ๒
                                 รัชกาลที่ ๓

                                         รัชกาลที่ ๔

                                                       กลับหนาแบบทดสอบ
                                                            หลังเรียน
บันทึกคะแนนไว แลว
คลิกที่นี่ เพี่อทําขอตอไป
            นะคะ
บันทึกคะแนนไว แลวคลิกที่นี่
   เพี่อทําขอตอไปนะคะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญSmile Petsuk
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 

La actualidad más candente (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 

Destacado

งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
รูปที่ 1 ท่าเทพนม
รูปที่ 1 ท่าเทพนมรูปที่ 1 ท่าเทพนม
รูปที่ 1 ท่าเทพนมarissara0811
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)viewil
 
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 

Destacado (20)

สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Onet ม.6
Onet ม.6Onet ม.6
Onet ม.6
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
รูปที่ 1 ท่าเทพนม
รูปที่ 1 ท่าเทพนมรูปที่ 1 ท่าเทพนม
รูปที่ 1 ท่าเทพนม
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
 
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
 

Similar a สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]

สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1Sirisak Promtip
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1kutoyseta
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัยkutoyseta
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองChinnakorn Pawannay
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 

Similar a สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้] (20)

สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัย
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

Más de Nongkran Jarurnphong

คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนากลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนาNongkran Jarurnphong
 
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำNongkran Jarurnphong
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 

Más de Nongkran Jarurnphong (9)

แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1
 
สอนติว
สอนติวสอนติว
สอนติว
 
คุรุสดุดี
คุรุสดุดีคุรุสดุดี
คุรุสดุดี
 
ครูดีเด่น
ครูดีเด่นครูดีเด่น
ครูดีเด่น
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนากลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 

สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]

