SlideShare a Scribd company logo
1 of 238
Download to read offline
บทที่1
สาระการเรียนรู้
1.1บทนา
1.2การสื่ อสารข้อมูล
1.3ประสิ ทธิภาพข้องการสื่ อสารข้อมูล
1.4การพัฒนาของการสื่ อสารข้อมูล
1.5ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล
1.6คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการสื่ อสารข้อมูล
1.7ทิศทางของการส่งข้อมูล
1.8รู ปแบบการเชื่อมโยงเครื อข่าย
1.9มาตรฐานที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูล
1.10องศ์กรมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง
              ี่
1.สามารถอธิบายความหมายของการสื่ อสารข้อมูลได้
2.สามารถอธิบายการพัฒนาของระบบสื่ อสารข้อได้
3.เพื่อให้ทราบถึงประโยชน์ของการสื่ อสาร
4.เพื่อให้ทราบถึงมาตรฐานของการสื่ อสาร
5.เพื่อให้ทราบถึงองค์กรมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการสื่ อสาร
พื้นฐานความรูท่ีควรรู ้
             ้
1. ความรู ้เรื่ องระบบคอมพิวเตอร์
2. ความรู ้เรื่ องการสื่ อสาร
 1.1 บทนา
       มนุษย์เราได้มีการคิดค้นและพัฒนาวิธีการสื่ อสารข้อมูลในรู ปแบบต่างๆ มาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน แต่ลกษณะของการสื่ อสารที่
                                                                                                           ั
เหมือนกัน คือ
    1. ต้องมีอุปกรณ์สาหรับส่ งข่าวสาร
                                   ่
   2. วิธีการแปลงข่าวสารให้อยูในรู ปแบบที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถส่ งผ่านอุปกรณ์ได้
       ปัจจุบนนี้การสื่ อสารข้อมูลทาให้โลกเราซึ่งกว้างใหญ่ไพศาลดูเหมือนมีขนาดเล็กลง เนื่องจากความรวดเร็วในการรับส่ งข้อมูล ทา
                ั
ให้มนุษย์ สามารถทราบข่าวสารที่เกิดขึ้นทุกหนทุกแห่งในโลกนี้ทนทีที่ข่าวสารนั้นเกิดขึ้น
                                                                  ั
1.2 การสื่ อสารข้ อมูล
1.2.1 ความหมายของการสื่ อสารข้ อมูล
                                                          ่
            การสื่ อสารข้อมูล หมายถึง การส่ งข้อมูลที่อยูในเลขฐานสอง ที่เกิดจากอุปกรณ์เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ต้ งแต่ 2 เครื่ องขึ้น
                                                                                                                 ั
ไป โดยมี                   วัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
1.2.2 องศ์ ประกอบของระบบการสื่ อสารข้ อมูล
ระบบการสื่ อสารข้อมูลมีองศ์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้ คือ
1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ ส่งข้ อมูล (Sender)เป็ นต้นทางการสื่ อสาร มีหน้าที่เตรี ยมข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดส่ ง
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์ รับข้ อมูล (Receiver)
เป็ นปลายทางของการสื่ อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารทีผส่งจัดส่ งมาให้
                                                           ู้
3. สื่ อกลาง (Medium)
เป็ นเส้นทางการสื่ อสาร เพื่อนาข้อมูลข่าวสารจากต้นไปยังปลายทาง สื่ อกลางการสื่ อสารนี้ อาจเป็ นเส้นลวดทองแดง สายเคเบิล
สายใยแก้วนาทาง หรื อคลื่นต่างๆ ที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ
4. ข่ าวสาร (Message)
เป็ นสัญญาณที่ส่งผ่านไปในสื่ อกลาง แบ่งออกเป็ น 4 รู ปแบบ ดังนี้ คือ
-เสี ยง (Voice)
อาจเป็ นเสี ยงของคน หรื อเสี ยงที่ถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต่างๆ
-ข้อมูล (Data)
ส่ วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบแน่นอน การส่ งสัญญาณข้อมูลสามารถส่ งด้วยความเร็วสู ง
-ข้อความ (Text)
             ั ่
ส่ วนใหญ่มกอยูในรู ปแบบของอักขระหรื อเอกสารมีรูปแบบไม่แน่นอน
-รู ปภาพ (Image)
                ่
เป็ นข้อมูลทีอยูในรู ปของกราฟิ กต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพวีดีโอ ใช้ปริ มาณเนื้อที่มาก
5. โปรโตคอล (Protocol)
หมายถึงกฎระเบียบ หรื อข้อตกลงที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลเพื่อให้ผรับและผูส่งสามารถเข้าใจหรื อพูดคุยกันได้
                                                                 ู้      ้
1.3 ประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล
1.3.1 ปัจจัยทีมผลต่ อประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล
              ่ ี
1.ข่ าวสาร
ระบบการสื่ อสารที่ดี ข้อมูลข่าวสารจะต้องสามารถเข้าใจได้ดีระหว่างผูรับละผูส่ง เช่น คนไทยพูดคุยกันด้วยภาษาไทย
                                                                  ้      ้
2. คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ ละองศ์ ประกอบของระบบการสื่ อสาร
คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละองศ์กรของระบบการสื่ อสารข้อมูล มีผลต่อประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารนั้น เช่น การสื่ อสารข้อมูล
ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่ อง โดยใช้สายใยแสงนาแสง
3. การรบกวน
ในระบบการสื่ อสารข้อมูล ขณะที่ข่าวสารถูกส่ งไปในสื่ อกลางจะเกิดสัญญาณรบกวน เรี ยกว่า Noise
1.3.2 กฎเกณฑ์ ทใช้ ในการวัดประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล
               ี่
1.การถ่ ายโอน
หมายถึง การนาข่าวสารจากผูส่งไปยังผูรับปลายทางได้อย่างถูกต้อง
                         ้         ้
2.ความเทียงตรง
         ่
หมายถึง ข่าวสารที่ผรับได้รับมาจะต้องเป็ นข่าวสารชุดเดียวกับข่าวสารที่ส่ง มีความครบถ้วน สมบูรณ์
                   ู้
3. เวลา
หมายถึง ระยะเวลาทีใช้ในการถ่ายโอนข่าวสารจาผูส่งจนถึงผูรับ
                                            ้         ้
1.4 การพัฒนาของการสื่อสารข้ อมูล
  ประวัติของการสื่ อสารข้อมูลเริ่ มตั้งแต่มีการนาคอมพิวเตอร์มาเข้าใช้งาน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ยคแรกมีการประมวลผลแบบ Batch
                                                                                               ุ
คือ มีการประมวลผลที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เพียงที่เดียว ข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ จะถูกส่ งเข้ามาทีศนย์คอมพิวเตอร์
                                                                                             ู
   ปี ค.ศ. 1960 เริ่ มมีการต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ระบบโทรศัพท์ ซึ่งข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆจะถูกส่ งมาที่ศนย์คอมพิวเตอร์
                                                                                                               ู
โดยใช้ระบบโทรศัพท์ แล้วทาการประมวลผลแบบ Batch ที่ศนย์คอมพิวเตอร์เมื่อได้ผลลัพธ์ออกมาก็จะส่ งกลับไปยังที่เดิมโดยระบบ
                                                             ู
                                                 ่
โทรศัพท์ เรี ยกการประมวลผลข้อมูลลักษณะนี้วา Online Batch
   ปี ค.ศ. 1970 เริ่ มมีการใช้ระบบ Real Time คือมีการส่ งข้อมูลแต่ละรายการไปยังศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อทาการประมวลผล แล้วเมื่อ
             ็
ได้ผลลัพธ์กจะส่ งกลับไปยังที่เดิมในเวลาอันรวดเร็ ว ซึ่งระบบ Real Time ในช่วงนี้มีการใช้ฐานข้อมูลในลักษณะฐานข้อมูลแบบรวม
                      ู่
โดยมีฐานข้อมูลที่อยูศนย์คอมพิวเตอร์เพียงที่เดียว
   ปี ค.ศ. 1975 เริ่ มใช้ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Processing) ซึ่งแหล่งกาเนิดข้อมูลแต่ละแหล่งจะมีเครื่ อง
คอมพิวเตอร์พร้อมกับหน่วยจัดเก็บข้อมูล จึงทาให้สามารถประมวลผลและส่ งข้อมูลที่จาเป็ นไปยังหน่วยงานต่างๆได้ การทางานลักษณะนี้
เรี ยกว่า “เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ”
1.5 ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล
    ปัจจุบนการสื่ อสารข้อมูลมีบทบาทและสาคัญมากพอๆ กับความสาคัญทางด้านคอมพิวเตอร์ จนมีผกล่าวกันว่า เทคโนโลยีปัจจุบน
          ั                                                                                   ู้                         ั
                                                                                      ั
เป็ นยุคเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่ อสาร ซึ่งการสื่ อสารข้อมูลนั้นเปรี ยบได้กบโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบเครื่ องเดียวได้ลดลงไป กลายเป็ นการทางานแบบเครื อข่ายที่มีการ
                               ั
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่ องเข้าด้วยกันโดยอาศัยการสื่ อสารข้อมูลเข้ามาช่วยทาให้การทางานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพละเป็ น
ระบบแบบอัตโนมัติประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล สามารถแบ่งออกเป็ น ดังนี้คือ
1.5.1 การสื่ อสารข้ อมูลเพือการบริหารและการจัดการ
                           ่
     ตัวอย่าง ในการทางานขององค์กรหนึ่งๆ มีการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์หลายเครื่ องและหลายชนิดสาหรับงานประเภทต่างๆ เช่น
คอมพิวเตอร์ในโรงงาน คลังสิ นค้า สานักงานใหญ่และในสาขาต่างๆซึ่งแต่ละแห่งตั้งอยูห่างกัน แต่เพื่อให้การทางานและการจัดการ
                                                                                   ่
เป็ นไปอย่างมีแระสิ ทธิภาพ จึงมีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน
1.5.2 การสื่อสารข้อมูลเพือการบริการ
                         ่
   เนื่องจากการติดต่อสื่ อสารข้อมูลระหว่างผูใช้คอมพิวเตอร์สามารถทาไดอย่างรวดเร็ว ส่ งผลให้การบริ การด้านต่างๆ ได้มีการนา
                                              ้
ระบบสื่ อสารเข้ามาช่วยในการบริ การ เช่น
- การบริ การด้านข้อมูลข่าวสาร หรื อ World Wide Web
- การจองตัวเครื่ องบิน รถไฟ รถทัวร์ และตัวภาพยนตร์
           ๋                                ๋
- Home Banking , Home Shopping
1.5.3 การสื่อสารข้อมูลในด้ านธุรกิจการเงิน
   การสื่ อสารข้อมูลมีบทบาทมากในด้านธุรกิจการเงิน เช่น งานด้านธนาคาร หรื อตลาดหลักทรัพย์
ตัวอย่าง เช่น ATM การซื้อขายหุน
                              ้
1.5.4 การสื่อสารข้อมูลเพือแลกเปลียนข่ าวสาร
                         ่       ่
- ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail)
- ระบบไปรษณี ยเ์ สี ยง (Voice Mail)
-การเล่นเกม สามารถข้ามประเทศได้
1.6 คาศัพท์ ที่เกียวข้ องกับการสื่อสารข้ อมูล
                  ่
1.6.1 รหัสสากลทีใช้ ในการแทนข้ อมูล (Date)
                    ่
     โดย ทัวๆไปการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ จะเก็บในลักษณะของเลขฐานสอง คือ “0” และ “1” จึงมีการกาหนดรู ปรู ปแบบ
           ่
ของการแทนข้อมูลต่างๆกัน ดังนี้
- รหัสแทนข้อมูลแบบซีดี (BCD)                 - รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกี (ASCII)
-รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE)          - รหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซี ดิก (EBCDIC)
รหัสแทนข้ อมูลแบบบีซีดี (BCD : Binary Coded Decimal)
  รหัสบีซีดี เป็ นรหัสที่ใช้เลขฐานสองและเลขฐานสิ บ ใช้จานวน 6 บิต เพื่อแทนข้อมูล 1 อักขระ ดังนั้นรหัสบีซีดีจึงสามารถสร่ าง
รหัสที่มีความแตกต่างกันได้ 64 รหัส การกาหนดรหัสบีซีดีสาหรับ 1 อักขระนี้ ทาได้โดยแบ่งจานวน 6 บิต ออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
   Zone Bit ใช้ 2 บิตแรก
   Digit Bit ใช้ 4 บิตหลัง
รหัสแทนข้ อมูลแบบเอ็บซีดิก (EBCDIC: Extended Binary-Coded Decimal Interchange Code)
   เป็ นรหัสแทนข้อมูลที่ได้พฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานสาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ของ บริ ษท IBM โดยเฉพาะรหัสแทนแบบ
                              ั                                                            ั
EBCDIC ใช้จานวน 8 บิต เพื่อแทนตัวอักษรตัวหนึ่ง
รหัสแทนข้ อมูลแบบแอสกี (ASCII : American Standard Code For Information Interchange)
   เป็ นรหัสที่ใช้แทนข้อมูลที่มีการนามาใช้งานในเครื่ องคอมพิวเตอร์ PC ในยุคแรก รหัส ASCLL ใช้จานวน 7 บิต เพื่อแทน
ตัวอักษรตัวหนึ่ง ดังนั้นการกาหนดรหัสแบบนี้สามารถแทนตัวอักษรได้สูงสุ ด 128 ตัวอักษร ซึ่งเพียงพอในการแทนตัวอักษรและ
สัญญาลักษณ์ในภาษาอังกฤษ ต่อมาเมื่อรหัส ASCII ถูกนาไปใช้ในหลายประเทศทัวโลกทาให้จานวนตัวอักษรละสัญญาลักษณ์ไม่
                                                                               ่
เพียงพอต่อการใช้งาน
รหัสแทนข้ อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE)
   รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเมื่อปี ค.ศ. 1983 โดยใช้จานวน 16 บิต เพื่อแทนตัวอักษรตัวหนึ่ง โดยแบ่ง
แอกเป็ น
- ตัวอักษร 128 ตัวแรก มีสัญญาลักษณ์เหมือนรหัส ASCII
- ส่ วนที่เหลือใช้แทนตัวอักษรของตัวต่างๆ เช่น ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี รวมทั้งสัญญาลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสัญญาลักษณ์พิเศษอื่นๆ
1.6.2 สัญญาณ (Signal)
                                                                                     ่
     สัญญาณ (Signal) หมายถึง ข้อมูลที่ถูกนามาทาการเข้ารหัส (Encoding) ให้อยูในรู ปแบบที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถส่ งผ่านไปใน
สื่ อกลางได้
     ตัวอย่าง ข้อมูลที่เป็ นรู ปภาพ ซึ่งไม่ส่ามารถนารู ปภาพนั้นส่ งผ่านสื่ อกลางให้ไปถึงผูรับได้ แต่สามารถทาได้โดยการนารู ปนั้นมา
                                                                                          ้
จัดเก็บในรู ปของข้อมูลดิจิตอล โดยวิธีการสแกนแล้วนาข้อมูลนั้นมาทาการเข้ารหัส
     สัญญาณที่ใช้ในการส่ งผ่านสื่ อกลาง แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
-สัญญาณอนาล็อก
- สัญญาณดิจิตอล
     สัญญาณอนาล็อก เป็ นสัญญาณที่มีลกษณะเป็ นรู ปคลื่นที่ต่อเนื่อง ซึ่งสัญญาณอนาล็อกที่ถึกส่ งไปในระยะทางไกล สัญญาณจะ
                                            ั
อ่อนตัวลง จึงใช้อุปกรณ์ Amplifier เพื่อเพิ่มกาลังสัญญาณ
     สัญญาณดิจิตอล เป็ นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง อยูในรู ปแบบของระดับแรงดันไฟฟ้ าที่เป็ นรู ปคลื่นสี่ เหลี่ยม สามารถแทนค่า
                                                        ่
เลขฐานสอง “0” และ ”1” ได้
     การส่ งสัญญาณดิจิตอลในระยะไกล สัญญาณนั้นจะอ่อนตัวลง ต้องใช้อุปกรณ์ทบทวนสัญญาณเรี ยกว่า Repeater ทาหน้าที่
ทบทวน สัญญาณให้คงรู ปเดิม
1.6.3 ช่ องทางการสื่อสาร (Channel)
    ช่องการการสื่ อสาร หมายถึง เส้นทางเพื่อให้ขอมูลข่าวสารเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยที่ช่องทางการสื่ อสารจะทาการ
                                               ้
คลื่นย้ายพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
    ตัวอย่างเช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ เครื่ องโทรศัพท์จะทาการเปลี่ยนพลังงานเสี ยง ไปเป็ นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ า แล้วทาการ
ส่ งผ่านไปตามสายโทรศัพท์
1.6.4 ชนิดช่ องทางการสื่อสาร (Channel Types)
  ช่องทางการสื่ อสารแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
- ช่องทางอนาล็อก เป็ นการรับส่ งข้อมูลที่เป็ นสัญญาณต่อเนื่อง เช่น สัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์
- ช่องทางดิจิตอล เป็ นการรับส่ งข้อมูลที่เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่อง เช่น สัญญาณข้อมูลของเครื่ องคอมพิวเตอร์
1.6.5 ช่ องทางบรอดแบรนด์ (Broadband)
ช่องทางอนาล็อกที่สามารถาส่ งผ่านสัญญาณอนาล็อกได้หลายๆสัญญาณในเวลาเดียว
1.6.6 ช่ องทางเบสแบนด์ (Baseband)
ช่องทางดิจิตอลที่ใช้ส่งสัญญาณดิจิตอล
1.6.7 ความถี่ของสั ญญาณ (Frequency)
จานวนครั้งหรื อจานวนรอบของคลื่นสัญญาณใดๆที่เกิดขึ้นในหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็ นเฮิรตซ์
1.6.8 อัตราบิต (Bit Rate)
จานวนบิตสู งสุ ดที่สามารถผ่านช่องทางดิจิตอลไปได้ในเวลาหนึ่งวินาทีหรื อเรี ยกอีกอย่างว่า
1.6.9 อัตราข้ อมูล (Date Rate)
จานวนบิตของข้อมูลที่สามารถส่ งผ่านไปในช่องทางดิจิตอลได้จริ ง
1.6.10 อัตราบอด (Baud Rate)
จานวนสัญญาณดิจิตอลที่ส่งผ่านไปในช่องทางการสื่ อสารในเวลาหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็ นบอดต่อวินาที
1.6.11 แบนด์ วดท์ (Brandwidth)
              ิ
ความจุของช่องทางการสื่ อสาร หรื อ ขีดจากัดที่ช่องทางการสื่ อสารสามารถนาข่าวสารผ่านไปได้ในช่วงเวลาที่กาหนด เรี ยกอีกอย่างว่า
แถบความถี่
1.6.12 การเข้ ารหัส (Encoding)
                          ่
การแปลงข้อมูลข่าวสารให้อยูในรู ปของสัญญาณที่พร้อมจะส่ งไปในช่องทางการสื่ อสาร
1.6.13 การถอดรหัส (Decoding)
การแปลงข้อมูลที่ส่งไปในช่องทางการสื่ อสารให้กลับมาอยูในรู ปของข้อมูลข่าวสารเดิม
                                                     ่
1.6.14 สั ญญาณรบกวน (Noise)
พลังงานในรู ปแบบต่างๆที่มีลกษณะไม่แน่นอน อาจเกิดขึ้นได้ท้ งฝั่งผูส่ง ผูรับ
                           ั                              ั ้ ้
1.7 ทิศทางของการส่ งข้ อมูล
   การส่ งข้อมูลระหว่างผูส่งและผูรับโดยผ่านสื่ อกลาง สามารถแบ่งออกเป็ น 3 รู ปแบบ คือ
                         ้       ้
1.7.1 การส่ งข้ อมูลแบบทางเดียว หรือซิเพล็กซ์ (Simplex)
  การส่ งข้อมูลแบบทางเดียว มีลกษณะ ดังนี้
                              ั
   - มีช่องสัญญาณเพียงช่องทางเดียว
   - ด้านหนึ่งเป็ นผูส่ง และอีกด้านหนึ่งเป็ นผูรับ ไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้
                     ้                         ้
   - สามารถส่ งข้อมูลได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น
   - ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบนี้ เช่น การกระจายเสี ยงของสถานีวทยุต่างๆ
                                                              ิ
1.7.2 การส่ งข้ อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง หรือฮาร์ ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex)
  การส่ งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง มีลกษณะ ดังนี้
                                   ั
   - มีช่องสัญญาณเพียงช่องสัญญาณเดียว
   - สามารถส่ งข้อมูลสวนทางกัน แต่ตองสลับเวลากันส่ งจะทาการส่ งในเวลาเดียวกันไม่ได้
                                   ้
- เมื่อผูรับทราบว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว จะต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผูรับเป็ นผูส่ง เวลาที่ใช้เรี ยกว่า Line
             ้                     ้                                                   ้        ้
Turnaround Time
    - ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผรับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว และทาการเปลี่ยนสถานะจากผูรับเป็ นผูส่ง เรี ยกว่า System
                           ู้                            ้                                         ้       ้
Turnaround Time
    - ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบนี้ เช่น วิทยุส่ื อสาร
1.7.3 การส่ งข้ อมูลแบบสองทาง หรือฟูลดูเพล็กซ์ (Full Duplex)
    การส่ งข้อมูลแบบสองทาง มีลกษณะ ดังนี้
                                     ั
    - มีช่องสัญญาณ 2 ช่อง ดังนั้นจึงสามารถส่ งได้พร้อมกันทั้งสองทาง
    - ผูรับจะต้องใช้เวลาในการตีความเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว เวลาที่ใช้เรี ยกว่า Reaction Time
         ้                                                        ้
    - ผูรับไม่ตองใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผูรับเป็ นผูส่ง ดังนั้นการส่ งข้อมูลแบบนี้จึงไม่มี Line Turnaround Time
           ้     ้                                   ้       ้
    - ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผรับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว และทาการส่ งข้อมูลกลับเรี ยกว่า System Turnaround Time ซึ่งมี
                           ู้                              ้
ค่าเท่ากับ Reaction Time
    - ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบนี้ เช่น ระบบโทรศัพท์
1.8 รู ปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ าย (Line Configuration)
    การเชื่อมโยงเครื อข่าย หมายถึง การสร้างส้นทางการสื่ อสารเพื่อส่ งข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง แบ่งออกเป็ น 2
รู ปแบบ คือ
1 การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบจุดต่อจุด (Point to Point)
2 การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบหลายจุด (Multi Point) หรื อ การเชื่อมเครื อข่ายแบบแพร่ กระจาย (Broadcast)
     การเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด
    เป็ นการเชื่อมโยงสื่ อกลางระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่ อง เท่านั้น หากอุปกรณ์ใดไม่มีสื่อกลางเชื่อมโยงถึงกัน จะต้องติดต่อสื่ อสารผ่าน
               ่
อุปกรณ์ที่อยูติดกัลป์ เป็ นทอดๆ ไป จนถึงอุปกรณ์ปลายทาง ดังนั้นการเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบนี้ จึงเหมาะกับงานที่มีการรับ/ส่ งข้อมูล
มากๆ และต่อเนื่องตลอดเวลา
ข้ อดีของการเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด
- เนื่องจากเป็ นการเชื่อมโยงโดยตรงระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่ อง ดังนั้นช่องการสื่ อสารจึงถูกใช้เต็มที่โดยไม่มีอุปกรณ์อื่นๆ มาร่ วมใช้งาน
   - มีความปลอดภัยของข้อมูลสู ง
   ข้ อเสี ยของการเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด
   - หากมีการเพิ่มอุปกรณ์สื่อสารในเครื อข่าย จะต้องเพิ่มสื่ อกลาง เพื่อใช้เป็ นช่องทางการสื่ อสารด้วย
   การเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบหลายจุด หรือการเชื่อมโยงแบบแพร่ กระจาย
   เนื่องจากการเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้ นเปลืองสื่ อกลาง การส่ งข้อมูลในแต่ละครั้งมักใช้สื่อกลางไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ
ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาการเชื่อมโยงเครื อข่าย โดยใช้ช่องสัญญาณของสื่ อกลางเดียว แต่สามารถเชื่อมโยงอุปกรณ์ได้หลายเครื่ อง
พร้อมๆกัน ซึ่งข้อมูลที่ส่งออกมาจากผูส่งจะแพร่ กระจายไปยังทุกจุดในช่องสัญญาณนั้น
                                     ้
1.9 มาตรฐานทีใช้ ในการสื่ อสารข้ อมูล
             ่
   ในระบบการสื่ อสารข้อมูล อุปกรณ์ของผูส่งและอุปกรณ์ของผูรับ จะต้องใช้วธีการส่ งข้อมูล (Transmission) การเชื่อมต่อ
                                          ้               ้            ิ
(Interface) การเข้ารหัส(Encoding) และวิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของข้อมูล (Error Detection) ในรู ปแบบเดียวกัน
   ดังนั้นเพื่อความเป็ นระเบียบ และความสะดวกของผูใช้อุปกรณ์การสื่ อสารข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
                                                 ้
1 มาตรฐานโดยนิตินัย หรือมาตรฐานแบบเดอ จูเร (De Jure Standard)
                                                                                              ่
   แบบเดอ จูเร เป็ นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรที่ไม่แสวงหาผลตอบแทน ถูกกาหนดโดยคณะกรรมการที่ผานการประชุม
เห็นชอบ มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เป็ นการกาหนดเพื่อคนส่ วนใหญ่ เรี ยกอีกอย่างว่า ระบบเปิ ด
2 มาตรฐานโดยพฤตินัย หรือมาตรฐานแบบเดอ ฟัคโต (De Facto Standard)
   แบบเดอ ฟัคโต เป็ นมาตรฐานที่เกิดขึ้นโดยไม่มีคณะกรรมการ ไม่มีการวางแผนล่วงหน้า ไม่มีการประกาศมาตรฐานให้ปฏิบติการ
                                                                                                             ั
แต่เกิดจากผูใช้มีรสนิยมในผลิตภัณฑ์ชนิดนั้นๆ
            ้
1.10 องค์ กรมาตรฐาน
   1 สถาบันแห่งชาติของสหรัฐอเมริ กา (American National Standards Institute : ANSI)
                          ่
   เป็ นองค์กรอิสระไม่อยูภายใต้อานาจของรัฐบาลสหรัฐอเมริ กา แต่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล มีวตถุประสงค์เพื่อตอบสนองให้
                                                                                            ั
ตัวแทนจากองค์กรต่างๆ ได้มีส่วนร่ วมในการกาหนดมาตรฐานในด้านต่างๆ
   2 องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Standards Organization)
   ได้กาเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1974 ที่เมืองเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ โดยมีสมาชิกประเทศต่างๆทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานในด้าน
ต่างๆ
   วิธีการกาหนดมาตรฐาน จะทาในลักษณะที่เป็ นแบบจาลอง (Model) ตัวอย่างเช่น
ISO 9002 หมายถึง มาตรฐานการทางานการบริ การ
ISO 14000 หมายถึง มาตรฐานด้านการรักษาสิ่ งแวดล้อม
   3 สหภาพร่ วมมือระหว่างประเทศว่าด้วยโทรคมนาคม (ITU)
   เป็ นองค์กรที่กาหนดมาตรฐานด้านการสื่ อสารโทรคมนาคม โดยมีหน้าที่ให้คาปรึ กษาทางเทคนิคเกี่ยวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์ โทร
เลข และอุปกรณ์การสื่ อสารข้อมูล ซึ่งเดิมองค์กรนี้ เรี ยกว่า CCITT
   4 สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE)
   เป็ นองค์กรขนาดใหญ่ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม มีหน้าที่กาหนดมาตรฐานการสื่ อสาร โดยมีจุดมุ่งหมายการกาหนดทฤษฎี
และสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพทางอิเล็กทรอนิกส์
   5 สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ า (EIA)
   เป็ นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไรคล้ายกับธุรกิจคล้ายกับองค์กร ANSIโดยมีหน้าที่กาหนดมาตรฐานสาหรับวงจรไฟฟ้ า
สรุปท้ ายบท
ความหมายของการสื่ อสารข้ อมูล
                                             ่
การสื่ อสารข้อมูล หมายถึง การส่ งข้อมูลที่อยูในเลขฐานสอง ที่เกิดจากอุปกรณ์เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ต้ งแต่ 2 เครื่ องขึ้นไป โดยมี
                                                                                                     ั
วัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
องศ์ประกอบของระบบการสื่ อสารข้อมูล
ระบบการสื่ อสารข้อมูลมีองศ์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้ คือ
1.ผูส่งหรื ออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)
    ้
2. ผูรับหรื ออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)
       ้
3. สื่ อกลาง (Medium)
4. ข่าวสาร (Message)
5. โปรโตคอล (Protocol)

ประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพของการสื่ อสารข้อมูล
1. ข่าวสาร
2. คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละองศ์ประกอบของระบบการสื่ อสาร
3. การรบกวน
กฎเกณฑ์ที่ใช้ในการวัดประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้อมูล
1 การถ่ายโอน หมายถึง การนาข่าวสารจากผูส่งไปยังผูรับปลายทางได้อย่างถูกต้อง
                                            ้      ้
2 ความเที่ยงตรง หมายถึง ข่าวสารที่ผรับได้รับมาจะต้องเป็ นข่าวสารชุดเดียวกับข่าวสารที่ส่ง มีความครบถ้วน สมบูรณ์
                                       ู้
3 เวลา หมายถึง ระยะเวลาทีใช้ในการถ่ายโอนข่าวสารจาผูส่งจนถึงผูรับ
                                                       ้        ้
ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล
1. การสื่ อสารข้อมูลเพื่อการบริ หารและการจัดการ
2 . การสื่ อสารข้อมูลเพื่อการบริ การ
3.การสื่ อสารข้อมูลในดานธุรกิจการเงิน
4 . การสื่ อสารข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสาร
คาศัพท์ ทเี่ กียวข้ องกับการสื่ อสารข้ อมูล
               ่
1.รหัสสากลที่ใช้ในการแทนข้อมูล (Date)
2. สัญญาณ (Signal)
3 . ช่องทางการสื่ อสาร (Channel)
4 . ชนิดช่องทางการสื่ อสาร (Channel Types)
5 . ช่องทางบรอดแบรนด์ (Broadband)
6. ช่องทางเบสแบนด์ (Baseband)
7 . ความถี่ของสัญญาณ (Frequency)
8 . อัตราบิต (Bit Rate)
9. อัตราข้อมูล (Date Rate)
10 . อัตราบอด (Baud Rate)
11 . แบนด์วดท์ (Brandwidth)
           ิ
12 . การเข้ารหัส (Encoding)
13 . การถอดรหัส (Decoding)
14 . สัญญาณรบกวน (Noise)