  • 1. เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ โดย ครูนงคราญ เจริญพงษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดนาน หนาถัดไป
  • 2. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง อานกวีนิพนธประเภทกลอน โคลง กาพย และบทละคร แลวใช หลักการพินิจวรรณคดี และวรรณกรรม พิจารณาคุณคาทางดาน วรรณศิลป เนื้อเรือง สังคม และนําขอคิดไปใชในชีวิตจริงดวยการ ่ อภิปราย หรือเขียนเปนบทความแสดงความคิดเห็น กลับเมนูหลัก
  • 3. จุดประสงคการเรียนรู ๑. อธิบายที่มาของเรื่องรามเกียรติ์ได ๒. อธิบายความหมายของคําศัพทสํานวนที่ปรากฏในเรื่องได ๓. อธิบายลักษณะคําประพันธของเรื่องได ๔. อธิบายคุณคาของเรื่องตอนที่เรียนในดานวรรณศิลปได ๕. บอกขอคิดที่ได จากเรื่อง แลวสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตจริงได กลับเมนูหลัก
  • 4. ตํานานการแตงรามายณะนั้นมีหลายประเภท แตเสฐียร โกเศศกลาวไวดังนี้ พระวาลมิกิพรหมฤาษีไปสูสํานักพระนารทพรหมฤษี สนทนาไตถามถึง บุคคลสําคัญในโลกนี้วามีใครเปนผูแกลวกลาสามารถ และมีคุณสมบัติดี เลิศ พระนารทฤษีจึงเลาประวัติพระรามใหฟง ครั้นกลับจากสํานักพระนา รทฤาษี ไดเห็นพรานยิงนกกระเรียนตัวผูซึ่งกําลังรื่นรมยกับคูของมันตาย พระวาลมิกิสลดใจสมเพชนกนักหนา ถึงกับทนนิ่งอยูไมได จึงกลาวสาป นายพราน (รัชกาลที่ ๖ ไดแปลมาเปนฉันท) ดังนี้ ชะพรานกมลชั่ว จิตมัวมิรูอาย พรากนกกระเรียนตาย ขณะมันสราญรมย ใจมึงบปรานี ก็จะมีอะไรสม แนมึงจะตกจม ณ นรกตลอดกาล หนาถัดไป
  • 5. ตอมาพระวาลมิกิ หวนระลึกถึงเหตุการณนั้นก็เสียใจที่สาป พรานไป ดวยมิใชกิจอะไรของตน เมื่อไมสามารถบรรเทาความ โทมนัสนั้นใหสงบได ทาวมหาพรหมกรุณามาปรากฏตัวใหเห็น ชวยปลอบโยนวาไมควรเสียใจในการที่กลาวคําสาปนั้น เพราะ แทจริงแลวคําสาปพรานนั้น กลายเปนความหมายในทาง สรรเสริญพระนารายณเปนเจาเมื่อทรงปราบยักษ ทั้งนี้เพราะคําที่เปลงเปนโศลกภาษาสันสกฤตนั้นสามารถแปล จากนกกระเรียนเปนยักษไดดวย จึงอาจแปลความไดวา หนาถัดไป
  • 6. “ขาแตพระองคผูเปนที่ประทับแหงพระลักษมี ไดทรงถึง ความมั่นคงแลวเปนเวลานานป เพราะไดพรากคูยักษลง ตนหนึ่งซึ่งหลงเพลินในกาม” และทาวมหาพรหมบอกอีก วา ถอยคําของพระวาลมิกินั้นกลาวดวยถอยคําที่สมเพช จึงใหเรียกวา โศลก และใหเปนบทแรกในเรื่องรามายณะ ของใหพระวาลมิกิฤาษี รจนาเรื่องตอไป พระฤาษีวาลมิกิ จึงไดเขียนเรื่องรามายณะขึ้นไปจนจบ รวมเปนโศลกถึง สองหมื่นสี่พันโศลก สําหรับใหมนุษย อาน กลับเมนูหลัก
  • 7. ที่มาของเรื่องรามเกียรติ์ รามเกียรติ์ เปนบทละครที่มมาตั้งแตสมัยอยุธยา โดยมีเคาเรื่องมาจาก ี มหากาพยรามายนะของอินเดีย แตตนฉบับสมัยกรุงศรีอยุธยาขาดสูญไม สมบูรณ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) พระองคทรงฟนฟูศิลปวัฒนธรรมขึ้นหลายอยาง รวมทั้งทรง  พระราชนิพนธบทละครเรื่องรามเกียรติ์บางตอนดวย และทรงโปรดฯ ให นักปราชญรวมกันประพันธ จนถือไดวา รามเกียรติฉบับพระราชนิพนธใน ์ รัชกาลที่ ๑ เปนฉบับที่สมบูรณที่สุด กลับเมนูหลัก
  • 8. เนื้อเรื่องยอ ตอนนารายณปราบนนทก นนทกนั่งประจําอยูที่บันไดของเชิงเขาไกรลาส โดยมีหนาที่ลางเทาใหแกเหลาเทวดาที่มาเขา เฝาพระอิศวร เหลาเทวดาที่พากันมาเขาเฝาพระอิศวร ไดยื่นเทาใหลางแลวมักแหยเยาหยอกลอ นนทกอยูเปนประจํา ดวยการลูบหัวบาง ตบหัวบาง ถอนผมบาง จนกระทั่งผมรวงลานทั้ง ศีรษะ นนทกแคนใจมากแตวาตนเองไมมีกําลังจะสูได จึงไปเขาเฝาพระอิศวร แลวกราบทูลวา ตนไดทํางานรับใชพระองคมานานถึง ๑๐ ลานป ยังไมเคยไดรับสิ่งตอบแทนใดๆเลย จึงทูล ขอใหนิ้วเปนเพชร มีฤทธิ์ชี้ผูใดก็ใหผูนั้นตาย พระอิศวรเห็นวานนทกปฏิบัติหนาที่รับใชพระองคมานานจึงประทานพรใหตามที่ขอ หนาถัดไป
  • 9. ไมนานนักนนทกก็มีใจกําเริบ เพียงแตถูกเทวดามาลูบศีรษะเลนเชน เคย นนทกก็ชี้ใหตายเปนจํานวนมาก พระอิศวรทรงทราบก็ทรง กริ้ว โปรดใหพระนารายณไปปราบ พระนารายณแปลงเปนนางฟามายั่วยวน นนทกนึกรักจึงเกี้ยว นาว นางแปลงจึงชวนใหนนทกรําตามนางกอนจึงจะรับรัก นนทก ตกลงรําตามไปจนถึงทารําที่ใชนิ้วเพชรชี้ขาตนเองนนทกก็ลมลง หนาถัดไป
  • 10. จากนั้นนนทกเห็นนางแปลงปรากฎรางเปนพระนารายณ จึงตอวาพระนารายณวาเอาเปรียบ ตนเพราะวาพระนารายณมีอํานาจ มีถึง ๔ กร แตตนมีแค ๒ มือและเหตุใดจึงมาทํา อุบายหลอกลวงตนอีก พระนารายณจึงทาใหนนทกไปเกิดใหมใหมี ๒๐ มือ แลวพระองคจะตามไปเกิดเปนมนุษยที่มี เพียง ๒ มือ ลงไปสูดวย หลังจากที่พระนารายณพูดจบก็ใชพระแสงตรีตัดศีรษะนนทกแลวนนทกก็สิ้นใจตาย ชาติตอมานนทกจึงไดไปเกิดเปนทศกัณฐ สวนพระนารายณก็อวตารลงมาเกิดเปนพระราม กลับเมนูหลัก
  • 11. ลักษณะคําประพันธ แตงดวยกลอนบทละคร ลักษณะกลอนบทละคร ลักษณะบังคับเหมือนกลอนสุภาพ แตวรรคแรกมักขึ้นตนดวย เมื่อนั้น บัดนั้น มา จะกลาวบทไป เมื่อนั้น ใชกับตัวละครเอกของเรื่อง หรือตัวละครที่เปนพระมหากษัตริย บัดนั้น ใชกับตัวละครสามัญ หรือตัวละครที่มีบทบาทรอง มาจะกลาวบทไป นิยมใชเมื่อขึ้นความใหม หรือเปลี่ยนเรื่องมาเลาเรื่องใหม หนาถัดไป
  • 12. แผนผังกลอนบทละคร บาทเอก OOOOOO OOOOOO บาทโท OOOOOO OOOOOO สัมผัส ระหวางบท OOOOOO OOOOOO OOOOOO OOOOOO กลับเมนูหลัก
  • 13. คุณคางานประพันธดานวรรณศิลป  รสทางวรรณคดี หมายถึง บทที่เปนสวนของเนื้อหาที่เนน คุณคาทางดานอารมณ โดยการเลือกใช ถอยคําหรือสํานวนภาษาที่ทําใหเกิดภาพพจนและความงาม ทําใหผูอานรับรูถึงอารมณความรูสกตางๆ เชน สะเทือน ึ อารมณ ประทับใจ กินใจ เปนตน หนาถัดไป
  • 14. เสาวรจนี สัลปงคพิสัย รสวรรณคดี คลิกเพื่อดูรายละเอียด นารีปราโมทย พิโรธวาทัง กลับเมนูหลัก
  • 15. ๑. เสาวรจนี ไดแก บทชมความงาม ตัวอยาง ในตอนที่นนทกเห็นนางแปลงก็ตกตะลึงในความงาม ถึงกับ พรรณนาออกมาวา ถึงโฉมองคอัครลักษมี พระสุรัสวดีเสนหา สิ้นทั้งไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรียบไมเทียบทัน ดูไหนก็เพลินจําเริญรัก ในองคเยาวลักษณสาวสวรรค ยิ่งพิศยิ่งคิดผูกพัน ก็เดินกระชั้นเขาไป กลับเมนูหลัก กลับหนาเดิม