ทิศทางของการส่ งข้ อมูล
การส่ งข้อมูลระหว่างผูส่งและผูรับโดยผ่านสื่ อกลาง สามารถแบ่งออกเป็ น 3 รู ปแบบ คือ
                         ้      ้
 1 . การส่ งข้อมูลแบบทางเดียว หรื อซิเพล็กซ์ (Simplex)
 2 . การส่ งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง หรื อฮาร์ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex)
 3 . การส่ งข้อมูลแบบสองทาง หรื อฟูลดูเพล็กซ์ (Full Duplex)
    รู ปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ าย (Line Configuration)
การเชื่อมโยงเครื อข่าย หมายถึง การสร้างส้นทางการสื่ อสารเพื่อส่ งข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง แบ่งออกเป็ น 2
รู ปแบบ คือ
1 . การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบจุดต่อจุด (Point to Point)
2 . การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบหลายจุด (Multi Point) หรื อ การเชื่อมเครื อข่ายแบบแพร่ กระจาย (Broadcast)
มาตรฐานทีใช้ ในการสื่ อสารข้ อมูล
             ่
เพื่อความเป็ นระเบียบ และความสะดวกของผูใช้อุปกรณ์การสื่ อสารข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
                                              ้
1 . มาตรฐานโดยนิตินย หรื อมาตรฐานแบบเดอ จูเร (De Jure Standard)
                       ั
2 . มาตรฐานโดยพฤตินย หรื อมาตรฐานแบบเดอ ฟัคโต (De Facto Standard)
                           ั
องค์กรมาตรฐาน
1 . สถาบันแห่งชาติของสหรัฐอเมริ กา (American National Standards Institute : ANSI)
2 . องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Standards Organization)
3 . สหภาพร่ วมมือระหว่างประเทศว่าด้วยโทรคมนาคม (ITU)
4 . สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE)
5 . สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ า (EIA)
ตอนที2 จงทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้ าข้ อความที่ถูกต้ อง
     ่

 1.ข้ อใด ไม่ ใช้ องค์ ประกอบของระบบการสื่ อสารข้ อมูล
   ก. ผูรับ
          ้
   ข. ยานพาหนะ
   ค. ข่าวสาร
   ง. สื่ อสาร
2. การสื่ อสารข้ อมูล หมายถึงอะไร
    ก. การติดต่อสื่ อสารระหว่างผูรับและผูส่ง
                                 ้         ้
    ข. การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองสถานที่
    ค. การโอนย้ายข้อมูลระหว่างสื่ อกลาง
    ง. ถูกทุกข้อ
3. ทิศทางการส่ งข้ อมูลแบ่ งออกเป็ นกีรูปแบบ
                                      ่
    ก. 2 รู ปแบบ ข. 3 รู ปแบบ
    ค. 4 รู ปแบบ ง. 5 รู ปแบบ
4. การเข้ ารหัสข้ อมูล หมายถึงอะไร
    ก. การรับข้อมูล                      ข. การส่ งข้อมูล
    ค. การแปลนข้อมูลให้เป็ นสัญญาณ ง. มีขอที่ถกต้อง
                                              ้ ู
5. ช่ องทางเบสแบนด์ หมายถึงอะไร
   ก. ช่องทางดิจิตอลที่ใช้ส่งสัญญาณดิจิตอล
   ข. ช่องทางที่ใช้ในการส่ งข้อมูล
   ค. ช่องทางอนาล็อกที่ใช้ส่งสัญญาณอนาล็อก
   ง. ช่องทางอนาล็อกที่ส่งได้หลายๆ สัญญาณ
6. ข้ อใดเป็ นการส่ งข้ อมูลแบบทางเดียว
   ก. การพูดคุยทางโทรศัพท์
   ข. การฟังวิทยุ
   ค. การ Chat ทางโทรศัพท์มือถือ
   ง. การใช้วทยุสื่อสาร
             ิ
7. ข้ อดีข้อการเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด คืออะไร
   ก. ประหยัดสื่ อสาร ข. ส่ งข้อมูลได้เร็ว
   ค. ประหยัดค่าใช้จ่าย ง. ใช้ช่องทางการสื่ อสารได้เต็มประสิ ทธิภาพ
8. มาตรฐานทีใช้ ในการสื่อสารข้ อมูลแบ่ งออกเป็ นกีประเภท
            ่                                     ่
   ก. 2 รู ปแบบ ข. 3 รู ปแบบ
   ค. 4 รู ปแบบ ง. 5 รู ปแบบ
9. มาตรฐานการส่ งข้ อมูลแบบเดอจูเร หมายถึงมาตรฐานแบบใด
  ก. ถูกกาหนดขึ้นโดยคณะกรรมการ
  ข. ไม่มีการกาหนดมาตรฐานล่วงหน้า
  ค. ใช้ตวนิยมในตัวผลิตภัณฑ์
         ั
  ง. ไม่มีคณะกรรมการผูกาหนดมาตรฐาน
                      ้
10. ข้ อใดเป็ นหน้ าทีของสถาบันแห่ งชาติของสหรัฐอเมริกา (ANSI)
                      ่
  ก. กาหนดประสิ ทธิภาพของผลิตภัณฑ์
  ข. กาหนดรู ปแบบของสัญญาณที่ใช้ในการสื่ อสาร
  ค. กาหนดมาตรฐานการสื่ อสารโทรคมนาคม
  ง. กาหนดรู ปแบบการเชื่อมต่อของอุปกรณ์
เฉลย

1. ข.   2. ง.   3.ข.    4. ค.   5. ก.
6. ข.   7. ง.   8. ก.   9. ค.   10. ค.
บทที่2
สาระการเรียนรู้
2.1 บทนา
2.2 ประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้ อมูล
  2.2.1 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางได้ หรือระบบใช้ สาย
                    ่
         1 สายคู่ตีเกลียว
         2 สายโคแอกเชียล
         3 สายใยแก้วนาทาง
   2.2.2 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางไม่ ได้ หรือระบบไร้ สาย
                      ่
         1 คลื่นไมโครเวฟ
         2 แสงอินฟราเรด
         3 ระบบสื่ อสารวิทยุ
         4 ระบบดาวเทียม
         5 บลูทูธ
2.3 หลักการพิจารณาเลือกใช้ สื่อกลาง
ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
                 ่ี
1. เพื่อให้ทราบถึงประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้อมูล
2. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการใช้งานสื่ อกลางในการส่ งข้อมูลแต่ละชนิด
3. สามารถอธิบายข้อดี/ข้อเสี ยของสื่ อกลางในการส่ งข้อมูลการส่ งข้อมูลแต่ละชนิด
4. สามารถเลือกใช้สื่อกลางในกลางส่ งข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
พืนฐานความรู้ ทควรมี
  ้                  ี่
1. ความรู ้เรื่ องระบบคอมพิวเตอร์
2. ความรู ้เรื่ องการสื่ อสารข้อมูล
2.1 บทนา
    ปัจจุบนนี้การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็ นปัจจัยจาเป็ นต่อชีวตประจาวันของมนุษย์เรา แต่การสื่ อสารข้อมูล
            ั                                                                         ิ
และเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทางานได้เลยถ้าปราศจากสื่ อสารที่ใช้ในการส่ งข้อมูล
2.2 ประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้ อมูล
    สื่ อกลางได้แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
    2.2.1 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางได้ หรือระบบไร้ สาย (Wired System)
                        ่
         1 สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)
         2 สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable)
         3 สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable)
         สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)
         ลักษณะของสายตู่ตีเกลียว
         - สายคู่ตีเกลียวแต่ละคู่ทาด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นมีฉนวนหุม พันกันเป็ นเกลียว
                                                                          ้
         - สายคู่ตีเกลียว 1 คู่ ใช้แทน 1 ช่องทางการสื่ อสาร
         - สามารถใช่ส่งสัญญาณได้ท้ งสัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิตอล
                                       ั
ประเภทของสายคู่ตีเกลียว
สายคู่ตีเกลียวที่นิยมใช้ในปัจจุบน บ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
                                ั
- สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนโลหะหุม (UTP)
                               ้
- ในสายเคเบิล 1 เส้น ประกอบด้วยสายคู่ตีเกลียว 4 คู่ (8 เส้น)
- เหมาะสาหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่มีระยะห่างไมเกิน 30 เมตร
ข้ อดี
 - ราคาถูก
- ง่ายต่อการใช้งาน
ข้ อเสี ย
- ความเร็วในการส่ งข้อมูลต่า
- ระยะทางในการส่ งข้อมูลสั้น
- ง่ายต่อการถูกรบกวนจากภายนอก
สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable)
ลักษณะ
                       ่
มีเส้นลวดทองแดงอยูตรงกลางเพื่อนาสัญญาณ
- ชั้นที่ 1 ฉนวนพลาสติก
- ชั้นที่ 2 ฉนวนโลหะที่ถกเป็ นตาข่าย
                         ั
- ขั้นที่ 3 (ชั้นนอก)ฉนวนพลาสติก
- สามารถส่ งสัญญาณอนาล็อกและดิจิตอลได้




ประเภทสายโคแอกเชียล
- ประเภท 50 โอห์ม ใช้ส่งข้อมูลดิจิตอล
- ประเภท 75 โอห์ม ใช้ส่งข้อมูลอนาล็อก
ข้ อดี
 - สามารถใช้งานได้ในระยะไกล
 - ป้ องกันสัญญาณรบกวนได้ดี
 ข้ อเสี ย
 - ราคาแพง
 - สายมีขนาดใหญ่
 - ติดตั้งยาก
สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable)
 ลักษณะของสายใยแก้วนาแสง
 - แกนนาแสงซึ่งทาด้วยแก้ว มีขนาดเล็กมาก
 - วัสดุห่อหุมแกนนาแสง “Reflective Cladding”
             ้
 - วัสดุห่อหุมภายนอก “Protection Buffer”
               ้
 - การส่ งข้อมูล สัญญาณจะมีความเข้มของแสงต่างระดับกัน
ประเภทของสายใยแก้วนาแสง
1. Multi Mode Step Index ใช้หลักการให้สะท้อนแสงด้วยมุมต่างๆ
2. Graded Index Multi Mode ใช้หลักการให้เกิดจุดรวมของการสะท้อนแสง
3. Single Mode เป็ นสายใยแก้วนาแสงที่มีความเร็ว
ข้ อดี
   - มีขนาดเล็กและนาหนักเบา
   - อัตราความเร็วในการส่ งข้อมูลสู ง
   - มีความทนทานต่อคลื่นรบกวนภายนอก
   - สามารถใช้งานในที่ที่มีอุณหภูมิสูงหรื อต่าได้
   ข้ อเสี ย
   - ราคาแพง
   - มีความเปราะบาง แตกหักง่าย
   - ติดตั้งอยาก