  • 16. ๒. นารีปราโมทย ไดแก บทเกี้ยวพาราสี ตัวอยาง ในตอนที่นนทกเกี้ยวพาราสีตอนางแปลง อันซึ่งธุระของเจา หนักเบาจงแจงใหประจักษ ถาวาสนาเราเคยบํารุงรัก ก็จะเปนภักษผลสืบไป ตัวพี่มิไดลวนลาม จะถือความสิ่งนี้นี่ไมได สาวสวรรคขวัญฟายาใจ พี่ไรคูจะพึ่งแตไมตรี กลับเมนูหลัก กลับหนาเดิม
  • 17. ๓. พิโรธวาทัง ไดแก บทโกรธ บทตัดพอตอวา ตัวอยาง ในตอนที่นนทกแสดงอาการโกรธที่โดนเทวดา แกลง บัดนั้น นนทกน้ําใจแกลวกลา กริ้วโกรธรองประกาศตวาดมา อนิจจาขมเหงเลนทุกวัน จนหัวไมมีผมติด สุดคิดที่เราจะอดกลั้น วันนี้จะไดเห็นดีกัน ฟนแลวชี้นิ้วไป กลับเมนูหลัก กลับหนาเดิม
  • 18. ๔. สัลลาปงคพิสัย ไดแก บทโศกเศราเสียใจ ตัวอยาง ในตอนที่นนทกรําพึงรําพันเมื่อเขา เฝาพระอิศวร พระองคผูทรงศักดาเดช ไมโปรดเกศแกขาบทศรี กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้ ทูลพลางโศกีราพัน ํ กลับเมนูหลัก กลับหนาเดิม
  • 19. แงคิดจากเรื่อง ความสัมพันธระหวางคนตางฐานะ ควรแสดงความมีน้ําใจ ตอบแทนใหแกกัน ไมถือศักดิ์วาตนเองมีฐานะเหนือกวา แลวขม เหงน้ําใจกันและกัน จะทําใหสังคมไมสงบสุข ความโกรธและความอาฆาตรุนแรง จะนําความเสียหายมาสู ตนเองในที่สุด การจองเวรเปนเรื่องที่ไมดี เพราะจะกอใหเกิดการลางแคนไมมี ที่สิ้นสุด เพราะฉะนั้น เวรยอมระงับดวยการไมจองเวร กลับเมนูหลัก
  • 20. คําศัพท สํานวนที่ควรทราบ คลิกเพื่อคนหาความหมาย สุรัสวดี เกษียรวารี อสุนี หัสนัยน อัฒจันทร นาคี ไกรลาส ไฟกาล เทพนมปฐม สุบรรณ ตรัยตรึงศา ภักษผล พรหมสี่หนา บทบงสุ,บทศรี ตรี ลักษมี คนธรรพ ธาตรี บังเหตุ พระหริวงศ วิทยา เทพอัปสร สําเร็จมโนรถ จุไร นนทก,นนทุก โสมนัสา พระองคทรงสังข คทาธร กลับเมนูหลัก
  • 21. เทพนมปฐมพรหมสี่หนา  ทารําของนางรํา ที่เปนนารายณแปลงซึ่งไดแก ๑. เทพนม ๒. ปฐม ๓. พรหมสี่หนา ๔. สอดสรอยมาลา ๕. กวางเดินดง ๖. หงสบิน ทานาคามวนหางเปนทารํา ๗. กินรินเลียบถ้ํา ๘. ชานางนอน ที่นางรําลวงใหนนทก ๙. ภมรเคลา ๑๐. แขกเตาเขารัง รําตอไปจนตองชี้ขาตัวเอง ๑๑. ผาลาเพียงไหล ๑๒. เมขลาลอแกว ลมลง ๑๓. มยุเรศฟอน ๑๔. ลมพัดยอดตอง ๑๕. พรหมนิมิต ๑๖. พิสมัยเรียงหมอน กลับหนา ๑๗. มัจฉาชมสาคร ๑๘. พระสี่กรขวางจักร คําศัพท ๑๙. นาคามวนหาง กลับเมนูหลัก
  • 22. เทพอัปสร หมายถึง นางฟา ธาตรี หมายถึง แผนดิน โลก กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 23. นนทก, นนทุก  ในรามเกียรติ์พระราชนิพนธรัชกาลที่ ๑ ตัว ละครตัวนี้ชื่อวานนทก สวนพระราชนิพนธ เบิกโรงในรัชกาลที่ ๔ ใชวา นนทุก ดังนี้ เรื่องนารายณกําราบปราบนนทุก ในตนไตรดายุคโบราณวา เปนเรื่องดึกดําบรรพสืบกันมา ครังศรีอยุธยาเอามาใช ้ กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 24.  