2.2.2 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางไม่ ได้ หรือระบบไร้ สาย (Wireless System)
                 ่
   1. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave)
   2. แสงอินฟราเรด (Infrared)
   3. ระบบสื่ อสารวิทยุ (Radio Link)
   4. ระบบดาวเทียม (Satellite Link)
   5. บลูทูธ (Bluetooth)
คลืนไมโครเวฟ (Microwave)
   ่
     ลักษณะ
     - การรับ/ส่ งข้อมูล ใช้จานสะท้อนรู ปพาลาโบลา
     - สถานีหนึ่งๆ ครอบคลุมพื้นที่ในการรับสัญญาณได้ 30-50 กม.
     - ใช้ความถี่ในการส่ งสัญญาณข้อมูลในช่วง 2 – 4 GHz




    ข้ อดี
    - เป็ นระบบไร้สายจึงไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
                              ้
    - ไม่มีปัญหาเรื่ องสายขาด
    - มีค่าแบนด์วดธ์สูง ซึ่งทาผลให้อตราความเร็วการส่ งข้อมูลสู งด้วย
                    ิ                ั
    ข้ อเสี ย
    - เป็ นสื่ อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย
    - ค่าติดตั้งจานและค่าเสาส่ งมีราคาแพง
    - การใช้งานต้องขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่ อสาร
แสงอินฟราเรด (Infrared)
ลักษณะ
- ใช้ในการส่ งข้อมูลในระยะใกล้ๆ เท่านั้น
- นิยมใช้ในการสื่ อสารข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์เท่านั้น
- มีอตราความเร็วในการส่ งข้อมูลไม่สูง ประมาณ 4 Mbps
     ั




ข้ อดี
- ราคาถูก
- สามารถใช้งานได้โดยไม่ตองขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่ อสาร
                         ้
ข้ อเสี ย
- ไม่สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้
- ถูกรบกวนจากแสงอาทิตย์ได้ง่าย
ระบบสื่ อสารวิทยุ (Radio Link)
ลักษณะ
                                               ั
- ระบบสื่ อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณสามารถใช้ได้กบหลายสถานี
- ใช้ความถี่ในการส่ งข้อมูลในช่วง 400 – 900 MHz




ข้ อดี
- ใช้งานได้โดยไม่ตองขอใช้ความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่ อสาร
                  ้
- สามารถใช้ส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีเคลื่อนที่ได้
   - มีค่าแบนด์วดธ์สูง
                ิ
ข้ อเสี ย
- เป็ นสื่ อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย
- การส่ งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่ กระจาย ความปลอดภัยของข้อมูลจึงต่า
ระบบดาวเทียม (Satellite Link)
ลักษณะ
- ทางานคล้ายกับคลื่นไมโครเวฟ
- ข้อมูลจากพื้นดินไปยังดาวเทียม เรี ยกว่า Uplink
- ข้อมูลจากจากระบบดาวเทียมมาพื้นดิน เรี ยกว่า Downlink




ข้ อดี
- ส่ งข้อมูลได้ในระยะไกล
- เป็ นระบบไร้สาย จึงไม่มีปัญหาเรื่ องสายขาด
- ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งไม่ข้ ึนอยูกบระยะทาง
                                   ่ ั
ข้ อเสี ย
- เกิดความล่าช้าของสัญญาณข้อมูล
- ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย
- ความปลอดภัยของข้อมูลต่า
บลูทูธ (Bluetooth)
    ลักษณะ
     -เป็ นเทคโนโลยีสมัยใหม่
    - สามารถสื่ อสารได้ในระยะไม่เกิน 10 เมตร
    - สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้
    - สื่ อสารระหว่างหลายๆ อุปกรณ์ได้




-   ข้ อดี
    - เป็ นระบบการสื่ อสารที่มีมาตรฐาน
    - สามารถใช้งานได้ท้งข้อมูล เสี ยง และมัลติมีเดีย
                         ั
    ข้ อเสีย
    - มีปัญหาเรื่ องการชนกันของข้อมูล
2.3 หลักการพิจารณาการเลือกใช้ สื่อกลาง
     ต้ นทุน (Cost)
     - ต้นทุนอุปกรณ์
     - ต้นทุนการติดตั้ง
     - เปรี ยบเทียบราคา และประสิ ทธิ ภาพ
     ความเร็ว (Speed)
     - การส่ งผ่านสัญญาณข้อมูล
     - การแพร่ สัญญาณข้อมูล
      ระยะทาง (Distance) มีความสามารถในการส่ งข้อมูลไปได้ในระยะทางต่างๆ ดังนั้นการเลือกใช้สื่อกลางแต่ละ
ชนิด จะต้องทราบข้อจากัดด้านระยะทาง เพื่อที่จะต้องทาการติดตั้งอุปกรณ์
     สภาพแวดล้อม (Environmen) การเลือกใช้สื่อกลางควรเลือกสื่ อกลางที่ทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดี
       ความปลอดภัยของข้ อมูล (Security) ต้องคานึงถึงความปลอดภัยของข้อมูล ดังนั้นต้องมีการเข้ารหัสข้อมูลก่อนที่
จะส่ งไปในสื่ อกลาง และผูรับก็ตองมีการถอดรหัสที่ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน จึงสามารถนาข้อมูลไปใช้งานได้
                         ้     ้
สรุปท้ ายบท

2.2 ประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้ อมูล
   สื่ อกลางได้แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
   2.2.1 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางได้ หรือระบบไร้ สาย (Wired System)
                    ่
      1 สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)
      2 สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable)
      3 สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable)
2.2.2 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางไม่ ได้ หรือระบบไร้ สาย (Wireless System)
                 ่
      1. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave)
      2. แสงอินฟราเรด (Infrared)
      3. ระบบสื่ อสารวิทยุ (Radio Link)
      4. ระบบดาวเทียม (Satellite Link)
      5. บลูทูธ (Bluetooth)
2.3 หลักการพิจารณาการเลือกใช้ สื่อกลาง
    - ต้ นทุน (Cost)
    - ความเร็ว (Speed)
    - ระยะทาง (Distance)
    - สภาพแวดล้อม (Environmen)
    - ความปลอดภัยของข้ อมูล (Security)
ตอนที่2 จงทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้ าข้ อความที่ถูกต้ อง
1. สื่ อกลางชนิดใดมีอตราความเร็วในการส่ งข้ อมูลสู งทีสุด
                         ั                            ่
   ก. สายคู่ตีเกลียวมีฉนวนหุม ้
   ข. สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุม  ้
   ค. สายโคแอกเชียล
   ง. สายใยนาแก้ว
2. การส่ งสัญญาณข้ อมูลด้ วยความถีสูงเป็ นทอด ๆ จากสถานีหนึ่งไปอีกสถานีหนึ่ง คือระบบใด
                                     ่
   ก. ระบบไมโครเวฟ
   ข. แสงอินฟาเรด
   ค. ระบบสื่ อสารวิทยุ
   ง. ถูกทุกข้อ
3. สายคู่ตีเกลียวใช้ ส่งสัญญาณข้ อมูลประเภทใด
   ก. สัญญาณดิจิตอลอย่างเดียว
   ข. สัญญาณอนาล็อกอย่างเดียว
   ค. สัญญาณดิจิตอลและสัญญาณอนาล็อก
   ง. ไม่มีคาตอบที่ถูกต้อง
4. คอนเน็กเตอร์ ทใช้ กบสายโคแอกเชียล คือคอนเน็กเตอร์ ประเภทใด
                   ี่ ั
   ก. อาร์เจ-45
   ข. อาร์เจ-11
   ค. บีเอ็นซี
   ง. ไม่มีคาตอบที่ถกต้อง
                       ู
5. สายใยแก้วนาแสงทีใช้ หลักการให้ แสงสะท้ อน ด้ วยมุมต่ าง ๆ จนถึงปลายทางคือสายใยแก้วนาแสง ประเภทใด
                   ่
   ก. Multi Mode Step Index
   ข. Graded Index Multi Mode
   ค. Single Mode
   ง. Reflective Cladding
6. ข้ อใด ไม่ ใช่ ข้ อดีของสายใยแก้วนาแสง
   ก. มีขนาดเล็กและน้ าหนักเบา
   ข. ทนทานต่อคลื่นรบกวนภายนอกสู ง
   ค. ใช้งานในที่ที่มีอุณหภูมิต่าหรื อสู งมากๆ ได้
   ง. ติดตั้งง่าย
7. ข้ อใด ไมใช่ สื่ อกลางประเภทกาหนดเส้ นทางได้
   ก. สายคู่ตีเกลียว
   ข. สายโคแอกเชียล
   ค. คลื่นไมโครเวฟ
   ง. สายใยแก้วนาแสง
8. ข้ อใด ไม่ ใช่ หลักเกณฑ์ ในการเลือกใช้ สื่อกลาง
   ก. ต้นทุน               ข. ระยะทาง
   ค. ความเร็ว             ง. ความสวยงาม
9. ข้ อใดกล่ าว ไม่ ถูกต้ องเกียวกับบลูทูธ
                               ่
   ก. ใช้ระหว่างสองอุปกรณ์เท่านั้น
   ข. สามารถสื่ อสารผ่านวัตถุทึบแสงได้
   ค. ความถี่ในการส่ งสัญญาณข้อมูล 2.5 GHz
   ง. ใช้ได้ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร
10. อุปกรณ์ ททาหน้ าทีในการ รับ-ส่ ง และขยายสัญญาณในระบบดาวเทียม เรียกว่ าอะไร
             ี่       ่
   ก. Cladding
   ข. Transponder
   ค. Uplink
   ง. Downlink
เฉลย
1 ง.   2 ก.   3 ค.   4 ค.   5 ก.
6 ง.   7 ค.   8 ง.   9 ก.   10 ข.
บทที่ 3
เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล
3.1 บททา
 3.2 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล
          3.2.1การส่ งผ่านข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission)
          3.2.2 การส่ งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transmission)
          3.2.3 ปั ญหาของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม
          3.2.4 การส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโคนัส (Asunchromous Tansmission)
          3.2.5 การส่ งข้อมูลแบบซิ งโคนัส (Synchronous Tansmission)
                     - การส่ งข้อมูลแบบคาร์ แรกเตอร์ โอเรี ยนต์ (Character Oriented)
                     - การส่ งข้อมูลแบบบิตโอเรี ยนต์ (Character Oriented)
          3.2.6 เปรี ยบเทียบการส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโครนัส และซิ งโครนัส
3.3 ประสิ ทธิ ภาพในการส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโครนัสและซิ งโครนัส
3.4 การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล (Error Detection)
3.5 การแก้ไขความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล (Error Correction)
3.1 บทนา
            การส่ งข้อมูลดิจิตอล หมายถึง การส่ งข้อมูลในลักษณะของ
เลขฐานสอง คือมีค่าเป็ น 0 และ 1 การส่ งข้อมูลของเครื่ องคอมพิวเตอร์
 ซึ่งมีท้ งการส่ งข้อมูลภายในเครื่ องคอมพิวเตอร์การส่ งข้อมูล
          ั
ภายนอกเครื่ องคอมพิวเตอร์
            การส่ งข้อมูลภายในคอมพิวเตอร์ หมายถึง การส่ งข้อมูลระหว่าง
หน่วยงานต่างๆ ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่น การส่ งข้อมูลระหว่างหน่วย
ประมวลผลกลางและหน่วยความจา
            การส่ งข้อมูลภายนอกคอมพิวเตอร์ หมายถึง การส่ งข้อมูลระหว่า
                                 ่
เครื่ องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พวงต่าง ๆ
3.2 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล

     การส่ ง ข้อ มู ล ดิ จิ ต อล หมายถึ ง การน าข้อ มู ล มาท าการเข้า รหั ส
(Encoding) ให้เป็ นสัญญาดิจิตอลแล้วส่ งผ่านสัญญานั้นไปในสื่ อสาร
กลาง ซึ่งแบบออกเป็ น 2 รู ปแบบ คือ
1. การส่ งผ่านข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission)
2. การส่ งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transmission)
3.2 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล (ต่ อ )
          ข้ อดีของการส่ งผ่ านข้ อมูลดิจิตอล
                                                                 ่
1. มีขอผิดพลาดต่ากว่าการส่ งข้อข้อมูลมูลอนาล็อก เพราะข้อมูลที่อยูใน
        ้
รู ปแบบของเลขฐานสอง “0” และ “1” ซึ่งเรี ยกว่าบิต สามารถตรวจสอบ ได้
2. ทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสัญญาณอนาล็อก
3. การเข้ารหัส (Encoding) ข้อมูลสามารถทาได้ง่าย
4. มีอตราความเร็ วในการส่ งข้อมูลสูง
      ั
5. มีประสิ ทธิภาพในการส่ งข้อมูลสูง
6. มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง
3.2.1 การส่ งข้อมูลแบบขนาน
              (PARALLEL TRANSMISSION)
      การส่ งข้อมูล แบบขนาน หมายถึ ง การส่ ง ข้อมู ลที่ มี ก ารเข้า รหัส
ข้อมูลโดยการรวมจานวนบิตที่ใช้แทน 1 อักขระ แล้วส่ งไปในสื่ อสาร
แบบขนานกัน (ทุกๆ บิตใน 1 อักขระถูกส่ งออกไปพร้อมกัน) ดังนั้น
สื่ อกลางในการส่ งข้อมูล จะต้องมีทางการสื่ อสารเท่ากับจานวนบิ ตที่
เข้ารหัสแทน 1 อักขระ
3.2.1 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล (ต่ อ )
        ข้ อดีของการส่ งข้ อมูลแบบขนาน
-       สามารถส่ งข้อมูลได้ดวยความเร็ วสูง
                               ้

         ข้อเสียของการส่งข้อมูลแบบขนาน
    -    ใช้ในการส่งข้อมูลในระยะใกล้ ๆ กัน
    -    สื่ อกลางที่ใช้มีราคาสูง
3.2.2 การส่ งข้อมูลแบบอนุกรม (SERIAL
                TRANSMISSION)
       การส่ งข้อมูลแบบอนุกรม หมายถึง การส่ งข้อมูลที่ทุกบิตที่เข้ารหัส
แทน 1 อักขระ จะถูกส่ งเรี ยงลาดับกันไปทีละบิตติดต่อกันในสื่ อสาร
ดัง นั้น สื่ อ กลางจึ ง มี เพี ย ง 1 ช่ อ งทางการสื่ อ สาร การเชื่ อ มต่ อ ระบบ
ไมโครคอมพิวเตอร์ กับอุปกรณ์ ภ ายนอกส่ วนใหญ่ จะใช้การเชื่ อมต่ อ
แบบ ขนาน (parallel tranmisson) กับแบบอนุกรม (serial transmission)
                                                ั
สาหรับการเชื่อมต่อแบบอนุ กรมนิ ยมใช้กนมาก เช่น การเคลื่อนย้ายกัน
ระหว่างไมโครคอมพิวเตอร์ หรื อ อุปกรณ์เสริ มต่างๆ เช่น mouse เป็ น
ต้น
                                    
3.2.2 การส่ งข้อมูลแบบอนุกรม (SERIAL
                      TRANSMISSION) (ต่อ)
        ข้ อดีของการส่ งข้ อมูลแบบอนุกรม
-       ใช้ในการส่ งข้อมูลระยะทางไกล
-       สื่ อสารที่ใช้ราคาไม่สูง


         ข้อเสียของการส่งข้อมูลแบบอนุกรม
    -    ความเร็วในการส่งข้อมูลตา่
3.2.3 ปัญหาของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม
ปัญหาของส่ งข้อมูลอนุกรมมี 2 ประการ คือ
ประการที่ 1 Bit Synchronization
       หมายถึง การทาให้บิตของข้อมูลที่ส่งถูกต้อง ลาดับของการ
  รั บและส่ งข้อมูลตรงกัน นั่นคือผูส่งและผูรับ จะต้องทาการส่ ง
                                   ้         ้
  และรับข้อมูลด้วยอัตราความเร็ วเท่ากัน เรี ยกวิธีการนี้ ว่า การเข้า
  จังหวะบิต (Clock)
3.2.3 ปัญหาของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม (ต่อ)
ประการที่ 2 Character Synchronization
       หมายถึง การที่ผูรับทาการจัดลาดับบิตของข้อมูลแล้วรวมกันเป็ น
                       ้
  ตัวอักขระซึ่ งตาแหน่งของแต่ละบิตในตัวอักขระจะต้องถูกต้องปั ญหานี้
  แก้ไ ขได้โ ดยการส่ ง ข้อ มู ล แบบซิ ง โครนัส และการส่ ง ข้อ มู ล แบบอะ
  ซิงโครนัส
3.2.4 การส่ งข้อมูลแบบอะซิงโคนัส
         (ASUNCHROMOUS TANSMISSION)
   ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบอะซิงโครนัส คือ
1. การส่ งข้อมูลแบบอะซิงโคนัส เป็ นการส่ งข้อมูลแบบอนุกรมวิธีหนึ่ง
2. การส่ งข้อมูลแบบแบบอะซิงโคนัส เรี ยกอีกอย่างว่า “การส่ งผ่านข้อมูล
แบบ Start-stop”
3. การส่ งข้อมูล จะนาจานวนบิตของแต่ละอักขระที่ตองส่ งมาจัดทาเป็ น
                                                  ้
เฟรม
3.2.4 การส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโคนัส
        (ASUNCHROMOUS TANSMISSION) (ต่อ)
      ข้ อดีของการส่ งข้ อมูลแบบอะซิงโคนัส
                                ั
1. การส่ งข้อมูลแบบนี้นิยมใช้กนอย่างแพร่ หลายเพราะเป็ นเทคนิคที่ไม่ใช่
ซับซ้อนและซับซ้อนไม่ยงยาก   ุ่
2. อุปกรณ์และสื่ อกลางในการส่ งข้อมูล มีราคาถูก
3. นิ ยมใช้ในการส่ งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ กบอุปกรณ์ที่อยู่
                                                           ั
      ห่างไกล
      ข้อเสียของการส่งข้อมูลแบบอะซิงโคนัส
1. มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลตา ่
2.ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูล ต่อสูญเสียไปกับบิตเริมต้นและบิตจบ
                                                 ่
3.2.5 การส่ งข้อมูลแบบซิ งโคนัส
              (SYNCHRONOUS TANSMISSION)
   ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบซิงโครนัส คือ
1. การส่ งข้อมูลแบบซิงโคนัส เป็ นการส่ งข้อมูลแบบอนุกรมวิธีหนึ่ง
2. การส่ งข้อมูล จานวนบิตของข้อมูลมารวบกันเป็ นกลุ่มเรี ยกว่าบล็อกข้อมูล
      (Block) ซึ่ งข้อมูลแต่ละบล็อกประกอบด้วยหลายอักขระโดยไม่จาเป็ นต้อง
      มีบิตเริ่ มต้นและบิตจบระหว่างอักขระ
3. แต่ละเฟรมของข้อมูลประกอบด้วย
      - กลุ่มบิตส่ วนตัว (Header) - บล็อกข้อมูล (Data) - กลุ่มบิตส่ วนท้าย
      (Trailer)
4. การส่ งแบบซิงโครนัส แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
      - คาแรกเตอร์โอเรี ยนต์ - บิตโอเรี ยนต์
การส่ งข้อมูลแบบคาร์เตอร์โอเรี ยนต์
               (CHARACTER ORIENTED)
       การส่ งข้ อมูลแบบคาร์ แรกเตอร์ โอเรียนต์ (Character Oriented)
       ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบคาแรกเตอร์ โอเรียนต์ คือ
1. เป็ นการส่ งข้อมูลแบบซิงโคนัสวิธีหนึ่ง
2. การส่ งข้อมูลแบบนี้เหมาะสมสาหรับการส่ งข้อมูลที่เป็ นข้อความ
(อักขระ)
3. แต่ละเฟรมของข้อมูล ประกอบด้วย คือ
การส่ งข้อมูลแบบคาร์เตอร์โอเรี ยนต์
         (CHARACTER ORIENTED) (ต่อ)
 กลุ่มบิตส่ วนหัว (Header)
  - อักขระซิ งโคนัส (Synchronization Character) เรี ยกย่อ ๆ ว่าอักขระ
  ซิ งก์ (SYN) ซึ่ งอาจมีมากกว่า 1 อักขระ เพื่อเป็ นสัญญาลักษณ์ให้ผรับ ู้
                ่
  สามารถรู ้ได้วาเมื่อมีอกขระเข้ามา หมายถึง เป็ นการเริ่ มต้นบล็อกข้อมูล
                         ั
  - อักขระควบคุม (STX) ทาหน้าที่บอกจานวนอักขระในบล็อกข้อมูล
  บอกตาแหน่งปลายทางข้อมูล (ผูรับ) และข่าวสารอื่น ๆ
                                  ้
การส่ งข้อมูลแบบคาร์แรกเตอร์โอเรี ยนต์
             (CHARACTER ORIENTED) (ต่อ)
o บล็อกข้ อมูล (Data)    เป็ นกลุ่มบิตของข้อมูล โดยที่จานวนบิตของข้อมูล
  จะต้องเป็ นจานวนทวีคูณของจานวนบิตข้อมูลใน 1 อักขระ
o กลุ่มบิตส่ วยท้ าย (Trailer) ประกอบด้วย
       - อักขระควบคุม (ETX) เพื่อบอกว่าเป็ นการสิ้ นสุ ดของบล็อกข้อมูล
       - อักขระควบคุม (BCC) เพื่อตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลใน
  บล็อก
การส่ งข้อมูลแบบบิตโอเรี ยนต์ (BIT ORIENTED)
        ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบบิตโอเรียนต์ คือ
1. เป็ นการส่ งข้อมูลซิงโครนัสวิธีหนึ่ง
2.         การส่ งข้อมูลแบบนี้ไม่เหมาะสมสาหรับการส่ งข้อมูลที่เป็ น
        ข้อความ
(อักขระ)           แต่เหมาะสมในการส่ งผ่านข้อมูลประเภทเสี ยงและ
        รู ปภาพ
3. แต่ละเฟรมของข้อมูล ประกอบด้วย
การส่ งข้อมูลแบบบิตโอเรี ยนต์ (BIT ORIENTED)
                       (ต่อ)
    - กลุ่มบิตเริ่ มต้ น (Flag) เพื่อให้ได้รับทราบเป็ นการเริ่ มต้นของบล็อก
    ข้อมูล
    - กลุ่มบิตควบคุม ทาหน้าที่บอกความยาวของบล็อกข้อมูล (จานวนบิตใน
    บล็อกข้อมูล) ตาแหน่งปลายทางของข้อมูล (ผูรับ) และข่าวสารอื่น ๆ
                                                ้
•   บล็อกข้ อมูล (Data) กลุ่มบิตของข้อมูล โดยที่จานวนบิตของข้อมูล ไม่
    จาเป็ นต้องเป็ นจานวนทวีคูนของจานวนบิตข้อมูลใน 1 อักขระ
•   กลุ่มบิตส่ วนท้ าย (Trailer) ประกอบด้วย
    - กลุ่มของบิตที่ควบคุมความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล (Frame Check
    Sequence - FCS)
    - กลุ่มของบิตจบ (Flag) ซึ่งมีรูปแบบเหมือนกันกลุ่มของบิตเริ่ มต้น
3.2.6 เปรี ยบเทียบการส่ งข้อมูลแบบอะซิงโครนัส
                  และซิงโครนัส
1. การส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัสมีข้นตอนที่ซบซ้อนว่าการส่ งข้อมูลแบบ
                                 ั       ั
ซิงโครนัส เพราะต้องการสร้างและถอดเฟรมข้อมูล
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัส ต้องมีบฟเฟอร์เพื่อเก็บข้อมูล
                                                   ั
ไว้ แล้วทาการส่ งพร้อมกันทีเดียว
3. การส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัส ข้อมูลในบล็อกจะต่อเนื่องกัน ดังนั้นถ้าผูรับ
                                                                     ้
ตรวจพบว่ามีการขาดสัญญาข้อมูลในบล็อกแสดงว่าเกอดปัญหาการส่ งข้อมูล
4. การส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัสมีประสิ ทธิภาพในการส่ งผ่ายข้อมูลมากกว่า
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย

More Related Content

What's hot

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8zodiacppat
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลPukpik Jutamanee
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลBanjamasJandeng21
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 

What's hot (20)

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 

Similar to สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย

บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 

Similar to สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (20)

Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 

สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย

  • 2. สาระการเรียนรู้ 1.1บทนา 1.2การสื่ อสารข้อมูล 1.3ประสิ ทธิภาพข้องการสื่ อสารข้อมูล 1.4การพัฒนาของการสื่ อสารข้อมูล 1.5ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล 1.6คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการสื่ อสารข้อมูล 1.7ทิศทางของการส่งข้อมูล 1.8รู ปแบบการเชื่อมโยงเครื อข่าย 1.9มาตรฐานที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูล 1.10องศ์กรมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง ี่ 1.สามารถอธิบายความหมายของการสื่ อสารข้อมูลได้ 2.สามารถอธิบายการพัฒนาของระบบสื่ อสารข้อได้ 3.เพื่อให้ทราบถึงประโยชน์ของการสื่ อสาร 4.เพื่อให้ทราบถึงมาตรฐานของการสื่ อสาร 5.เพื่อให้ทราบถึงองค์กรมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการสื่ อสาร
  • 3. พื้นฐานความรูท่ีควรรู ้ ้ 1. ความรู ้เรื่ องระบบคอมพิวเตอร์ 2. ความรู ้เรื่ องการสื่ อสาร 1.1 บทนา มนุษย์เราได้มีการคิดค้นและพัฒนาวิธีการสื่ อสารข้อมูลในรู ปแบบต่างๆ มาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน แต่ลกษณะของการสื่ อสารที่ ั เหมือนกัน คือ 1. ต้องมีอุปกรณ์สาหรับส่ งข่าวสาร ่ 2. วิธีการแปลงข่าวสารให้อยูในรู ปแบบที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถส่ งผ่านอุปกรณ์ได้ ปัจจุบนนี้การสื่ อสารข้อมูลทาให้โลกเราซึ่งกว้างใหญ่ไพศาลดูเหมือนมีขนาดเล็กลง เนื่องจากความรวดเร็วในการรับส่ งข้อมูล ทา ั ให้มนุษย์ สามารถทราบข่าวสารที่เกิดขึ้นทุกหนทุกแห่งในโลกนี้ทนทีที่ข่าวสารนั้นเกิดขึ้น ั 1.2 การสื่ อสารข้ อมูล 1.2.1 ความหมายของการสื่ อสารข้ อมูล ่ การสื่ อสารข้อมูล หมายถึง การส่ งข้อมูลที่อยูในเลขฐานสอง ที่เกิดจากอุปกรณ์เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ต้ งแต่ 2 เครื่ องขึ้น ั ไป โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 1.2.2 องศ์ ประกอบของระบบการสื่ อสารข้ อมูล ระบบการสื่ อสารข้อมูลมีองศ์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้ คือ 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ ส่งข้ อมูล (Sender)เป็ นต้นทางการสื่ อสาร มีหน้าที่เตรี ยมข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดส่ ง
  • 4. 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์ รับข้ อมูล (Receiver) เป็ นปลายทางของการสื่ อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารทีผส่งจัดส่ งมาให้ ู้ 3. สื่ อกลาง (Medium) เป็ นเส้นทางการสื่ อสาร เพื่อนาข้อมูลข่าวสารจากต้นไปยังปลายทาง สื่ อกลางการสื่ อสารนี้ อาจเป็ นเส้นลวดทองแดง สายเคเบิล สายใยแก้วนาทาง หรื อคลื่นต่างๆ ที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ 4. ข่ าวสาร (Message) เป็ นสัญญาณที่ส่งผ่านไปในสื่ อกลาง แบ่งออกเป็ น 4 รู ปแบบ ดังนี้ คือ -เสี ยง (Voice) อาจเป็ นเสี ยงของคน หรื อเสี ยงที่ถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต่างๆ -ข้อมูล (Data) ส่ วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบแน่นอน การส่ งสัญญาณข้อมูลสามารถส่ งด้วยความเร็วสู ง -ข้อความ (Text) ั ่ ส่ วนใหญ่มกอยูในรู ปแบบของอักขระหรื อเอกสารมีรูปแบบไม่แน่นอน -รู ปภาพ (Image) ่ เป็ นข้อมูลทีอยูในรู ปของกราฟิ กต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพวีดีโอ ใช้ปริ มาณเนื้อที่มาก 5. โปรโตคอล (Protocol) หมายถึงกฎระเบียบ หรื อข้อตกลงที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลเพื่อให้ผรับและผูส่งสามารถเข้าใจหรื อพูดคุยกันได้ ู้ ้
  • 5. 1.3 ประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล 1.3.1 ปัจจัยทีมผลต่ อประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล ่ ี 1.ข่ าวสาร ระบบการสื่ อสารที่ดี ข้อมูลข่าวสารจะต้องสามารถเข้าใจได้ดีระหว่างผูรับละผูส่ง เช่น คนไทยพูดคุยกันด้วยภาษาไทย ้ ้ 2. คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ ละองศ์ ประกอบของระบบการสื่ อสาร คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละองศ์กรของระบบการสื่ อสารข้อมูล มีผลต่อประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารนั้น เช่น การสื่ อสารข้อมูล ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่ อง โดยใช้สายใยแสงนาแสง 3. การรบกวน ในระบบการสื่ อสารข้อมูล ขณะที่ข่าวสารถูกส่ งไปในสื่ อกลางจะเกิดสัญญาณรบกวน เรี ยกว่า Noise 1.3.2 กฎเกณฑ์ ทใช้ ในการวัดประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล ี่ 1.การถ่ ายโอน หมายถึง การนาข่าวสารจากผูส่งไปยังผูรับปลายทางได้อย่างถูกต้อง ้ ้ 2.ความเทียงตรง ่ หมายถึง ข่าวสารที่ผรับได้รับมาจะต้องเป็ นข่าวสารชุดเดียวกับข่าวสารที่ส่ง มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ู้ 3. เวลา หมายถึง ระยะเวลาทีใช้ในการถ่ายโอนข่าวสารจาผูส่งจนถึงผูรับ ้ ้
  • 6. 1.4 การพัฒนาของการสื่อสารข้ อมูล ประวัติของการสื่ อสารข้อมูลเริ่ มตั้งแต่มีการนาคอมพิวเตอร์มาเข้าใช้งาน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ยคแรกมีการประมวลผลแบบ Batch ุ คือ มีการประมวลผลที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เพียงที่เดียว ข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ จะถูกส่ งเข้ามาทีศนย์คอมพิวเตอร์ ู ปี ค.ศ. 1960 เริ่ มมีการต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ระบบโทรศัพท์ ซึ่งข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆจะถูกส่ งมาที่ศนย์คอมพิวเตอร์ ู โดยใช้ระบบโทรศัพท์ แล้วทาการประมวลผลแบบ Batch ที่ศนย์คอมพิวเตอร์เมื่อได้ผลลัพธ์ออกมาก็จะส่ งกลับไปยังที่เดิมโดยระบบ ู ่ โทรศัพท์ เรี ยกการประมวลผลข้อมูลลักษณะนี้วา Online Batch ปี ค.ศ. 1970 เริ่ มมีการใช้ระบบ Real Time คือมีการส่ งข้อมูลแต่ละรายการไปยังศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อทาการประมวลผล แล้วเมื่อ ็ ได้ผลลัพธ์กจะส่ งกลับไปยังที่เดิมในเวลาอันรวดเร็ ว ซึ่งระบบ Real Time ในช่วงนี้มีการใช้ฐานข้อมูลในลักษณะฐานข้อมูลแบบรวม ู่ โดยมีฐานข้อมูลที่อยูศนย์คอมพิวเตอร์เพียงที่เดียว ปี ค.ศ. 1975 เริ่ มใช้ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Processing) ซึ่งแหล่งกาเนิดข้อมูลแต่ละแหล่งจะมีเครื่ อง คอมพิวเตอร์พร้อมกับหน่วยจัดเก็บข้อมูล จึงทาให้สามารถประมวลผลและส่ งข้อมูลที่จาเป็ นไปยังหน่วยงานต่างๆได้ การทางานลักษณะนี้ เรี ยกว่า “เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ” 1.5 ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล ปัจจุบนการสื่ อสารข้อมูลมีบทบาทและสาคัญมากพอๆ กับความสาคัญทางด้านคอมพิวเตอร์ จนมีผกล่าวกันว่า เทคโนโลยีปัจจุบน ั ู้ ั ั เป็ นยุคเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่ อสาร ซึ่งการสื่ อสารข้อมูลนั้นเปรี ยบได้กบโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบเครื่ องเดียวได้ลดลงไป กลายเป็ นการทางานแบบเครื อข่ายที่มีการ ั เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่ องเข้าด้วยกันโดยอาศัยการสื่ อสารข้อมูลเข้ามาช่วยทาให้การทางานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพละเป็ น ระบบแบบอัตโนมัติประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล สามารถแบ่งออกเป็ น ดังนี้คือ 1.5.1 การสื่ อสารข้ อมูลเพือการบริหารและการจัดการ ่ ตัวอย่าง ในการทางานขององค์กรหนึ่งๆ มีการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์หลายเครื่ องและหลายชนิดสาหรับงานประเภทต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ในโรงงาน คลังสิ นค้า สานักงานใหญ่และในสาขาต่างๆซึ่งแต่ละแห่งตั้งอยูห่างกัน แต่เพื่อให้การทางานและการจัดการ ่ เป็ นไปอย่างมีแระสิ ทธิภาพ จึงมีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน
  • 7. 1.5.2 การสื่อสารข้อมูลเพือการบริการ ่ เนื่องจากการติดต่อสื่ อสารข้อมูลระหว่างผูใช้คอมพิวเตอร์สามารถทาไดอย่างรวดเร็ว ส่ งผลให้การบริ การด้านต่างๆ ได้มีการนา ้ ระบบสื่ อสารเข้ามาช่วยในการบริ การ เช่น - การบริ การด้านข้อมูลข่าวสาร หรื อ World Wide Web - การจองตัวเครื่ องบิน รถไฟ รถทัวร์ และตัวภาพยนตร์ ๋ ๋ - Home Banking , Home Shopping 1.5.3 การสื่อสารข้อมูลในด้ านธุรกิจการเงิน การสื่ อสารข้อมูลมีบทบาทมากในด้านธุรกิจการเงิน เช่น งานด้านธนาคาร หรื อตลาดหลักทรัพย์ ตัวอย่าง เช่น ATM การซื้อขายหุน ้ 1.5.4 การสื่อสารข้อมูลเพือแลกเปลียนข่ าวสาร ่ ่ - ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) - ระบบไปรษณี ยเ์ สี ยง (Voice Mail) -การเล่นเกม สามารถข้ามประเทศได้ 1.6 คาศัพท์ ที่เกียวข้ องกับการสื่อสารข้ อมูล ่ 1.6.1 รหัสสากลทีใช้ ในการแทนข้ อมูล (Date) ่ โดย ทัวๆไปการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ จะเก็บในลักษณะของเลขฐานสอง คือ “0” และ “1” จึงมีการกาหนดรู ปรู ปแบบ ่ ของการแทนข้อมูลต่างๆกัน ดังนี้ - รหัสแทนข้อมูลแบบซีดี (BCD) - รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกี (ASCII) -รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE) - รหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซี ดิก (EBCDIC)
  • 8. รหัสแทนข้ อมูลแบบบีซีดี (BCD : Binary Coded Decimal) รหัสบีซีดี เป็ นรหัสที่ใช้เลขฐานสองและเลขฐานสิ บ ใช้จานวน 6 บิต เพื่อแทนข้อมูล 1 อักขระ ดังนั้นรหัสบีซีดีจึงสามารถสร่ าง รหัสที่มีความแตกต่างกันได้ 64 รหัส การกาหนดรหัสบีซีดีสาหรับ 1 อักขระนี้ ทาได้โดยแบ่งจานวน 6 บิต ออกเป็ น 2 ส่ วน คือ Zone Bit ใช้ 2 บิตแรก Digit Bit ใช้ 4 บิตหลัง รหัสแทนข้ อมูลแบบเอ็บซีดิก (EBCDIC: Extended Binary-Coded Decimal Interchange Code) เป็ นรหัสแทนข้อมูลที่ได้พฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานสาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ของ บริ ษท IBM โดยเฉพาะรหัสแทนแบบ ั ั EBCDIC ใช้จานวน 8 บิต เพื่อแทนตัวอักษรตัวหนึ่ง รหัสแทนข้ อมูลแบบแอสกี (ASCII : American Standard Code For Information Interchange) เป็ นรหัสที่ใช้แทนข้อมูลที่มีการนามาใช้งานในเครื่ องคอมพิวเตอร์ PC ในยุคแรก รหัส ASCLL ใช้จานวน 7 บิต เพื่อแทน ตัวอักษรตัวหนึ่ง ดังนั้นการกาหนดรหัสแบบนี้สามารถแทนตัวอักษรได้สูงสุ ด 128 ตัวอักษร ซึ่งเพียงพอในการแทนตัวอักษรและ สัญญาลักษณ์ในภาษาอังกฤษ ต่อมาเมื่อรหัส ASCII ถูกนาไปใช้ในหลายประเทศทัวโลกทาให้จานวนตัวอักษรละสัญญาลักษณ์ไม่ ่ เพียงพอต่อการใช้งาน รหัสแทนข้ อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE) รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเมื่อปี ค.ศ. 1983 โดยใช้จานวน 16 บิต เพื่อแทนตัวอักษรตัวหนึ่ง โดยแบ่ง แอกเป็ น - ตัวอักษร 128 ตัวแรก มีสัญญาลักษณ์เหมือนรหัส ASCII - ส่ วนที่เหลือใช้แทนตัวอักษรของตัวต่างๆ เช่น ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี รวมทั้งสัญญาลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสัญญาลักษณ์พิเศษอื่นๆ
  • 9. 1.6.2 สัญญาณ (Signal) ่ สัญญาณ (Signal) หมายถึง ข้อมูลที่ถูกนามาทาการเข้ารหัส (Encoding) ให้อยูในรู ปแบบที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถส่ งผ่านไปใน สื่ อกลางได้ ตัวอย่าง ข้อมูลที่เป็ นรู ปภาพ ซึ่งไม่ส่ามารถนารู ปภาพนั้นส่ งผ่านสื่ อกลางให้ไปถึงผูรับได้ แต่สามารถทาได้โดยการนารู ปนั้นมา ้ จัดเก็บในรู ปของข้อมูลดิจิตอล โดยวิธีการสแกนแล้วนาข้อมูลนั้นมาทาการเข้ารหัส สัญญาณที่ใช้ในการส่ งผ่านสื่ อกลาง แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ -สัญญาณอนาล็อก - สัญญาณดิจิตอล สัญญาณอนาล็อก เป็ นสัญญาณที่มีลกษณะเป็ นรู ปคลื่นที่ต่อเนื่อง ซึ่งสัญญาณอนาล็อกที่ถึกส่ งไปในระยะทางไกล สัญญาณจะ ั อ่อนตัวลง จึงใช้อุปกรณ์ Amplifier เพื่อเพิ่มกาลังสัญญาณ สัญญาณดิจิตอล เป็ นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง อยูในรู ปแบบของระดับแรงดันไฟฟ้ าที่เป็ นรู ปคลื่นสี่ เหลี่ยม สามารถแทนค่า ่ เลขฐานสอง “0” และ ”1” ได้ การส่ งสัญญาณดิจิตอลในระยะไกล สัญญาณนั้นจะอ่อนตัวลง ต้องใช้อุปกรณ์ทบทวนสัญญาณเรี ยกว่า Repeater ทาหน้าที่ ทบทวน สัญญาณให้คงรู ปเดิม 1.6.3 ช่ องทางการสื่อสาร (Channel) ช่องการการสื่ อสาร หมายถึง เส้นทางเพื่อให้ขอมูลข่าวสารเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยที่ช่องทางการสื่ อสารจะทาการ ้ คลื่นย้ายพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ตัวอย่างเช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ เครื่ องโทรศัพท์จะทาการเปลี่ยนพลังงานเสี ยง ไปเป็ นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ า แล้วทาการ ส่ งผ่านไปตามสายโทรศัพท์