บทบงสุ, บทศรี ใชหมายถึง พระบาท ของเทวดา หรือกษัตริยเปนตน บังเหตุ หมายถึง ประมาท ทําใหเปนเหตุ กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 25. กระเษียรวารี  หมายถึง เกษียรสมุทร หรือ ทะเลน้ํานม ขณะบรรทม พระนารายณจะประทับอยูบนพญาอนันตนาคราชกลาง เกษียรสมุทร ซึ่งมักเรียกวา นารายณบรรทมสินธุ (เมื่อ เหาะเหินจึงจะทรงครุฑ ซึ่งมักเรียกวา นารายณทรง สุบรรณ) กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 26. นาคี หมายถึง นาค คือ งูใหญมีหงอน เปนสัตวในนิยาย พระหริวงศ หมายถึง พระนารายณ ภักษผล หมายถึง ผลสําเร็จ กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 27. พระองคทรงคทาธร เปนสี่กรก็รูประจักษใจ หมายถึง พระนารายณ ตามคติอินเดียวามีสี่กร ถือสังข จักร คทา และธรณี สวนในวรรณคดีไทย พระนารายณมักถือ ตรี แทนธรณี ดังปรากฏในรามเกียรติ์ตอน “กุมภกรรณลม” วา กอนจะตายกุมภกรรณเห็นพระรามเปนพระสี่กร ทรงเทพอาวุธจักรสังข ทั้งตรีคทาศิลปศร จึงรูวานารายณฤทธิรอน จากกระเษียรสาครเสด็จมา กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 28. ไพกาล คือ ไพกัลป หรือ ไฟบรรลัยกัลป ตามคติพราหมณเชื่อวา เปนไฟไหมลางโลกเมื่อสิ้นอายุของ โลกครั้งหนึ่ง ๆซึ่งเรียกวากัป หรือกัลป กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 29. ลักษมี คือ พระชายาของพระนารายณ วิทยา คือ วิทยาธร ชาวสวรรคพวกหนึ่งมีวิชาอาคม สําเร็จมโนรถ หมายถึง ไดตามที่ตองการ กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 30. สิ้นทา หมายถึง ครบทุกทารํา สุบรรณ หมายถึง ครุฑ คือ พญานกในเทพนิยาย สุรัสวดี หมายถึง ชายาของพระพรหม โสมนัสา หมายถึง ยินดี กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 31. หัสนัยน หมายถึง สหัสนัยน คือ ผูมพันดา หมายถึง พระ ี อินทร เปนเทวราชผูเปนใหญในสวรรคชั้นดาวดึงส อสุนี หมายถึง ฟาผา อัฒจันทร หมายถึง ขั้นบันได กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 32. ไกรลาส  ชื่อภูเขาที่เปนทีประทับของพระอิศวร ่ กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 33. คนธรรพ ชาวสวรรคพวกหนึ่ง มีความชํานาญในวิชาดนตรี และขับรอง กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 34. จุไร ผมที่เกลาเปนจุก และประดับอยาง สวยงาม กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 35. ตรัยตรึงศา  ตรัยตรึงศ หรือดาวดึงส แปลวา ๓๓ เปนชื่อ สวรรคที่มีเทพชั้นผูใหญ ๓๓ องค และมีพระ อินทรเปนหัวหนา เปนสวรรคชั้นที่ ๒ แหง ฉกามาพจร(สวรรค ๖ ชั้นฟา) กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 36. ตรี คือ ตรีศูลเปนอาวุธสามงาม ปกติเปน เทพอาวุธของพระอิศวร แตในที่นี้เปน เพทอาวุธของพระนารายณ กลับหนา คําศัพท กลับเมนูหลัก
  • 38. กิตติกรรมประกาศ กราบขอบพระคุณ คุณครูคนงนาฏ รุณวุฒิ ที่ใหคําปรึกษาเนื้อหาการทําสื่อ คณะครูคอมพิวเตอรโรงเรียนสา ใหคําปรึกษาเรื่องโปรแกรมการจัดทํา สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน คุณครูจํานง ปญญาดี ฝายโสตทัศนศึกษาโรงเรียน ที่ชวยตัดตอภาพยนตร ตัวอยาง และบันทึกเสียง บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวงไทย จํากัด ที่เอื้อเฟอภาพยนตรการตูนเรื่อง รามเกียรติ์ คณะครูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โรงเรียนทาวังผาพิทยาคมที่เอื้อเฟอ วีซีดีเสนสีลีลาวรรณกรรม เรื่อง นารายณอวตาร และทุกทานที่ใหกําลังใจเสมอ มา กลับเมนูหลัก
  • 39. บรรณานุกรม  www.heritage.thaigov.net  กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.กรุงเทพมหานคร.๒๕๔๘  นาคะประทีป.สมญาภิธานรามเกียรติ์. พระนคร : แพรพิทยา, 2510.  พุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช , พระบาทสมเด็จพระ. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ เลม 1-4. กรุงเทพฯ : แพรพิทยา, 2515.  มงกุฎเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. บอเกิดรามเกียรติ์. พระนคร : ศิลปาบรรณาคาร, 2509.  วิพุธ โสภวงศ และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานภาษาไทย : ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพมหานคร,๒๕๔๗.  สมพร สิงหโต. “ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมีกิและรามเกียรติ์พระราชนิพนธใน รัชกาลที่ 1,” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516.  เสนีย วิลาวรรณ.ประวัติวรรณคดี ๒ . กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช.มปป. กลับเมนูหลัก
  • 40. ขอที่ ๑ ขอที่ ๖ ขอที่ ๒ ขอที่ ๗ ขอที่ ๓ ขอที่ ๘ ขอที่ ๔ ขอที่ ๙ ขอที่ ๕ ขอที่ ๑๐ กลับเมนูหลัก
  • 41. ขอที่ ๑ เรื่องรามเกียรติ์ ตอนที่นักเรียนเรียน เปนบทพระราชนิพนธในสมัยใด สมเด็จพระนารายณมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กลับเมนูหลัก
  • 42. ขอที่ ๒ รามเกียรติ์เปนบทละครที่มีมาตั้งแต สมัยใด สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร กลับเมนูหลัก
  • 43. ขอที่ ๓ รามเกียรติ์ ฉบับใดที่ถือวาเปนฉบับที่ สมบูรณที่สุด รัชกาลที่ ๑ รัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๓ สมเด็จพระนารายณมหาราช กลับเมนูหลัก
  • 44. ขอที่ ๔ เรื่องรามเกียรติ์ เปนเรื่องราวการ อวตารของเทพเจาองคใด พระนารายณ พระพรหม พระอิศวร พระอินทร กลับเมนูหลัก
  • 45. ขอที่ ๕ นนทก คือใคร ศัตรูของพระนารายณ ผูที่ทําหนาที่ลางเทาใหเทวดาเชิงเขาไกรลาส  ผูทําหนาที่เฝาประตูทั้งสี่ใหแกพระอิศวร ผูที่ทําหนาที่ฟอนรําใหกับเทวดาชม  กลับเมนูหลัก
  • 46. ขอที่ ๖ ใครเปนผูประทานนิ้วเพชรใหแกนนทก พระอินทร พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ กลับเมนูหลัก
  • 47. ขอที่ ๗ นนทกไปเกิดเปนใครในชาติตอมา พระลักษณ พระราม ทศกัณฐ หนุมาน กลับเมนูหลัก