  • 10. 1.6.4 ชนิดช่ องทางการสื่อสาร (Channel Types) ช่องทางการสื่ อสารแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ - ช่องทางอนาล็อก เป็ นการรับส่ งข้อมูลที่เป็ นสัญญาณต่อเนื่อง เช่น สัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ - ช่องทางดิจิตอล เป็ นการรับส่ งข้อมูลที่เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่อง เช่น สัญญาณข้อมูลของเครื่ องคอมพิวเตอร์ 1.6.5 ช่ องทางบรอดแบรนด์ (Broadband) ช่องทางอนาล็อกที่สามารถาส่ งผ่านสัญญาณอนาล็อกได้หลายๆสัญญาณในเวลาเดียว 1.6.6 ช่ องทางเบสแบนด์ (Baseband) ช่องทางดิจิตอลที่ใช้ส่งสัญญาณดิจิตอล 1.6.7 ความถี่ของสั ญญาณ (Frequency) จานวนครั้งหรื อจานวนรอบของคลื่นสัญญาณใดๆที่เกิดขึ้นในหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็ นเฮิรตซ์ 1.6.8 อัตราบิต (Bit Rate) จานวนบิตสู งสุ ดที่สามารถผ่านช่องทางดิจิตอลไปได้ในเวลาหนึ่งวินาทีหรื อเรี ยกอีกอย่างว่า 1.6.9 อัตราข้ อมูล (Date Rate) จานวนบิตของข้อมูลที่สามารถส่ งผ่านไปในช่องทางดิจิตอลได้จริ ง 1.6.10 อัตราบอด (Baud Rate) จานวนสัญญาณดิจิตอลที่ส่งผ่านไปในช่องทางการสื่ อสารในเวลาหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็ นบอดต่อวินาที 1.6.11 แบนด์ วดท์ (Brandwidth) ิ ความจุของช่องทางการสื่ อสาร หรื อ ขีดจากัดที่ช่องทางการสื่ อสารสามารถนาข่าวสารผ่านไปได้ในช่วงเวลาที่กาหนด เรี ยกอีกอย่างว่า แถบความถี่
  • 11. 1.6.12 การเข้ ารหัส (Encoding) ่ การแปลงข้อมูลข่าวสารให้อยูในรู ปของสัญญาณที่พร้อมจะส่ งไปในช่องทางการสื่ อสาร 1.6.13 การถอดรหัส (Decoding) การแปลงข้อมูลที่ส่งไปในช่องทางการสื่ อสารให้กลับมาอยูในรู ปของข้อมูลข่าวสารเดิม ่ 1.6.14 สั ญญาณรบกวน (Noise) พลังงานในรู ปแบบต่างๆที่มีลกษณะไม่แน่นอน อาจเกิดขึ้นได้ท้ งฝั่งผูส่ง ผูรับ ั ั ้ ้ 1.7 ทิศทางของการส่ งข้ อมูล การส่ งข้อมูลระหว่างผูส่งและผูรับโดยผ่านสื่ อกลาง สามารถแบ่งออกเป็ น 3 รู ปแบบ คือ ้ ้ 1.7.1 การส่ งข้ อมูลแบบทางเดียว หรือซิเพล็กซ์ (Simplex) การส่ งข้อมูลแบบทางเดียว มีลกษณะ ดังนี้ ั - มีช่องสัญญาณเพียงช่องทางเดียว - ด้านหนึ่งเป็ นผูส่ง และอีกด้านหนึ่งเป็ นผูรับ ไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้ ้ ้ - สามารถส่ งข้อมูลได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น - ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบนี้ เช่น การกระจายเสี ยงของสถานีวทยุต่างๆ ิ 1.7.2 การส่ งข้ อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง หรือฮาร์ ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex) การส่ งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง มีลกษณะ ดังนี้ ั - มีช่องสัญญาณเพียงช่องสัญญาณเดียว - สามารถส่ งข้อมูลสวนทางกัน แต่ตองสลับเวลากันส่ งจะทาการส่ งในเวลาเดียวกันไม่ได้ ้
  • 12. - เมื่อผูรับทราบว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว จะต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผูรับเป็ นผูส่ง เวลาที่ใช้เรี ยกว่า Line ้ ้ ้ ้ Turnaround Time - ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผรับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว และทาการเปลี่ยนสถานะจากผูรับเป็ นผูส่ง เรี ยกว่า System ู้ ้ ้ ้ Turnaround Time - ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบนี้ เช่น วิทยุส่ื อสาร 1.7.3 การส่ งข้ อมูลแบบสองทาง หรือฟูลดูเพล็กซ์ (Full Duplex) การส่ งข้อมูลแบบสองทาง มีลกษณะ ดังนี้ ั - มีช่องสัญญาณ 2 ช่อง ดังนั้นจึงสามารถส่ งได้พร้อมกันทั้งสองทาง - ผูรับจะต้องใช้เวลาในการตีความเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว เวลาที่ใช้เรี ยกว่า Reaction Time ้ ้ - ผูรับไม่ตองใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผูรับเป็ นผูส่ง ดังนั้นการส่ งข้อมูลแบบนี้จึงไม่มี Line Turnaround Time ้ ้ ้ ้ - ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผรับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผูส่งหมดแล้ว และทาการส่ งข้อมูลกลับเรี ยกว่า System Turnaround Time ซึ่งมี ู้ ้ ค่าเท่ากับ Reaction Time - ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบนี้ เช่น ระบบโทรศัพท์ 1.8 รู ปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ าย (Line Configuration) การเชื่อมโยงเครื อข่าย หมายถึง การสร้างส้นทางการสื่ อสารเพื่อส่ งข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง แบ่งออกเป็ น 2 รู ปแบบ คือ 1 การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบจุดต่อจุด (Point to Point) 2 การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบหลายจุด (Multi Point) หรื อ การเชื่อมเครื อข่ายแบบแพร่ กระจาย (Broadcast) การเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด เป็ นการเชื่อมโยงสื่ อกลางระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่ อง เท่านั้น หากอุปกรณ์ใดไม่มีสื่อกลางเชื่อมโยงถึงกัน จะต้องติดต่อสื่ อสารผ่าน ่ อุปกรณ์ที่อยูติดกัลป์ เป็ นทอดๆ ไป จนถึงอุปกรณ์ปลายทาง ดังนั้นการเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบนี้ จึงเหมาะกับงานที่มีการรับ/ส่ งข้อมูล มากๆ และต่อเนื่องตลอดเวลา
  • 13. ข้ อดีของการเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด - เนื่องจากเป็ นการเชื่อมโยงโดยตรงระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่ อง ดังนั้นช่องการสื่ อสารจึงถูกใช้เต็มที่โดยไม่มีอุปกรณ์อื่นๆ มาร่ วมใช้งาน - มีความปลอดภัยของข้อมูลสู ง ข้ อเสี ยของการเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด - หากมีการเพิ่มอุปกรณ์สื่อสารในเครื อข่าย จะต้องเพิ่มสื่ อกลาง เพื่อใช้เป็ นช่องทางการสื่ อสารด้วย การเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบหลายจุด หรือการเชื่อมโยงแบบแพร่ กระจาย เนื่องจากการเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้ นเปลืองสื่ อกลาง การส่ งข้อมูลในแต่ละครั้งมักใช้สื่อกลางไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาการเชื่อมโยงเครื อข่าย โดยใช้ช่องสัญญาณของสื่ อกลางเดียว แต่สามารถเชื่อมโยงอุปกรณ์ได้หลายเครื่ อง พร้อมๆกัน ซึ่งข้อมูลที่ส่งออกมาจากผูส่งจะแพร่ กระจายไปยังทุกจุดในช่องสัญญาณนั้น ้ 1.9 มาตรฐานทีใช้ ในการสื่ อสารข้ อมูล ่ ในระบบการสื่ อสารข้อมูล อุปกรณ์ของผูส่งและอุปกรณ์ของผูรับ จะต้องใช้วธีการส่ งข้อมูล (Transmission) การเชื่อมต่อ ้ ้ ิ (Interface) การเข้ารหัส(Encoding) และวิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของข้อมูล (Error Detection) ในรู ปแบบเดียวกัน ดังนั้นเพื่อความเป็ นระเบียบ และความสะดวกของผูใช้อุปกรณ์การสื่ อสารข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ้ 1 มาตรฐานโดยนิตินัย หรือมาตรฐานแบบเดอ จูเร (De Jure Standard) ่ แบบเดอ จูเร เป็ นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรที่ไม่แสวงหาผลตอบแทน ถูกกาหนดโดยคณะกรรมการที่ผานการประชุม เห็นชอบ มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เป็ นการกาหนดเพื่อคนส่ วนใหญ่ เรี ยกอีกอย่างว่า ระบบเปิ ด 2 มาตรฐานโดยพฤตินัย หรือมาตรฐานแบบเดอ ฟัคโต (De Facto Standard) แบบเดอ ฟัคโต เป็ นมาตรฐานที่เกิดขึ้นโดยไม่มีคณะกรรมการ ไม่มีการวางแผนล่วงหน้า ไม่มีการประกาศมาตรฐานให้ปฏิบติการ ั แต่เกิดจากผูใช้มีรสนิยมในผลิตภัณฑ์ชนิดนั้นๆ ้
  • 14. 1.10 องค์ กรมาตรฐาน 1 สถาบันแห่งชาติของสหรัฐอเมริ กา (American National Standards Institute : ANSI) ่ เป็ นองค์กรอิสระไม่อยูภายใต้อานาจของรัฐบาลสหรัฐอเมริ กา แต่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล มีวตถุประสงค์เพื่อตอบสนองให้ ั ตัวแทนจากองค์กรต่างๆ ได้มีส่วนร่ วมในการกาหนดมาตรฐานในด้านต่างๆ 2 องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Standards Organization) ได้กาเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1974 ที่เมืองเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ โดยมีสมาชิกประเทศต่างๆทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานในด้าน ต่างๆ วิธีการกาหนดมาตรฐาน จะทาในลักษณะที่เป็ นแบบจาลอง (Model) ตัวอย่างเช่น ISO 9002 หมายถึง มาตรฐานการทางานการบริ การ ISO 14000 หมายถึง มาตรฐานด้านการรักษาสิ่ งแวดล้อม 3 สหภาพร่ วมมือระหว่างประเทศว่าด้วยโทรคมนาคม (ITU) เป็ นองค์กรที่กาหนดมาตรฐานด้านการสื่ อสารโทรคมนาคม โดยมีหน้าที่ให้คาปรึ กษาทางเทคนิคเกี่ยวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์ โทร เลข และอุปกรณ์การสื่ อสารข้อมูล ซึ่งเดิมองค์กรนี้ เรี ยกว่า CCITT 4 สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) เป็ นองค์กรขนาดใหญ่ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม มีหน้าที่กาหนดมาตรฐานการสื่ อสาร โดยมีจุดมุ่งหมายการกาหนดทฤษฎี และสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพทางอิเล็กทรอนิกส์ 5 สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ า (EIA) เป็ นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไรคล้ายกับธุรกิจคล้ายกับองค์กร ANSIโดยมีหน้าที่กาหนดมาตรฐานสาหรับวงจรไฟฟ้ า
  • 15. สรุปท้ ายบท ความหมายของการสื่ อสารข้ อมูล ่ การสื่ อสารข้อมูล หมายถึง การส่ งข้อมูลที่อยูในเลขฐานสอง ที่เกิดจากอุปกรณ์เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ต้ งแต่ 2 เครื่ องขึ้นไป โดยมี ั วัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร องศ์ประกอบของระบบการสื่ อสารข้อมูล ระบบการสื่ อสารข้อมูลมีองศ์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้ คือ 1.ผูส่งหรื ออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) ้ 2. ผูรับหรื ออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ้ 3. สื่ อกลาง (Medium) 4. ข่าวสาร (Message) 5. โปรโตคอล (Protocol) ประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้ อมูล ปัจจัยที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพของการสื่ อสารข้อมูล 1. ข่าวสาร 2. คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละองศ์ประกอบของระบบการสื่ อสาร 3. การรบกวน กฎเกณฑ์ที่ใช้ในการวัดประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารข้อมูล 1 การถ่ายโอน หมายถึง การนาข่าวสารจากผูส่งไปยังผูรับปลายทางได้อย่างถูกต้อง ้ ้ 2 ความเที่ยงตรง หมายถึง ข่าวสารที่ผรับได้รับมาจะต้องเป็ นข่าวสารชุดเดียวกับข่าวสารที่ส่ง มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ู้ 3 เวลา หมายถึง ระยะเวลาทีใช้ในการถ่ายโอนข่าวสารจาผูส่งจนถึงผูรับ ้ ้
  • 16. ประโยชน์ ของการสื่ อสารข้ อมูล 1. การสื่ อสารข้อมูลเพื่อการบริ หารและการจัดการ 2 . การสื่ อสารข้อมูลเพื่อการบริ การ 3.การสื่ อสารข้อมูลในดานธุรกิจการเงิน 4 . การสื่ อสารข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสาร คาศัพท์ ทเี่ กียวข้ องกับการสื่ อสารข้ อมูล ่ 1.รหัสสากลที่ใช้ในการแทนข้อมูล (Date) 2. สัญญาณ (Signal) 3 . ช่องทางการสื่ อสาร (Channel) 4 . ชนิดช่องทางการสื่ อสาร (Channel Types) 5 . ช่องทางบรอดแบรนด์ (Broadband) 6. ช่องทางเบสแบนด์ (Baseband) 7 . ความถี่ของสัญญาณ (Frequency) 8 . อัตราบิต (Bit Rate) 9. อัตราข้อมูล (Date Rate) 10 . อัตราบอด (Baud Rate) 11 . แบนด์วดท์ (Brandwidth) ิ