  • 48. ขอที่ ๘ “ผมโกรนโลนเกลี้ยงถึงเพียงหู ดูเงาในน้ําแลวรองไห” ขอใด เปนเหตุใหนนทกมีลักษณะเชนนั้นมากที่สุด เหลาเทวดาตบหัว เหลาเทวดาลูบหัว เหลาเทวดาถอนผม เหลาเทวดาลูบหนา กลับเมนูหลัก
  • 49. ขอที่ ๙ นักเรียนคิดวาขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหนนทกตองประสบ เคราะหกรรมครั้งนี้ ความเคียดแคนพยาบาท การละทิงหนาที่การงาน ้ ความขลาดเขลาเบาปญญา ความใจรอน กลับเมนูหลัก
  • 50. ขอที่ ๑๐ นนทกหลงกลนางแปลงดวยทารําในขอใด พรหมสี่หนา นาคามวนหาง กวางเดินดง เมฆขลาโยนแกว กลับเมนูหลัก
  • 52. คลิกที่นี่ ! กลับไปยังกรอบแบบทดสอบ กอนเรียนแลวทําขอตอไปเลยคะ อยาลืมบันทึกคะแนนไวนะคะ
  • 53. ขอที่ ๑ ขอที่ ๖ ขอที่ ๑๑ ขอที่ ๒ ขอที่ ๗ ขอที่ ๑๒ ขอที่ ๓ ขอที่ ๘ ขอที่ ๑๓ ขอที่ ๔ ขอที่ ๙ ขอที่ ๑๔ ขอที่ ๕ ขอที่ ๑๐ ขอที่ ๑๕ ขอที่ ๑๖ ขอที่ ๑๗ ขอที่ ๑๘ ขอที่ ๑๙ ขอที่ ๒๐ กลับเมนูหลัก
  • 54. ขอที่ ๑ เรื่องรามเกียรติ์ เปนเรื่องราวการอวตาร ของเทพเจาองคใด พระพรหม พระอินทร พระนารายณ พระอิศวร กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 55. ขอที่ ๒ นักเรียนคิดวาขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหนนทกตอง ประสบเคราะหกรรมครั้งนี้ ความต่าตอยในหนาที่การงาน ํ ความโงเขลาเบาปญญา ความอัปลักษณของตัวเอง ความพยาบาทจองเวร กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 56. ขอที่ ๓ นนทกขอสิ่งใดจากพระอิศวร  ขอพร ๗ ประการ  ขอพระตรีเพชร  ขอนิ้วเพชรที่มีอํานาจ  ขอใหมีมือ ๒๐ มือ กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 57. ขอที่ ๔ เรื่องรามเกียรติ์ไดเคาเรื่องมาจาก เรื่องอะไร  รามายนะของอินเดีย  มหาภารตะของจีน  กาพยมหาชาติของไทย  ซูสีไทเฮา ของจีน กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 58. ขอที่ ๕นนทกแคนใจเรื่องใดมากที่สุดจึงมา เขาเฝาพระอิศวร  เรื่องถูกถอนผม  คิดวาตนถูกดูหมิ่น  ตาของตนแดง  ภาระอันต่ําตอย กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 59. ขอที่ ๖ พระอิศวรสงใครไป ปราบนนทก  พระอินทร  พระนารายณ  พญาครุฑ  พระพรหม กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 60. ขอที่ ๗ ถานักเรียนเปนนนทก จะถือคติในขอใด เปวแตพกในการดําเนินชีวิต  แล นหลั รหมลิขิต  ตาตอตา ฟนตอฟน  เวรยอมระงับดวยการ  ธรรมะยอมชนะอธรรม ไมจองเวร กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 61. ขอที่ ๘ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด  เหลือเห็นสตรีวิไลลักษณ พิศพักตรผองเพียงแขไข งามโอษฐงามแกวงามจุไร งามนัยนเนตรงามกร  เสาวรจนี  นารีปราโมช  พิโรธวาทัง  สัลปงคพิไสย กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 62. ขอที่ ๙ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด  ถึงโฉมองคอัครลักษมี พระสุรัสวดีเสนหา สิ้นทั้งไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรียบไมเทียบทัน  เสาวรจนี  นารีปราโมช  พิโรธวาทัง  สัลปงคพิไสย กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 63. ขอที่ ๑๐ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด  ยิ้มแลวจึงกลาวสุนทร ดูกอนนางฟาเฉลิมศรี เจาจักปรารมภไปไยมี พี่เปนคนเกาพอเขาใจ  เสาวรจนี  นารีปราโมช  พิโรธวาทัง  สัลปงคพิไสย กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 64. ขอที่๑๑ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด  พระองคผูทรงศักดาเดช ไมโปรดเกศแกขาบทศรี กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้ ทูลพลางโศกีรําพัน  เสาวรจนี  นารีปราโมช  พิโรธวาทัง  สัลปงคพิไสย กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 65. ขอที่๑๒ คําประพันธตอไปนี้ คือรสวรรณคดีใด บัดนั้น นนทกน้ําใจแกลวกลา กริ้วโกรธรองประกาศตวาดมา อนิจจาขงเหงเลนทุกวัน  เสาวรจนี  นารีปราโมช  พิโรธวาทัง  สัลปงคพิไสย กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 66. ขอที่ ๑๓. “บัดนั้น นนทกผูใจแกลวกลา” จากขอความทําไมจึงตองใช “บัดนั้น” เพราะ “บัดนั้น” ใชสําหรับผูนอย เพราะ “บัดนั้น” ใชกับตัวละครที่เปนยักษ เพราะ “บัดนั้น” ใชกับตัวละครเอก เพราะ “บัดนั้น” ใชกับผูเปนใหญในที่นั้น กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 67. ขอที่ ๑๔ นนทกหลงกลนางแปลงดวยทารําใด กวางเดินดง เมขลาโยนแกว มัจฉาชมสาคร นาคามวนหาง กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 68. ขอที่ ๑๕ เหตุใดพระนารายณตองมาปราบนนทก เพราะ นนทกฆาเหลาเทวดา เพราะ นนทกมีชูกับนางฟอนรําของพระอิศวร เพราะ พระนารายณแคนใจนนทกที่ไมลางเทาให เพราะ นนทกลักนางสีดาไป กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 69. ขอที่ ๑๖ ทาวสหัสนัยน หมายถึงใคร พระอิศวร พระนารายณ พระพรหม พระอินทร กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 70. ขอที่ ๑๗ “พระองคทรงสังขคทาธร” หมายถึงใคร พระอิศวร พระนารายณ พระพรหม พระอินทร กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 71. ขอที่ ๑๘ รามเกียรติ์ตอนที่นักเรียนเรียนนี้ใหขอคิด ในการดําเนินชีวิต ยกเวนขอใด กรรมใดใครกอ กรรมนั้นยอมตอบสนอง ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว อยาเห็นกงจักรเปนดอกบัว เวรยอมระงับดวยการไมจองเวร กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 72. ขอที่ ๑๙ สุดทายแลวพระนารายณอวตารไปเกิดเปน ใครเพื่อปราบนนทกอีกชาติหนึ่ง ทศกัณฐ พระลักษมณ พระราม หนุมาน กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 73. ขอที่ ๒๐ รามเกียรติ์ฉบับที่เรียนนี้เปนพระราช นิพนธในรัชสมัยใด รัชกาลที่ ๑ รัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๓ รัชกาลที่ ๔ กลับหนาแบบทดสอบ หลังเรียน
  • 75. บันทึกคะแนนไว แลวคลิกที่นี่ เพี่อทําขอตอไปนะคะ