  • 17. 12 . การเข้ารหัส (Encoding) 13 . การถอดรหัส (Decoding) 14 . สัญญาณรบกวน (Noise) ทิศทางของการส่ งข้ อมูล การส่ งข้อมูลระหว่างผูส่งและผูรับโดยผ่านสื่ อกลาง สามารถแบ่งออกเป็ น 3 รู ปแบบ คือ ้ ้ 1 . การส่ งข้อมูลแบบทางเดียว หรื อซิเพล็กซ์ (Simplex) 2 . การส่ งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง หรื อฮาร์ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex) 3 . การส่ งข้อมูลแบบสองทาง หรื อฟูลดูเพล็กซ์ (Full Duplex) รู ปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ าย (Line Configuration) การเชื่อมโยงเครื อข่าย หมายถึง การสร้างส้นทางการสื่ อสารเพื่อส่ งข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง แบ่งออกเป็ น 2 รู ปแบบ คือ 1 . การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบจุดต่อจุด (Point to Point) 2 . การเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบหลายจุด (Multi Point) หรื อ การเชื่อมเครื อข่ายแบบแพร่ กระจาย (Broadcast) มาตรฐานทีใช้ ในการสื่ อสารข้ อมูล ่ เพื่อความเป็ นระเบียบ และความสะดวกของผูใช้อุปกรณ์การสื่ อสารข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ้ 1 . มาตรฐานโดยนิตินย หรื อมาตรฐานแบบเดอ จูเร (De Jure Standard) ั 2 . มาตรฐานโดยพฤตินย หรื อมาตรฐานแบบเดอ ฟัคโต (De Facto Standard) ั
  • 18. องค์กรมาตรฐาน 1 . สถาบันแห่งชาติของสหรัฐอเมริ กา (American National Standards Institute : ANSI) 2 . องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Standards Organization) 3 . สหภาพร่ วมมือระหว่างประเทศว่าด้วยโทรคมนาคม (ITU) 4 . สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) 5 . สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ า (EIA)
  • 19. ตอนที2 จงทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้ าข้ อความที่ถูกต้ อง ่ 1.ข้ อใด ไม่ ใช้ องค์ ประกอบของระบบการสื่ อสารข้ อมูล ก. ผูรับ ้ ข. ยานพาหนะ ค. ข่าวสาร ง. สื่ อสาร 2. การสื่ อสารข้ อมูล หมายถึงอะไร ก. การติดต่อสื่ อสารระหว่างผูรับและผูส่ง ้ ้ ข. การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองสถานที่ ค. การโอนย้ายข้อมูลระหว่างสื่ อกลาง ง. ถูกทุกข้อ 3. ทิศทางการส่ งข้ อมูลแบ่ งออกเป็ นกีรูปแบบ ่ ก. 2 รู ปแบบ ข. 3 รู ปแบบ ค. 4 รู ปแบบ ง. 5 รู ปแบบ 4. การเข้ ารหัสข้ อมูล หมายถึงอะไร ก. การรับข้อมูล ข. การส่ งข้อมูล ค. การแปลนข้อมูลให้เป็ นสัญญาณ ง. มีขอที่ถกต้อง ้ ู
  • 20. 5. ช่ องทางเบสแบนด์ หมายถึงอะไร ก. ช่องทางดิจิตอลที่ใช้ส่งสัญญาณดิจิตอล ข. ช่องทางที่ใช้ในการส่ งข้อมูล ค. ช่องทางอนาล็อกที่ใช้ส่งสัญญาณอนาล็อก ง. ช่องทางอนาล็อกที่ส่งได้หลายๆ สัญญาณ 6. ข้ อใดเป็ นการส่ งข้ อมูลแบบทางเดียว ก. การพูดคุยทางโทรศัพท์ ข. การฟังวิทยุ ค. การ Chat ทางโทรศัพท์มือถือ ง. การใช้วทยุสื่อสาร ิ 7. ข้ อดีข้อการเชื่อมโยงเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด คืออะไร ก. ประหยัดสื่ อสาร ข. ส่ งข้อมูลได้เร็ว ค. ประหยัดค่าใช้จ่าย ง. ใช้ช่องทางการสื่ อสารได้เต็มประสิ ทธิภาพ 8. มาตรฐานทีใช้ ในการสื่อสารข้ อมูลแบ่ งออกเป็ นกีประเภท ่ ่ ก. 2 รู ปแบบ ข. 3 รู ปแบบ ค. 4 รู ปแบบ ง. 5 รู ปแบบ
  • 21. 9. มาตรฐานการส่ งข้ อมูลแบบเดอจูเร หมายถึงมาตรฐานแบบใด ก. ถูกกาหนดขึ้นโดยคณะกรรมการ ข. ไม่มีการกาหนดมาตรฐานล่วงหน้า ค. ใช้ตวนิยมในตัวผลิตภัณฑ์ ั ง. ไม่มีคณะกรรมการผูกาหนดมาตรฐาน ้ 10. ข้ อใดเป็ นหน้ าทีของสถาบันแห่ งชาติของสหรัฐอเมริกา (ANSI) ่ ก. กาหนดประสิ ทธิภาพของผลิตภัณฑ์ ข. กาหนดรู ปแบบของสัญญาณที่ใช้ในการสื่ อสาร ค. กาหนดมาตรฐานการสื่ อสารโทรคมนาคม ง. กาหนดรู ปแบบการเชื่อมต่อของอุปกรณ์
  • 22. เฉลย 1. ข. 2. ง. 3.ข. 4. ค. 5. ก. 6. ข. 7. ง. 8. ก. 9. ค. 10. ค.
  • 24. สาระการเรียนรู้ 2.1 บทนา 2.2 ประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้ อมูล 2.2.1 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางได้ หรือระบบใช้ สาย ่ 1 สายคู่ตีเกลียว 2 สายโคแอกเชียล 3 สายใยแก้วนาทาง 2.2.2 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางไม่ ได้ หรือระบบไร้ สาย ่ 1 คลื่นไมโครเวฟ 2 แสงอินฟราเรด 3 ระบบสื่ อสารวิทยุ 4 ระบบดาวเทียม 5 บลูทูธ 2.3 หลักการพิจารณาเลือกใช้ สื่อกลาง ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ่ี 1. เพื่อให้ทราบถึงประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้อมูล 2. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการใช้งานสื่ อกลางในการส่ งข้อมูลแต่ละชนิด 3. สามารถอธิบายข้อดี/ข้อเสี ยของสื่ อกลางในการส่ งข้อมูลการส่ งข้อมูลแต่ละชนิด 4. สามารถเลือกใช้สื่อกลางในกลางส่ งข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
  • 25. พืนฐานความรู้ ทควรมี ้ ี่ 1. ความรู ้เรื่ องระบบคอมพิวเตอร์ 2. ความรู ้เรื่ องการสื่ อสารข้อมูล 2.1 บทนา ปัจจุบนนี้การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็ นปัจจัยจาเป็ นต่อชีวตประจาวันของมนุษย์เรา แต่การสื่ อสารข้อมูล ั ิ และเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทางานได้เลยถ้าปราศจากสื่ อสารที่ใช้ในการส่ งข้อมูล 2.2 ประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้ อมูล สื่ อกลางได้แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 2.2.1 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางได้ หรือระบบไร้ สาย (Wired System) ่ 1 สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair) 2 สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable) 3 สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable) สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair) ลักษณะของสายตู่ตีเกลียว - สายคู่ตีเกลียวแต่ละคู่ทาด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นมีฉนวนหุม พันกันเป็ นเกลียว ้ - สายคู่ตีเกลียว 1 คู่ ใช้แทน 1 ช่องทางการสื่ อสาร - สามารถใช่ส่งสัญญาณได้ท้ งสัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิตอล ั
  • 26. ประเภทของสายคู่ตีเกลียว สายคู่ตีเกลียวที่นิยมใช้ในปัจจุบน บ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ั - สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนโลหะหุม (UTP) ้ - ในสายเคเบิล 1 เส้น ประกอบด้วยสายคู่ตีเกลียว 4 คู่ (8 เส้น) - เหมาะสาหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่มีระยะห่างไมเกิน 30 เมตร ข้ อดี - ราคาถูก - ง่ายต่อการใช้งาน ข้ อเสี ย - ความเร็วในการส่ งข้อมูลต่า - ระยะทางในการส่ งข้อมูลสั้น - ง่ายต่อการถูกรบกวนจากภายนอก
  • 27. สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable) ลักษณะ ่ มีเส้นลวดทองแดงอยูตรงกลางเพื่อนาสัญญาณ - ชั้นที่ 1 ฉนวนพลาสติก - ชั้นที่ 2 ฉนวนโลหะที่ถกเป็ นตาข่าย ั - ขั้นที่ 3 (ชั้นนอก)ฉนวนพลาสติก - สามารถส่ งสัญญาณอนาล็อกและดิจิตอลได้ ประเภทสายโคแอกเชียล - ประเภท 50 โอห์ม ใช้ส่งข้อมูลดิจิตอล - ประเภท 75 โอห์ม ใช้ส่งข้อมูลอนาล็อก
  • 28. ข้ อดี - สามารถใช้งานได้ในระยะไกล - ป้ องกันสัญญาณรบกวนได้ดี ข้ อเสี ย - ราคาแพง - สายมีขนาดใหญ่ - ติดตั้งยาก สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable) ลักษณะของสายใยแก้วนาแสง - แกนนาแสงซึ่งทาด้วยแก้ว มีขนาดเล็กมาก - วัสดุห่อหุมแกนนาแสง “Reflective Cladding” ้ - วัสดุห่อหุมภายนอก “Protection Buffer” ้ - การส่ งข้อมูล สัญญาณจะมีความเข้มของแสงต่างระดับกัน
  • 29. ประเภทของสายใยแก้วนาแสง 1. Multi Mode Step Index ใช้หลักการให้สะท้อนแสงด้วยมุมต่างๆ 2. Graded Index Multi Mode ใช้หลักการให้เกิดจุดรวมของการสะท้อนแสง 3. Single Mode เป็ นสายใยแก้วนาแสงที่มีความเร็ว
  • 30. ข้ อดี - มีขนาดเล็กและนาหนักเบา - อัตราความเร็วในการส่ งข้อมูลสู ง - มีความทนทานต่อคลื่นรบกวนภายนอก - สามารถใช้งานในที่ที่มีอุณหภูมิสูงหรื อต่าได้ ข้ อเสี ย - ราคาแพง - มีความเปราะบาง แตกหักง่าย - ติดตั้งอยาก 2.2.2 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางไม่ ได้ หรือระบบไร้ สาย (Wireless System) ่ 1. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) 2. แสงอินฟราเรด (Infrared) 3. ระบบสื่ อสารวิทยุ (Radio Link) 4. ระบบดาวเทียม (Satellite Link) 5. บลูทูธ (Bluetooth)
  • 31. คลืนไมโครเวฟ (Microwave) ่ ลักษณะ - การรับ/ส่ งข้อมูล ใช้จานสะท้อนรู ปพาลาโบลา - สถานีหนึ่งๆ ครอบคลุมพื้นที่ในการรับสัญญาณได้ 30-50 กม. - ใช้ความถี่ในการส่ งสัญญาณข้อมูลในช่วง 2 – 4 GHz ข้ อดี - เป็ นระบบไร้สายจึงไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง ้ - ไม่มีปัญหาเรื่ องสายขาด - มีค่าแบนด์วดธ์สูง ซึ่งทาผลให้อตราความเร็วการส่ งข้อมูลสู งด้วย ิ ั ข้ อเสี ย - เป็ นสื่ อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย - ค่าติดตั้งจานและค่าเสาส่ งมีราคาแพง - การใช้งานต้องขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่ อสาร
  • 32. แสงอินฟราเรด (Infrared) ลักษณะ - ใช้ในการส่ งข้อมูลในระยะใกล้ๆ เท่านั้น - นิยมใช้ในการสื่ อสารข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์เท่านั้น - มีอตราความเร็วในการส่ งข้อมูลไม่สูง ประมาณ 4 Mbps ั ข้ อดี - ราคาถูก - สามารถใช้งานได้โดยไม่ตองขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่ อสาร ้ ข้ อเสี ย - ไม่สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้ - ถูกรบกวนจากแสงอาทิตย์ได้ง่าย
  • 33. ระบบสื่ อสารวิทยุ (Radio Link) ลักษณะ ั - ระบบสื่ อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณสามารถใช้ได้กบหลายสถานี - ใช้ความถี่ในการส่ งข้อมูลในช่วง 400 – 900 MHz ข้ อดี - ใช้งานได้โดยไม่ตองขอใช้ความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่ อสาร ้ - สามารถใช้ส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีเคลื่อนที่ได้ - มีค่าแบนด์วดธ์สูง ิ ข้ อเสี ย - เป็ นสื่ อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย - การส่ งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่ กระจาย ความปลอดภัยของข้อมูลจึงต่า
  • 34. ระบบดาวเทียม (Satellite Link) ลักษณะ - ทางานคล้ายกับคลื่นไมโครเวฟ - ข้อมูลจากพื้นดินไปยังดาวเทียม เรี ยกว่า Uplink - ข้อมูลจากจากระบบดาวเทียมมาพื้นดิน เรี ยกว่า Downlink ข้ อดี - ส่ งข้อมูลได้ในระยะไกล - เป็ นระบบไร้สาย จึงไม่มีปัญหาเรื่ องสายขาด - ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งไม่ข้ ึนอยูกบระยะทาง ่ ั ข้ อเสี ย - เกิดความล่าช้าของสัญญาณข้อมูล - ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย - ความปลอดภัยของข้อมูลต่า
  • 35. บลูทูธ (Bluetooth) ลักษณะ -เป็ นเทคโนโลยีสมัยใหม่ - สามารถสื่ อสารได้ในระยะไม่เกิน 10 เมตร - สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้ - สื่ อสารระหว่างหลายๆ อุปกรณ์ได้ - ข้ อดี - เป็ นระบบการสื่ อสารที่มีมาตรฐาน - สามารถใช้งานได้ท้งข้อมูล เสี ยง และมัลติมีเดีย ั ข้ อเสีย - มีปัญหาเรื่ องการชนกันของข้อมูล
  • 36. 2.3 หลักการพิจารณาการเลือกใช้ สื่อกลาง ต้ นทุน (Cost) - ต้นทุนอุปกรณ์ - ต้นทุนการติดตั้ง - เปรี ยบเทียบราคา และประสิ ทธิ ภาพ ความเร็ว (Speed) - การส่ งผ่านสัญญาณข้อมูล - การแพร่ สัญญาณข้อมูล ระยะทาง (Distance) มีความสามารถในการส่ งข้อมูลไปได้ในระยะทางต่างๆ ดังนั้นการเลือกใช้สื่อกลางแต่ละ ชนิด จะต้องทราบข้อจากัดด้านระยะทาง เพื่อที่จะต้องทาการติดตั้งอุปกรณ์ สภาพแวดล้อม (Environmen) การเลือกใช้สื่อกลางควรเลือกสื่ อกลางที่ทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดี ความปลอดภัยของข้ อมูล (Security) ต้องคานึงถึงความปลอดภัยของข้อมูล ดังนั้นต้องมีการเข้ารหัสข้อมูลก่อนที่ จะส่ งไปในสื่ อกลาง และผูรับก็ตองมีการถอดรหัสที่ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน จึงสามารถนาข้อมูลไปใช้งานได้ ้ ้
  • 37. สรุปท้ ายบท 2.2 ประเภทของสื่ อกลางในการส่ งข้ อมูล สื่ อกลางได้แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 2.2.1 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางได้ หรือระบบไร้ สาย (Wired System) ่ 1 สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair) 2 สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable) 3 สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable) 2.2.2 สื่ อกลางทีกาหนดเส้ นทางไม่ ได้ หรือระบบไร้ สาย (Wireless System) ่ 1. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) 2. แสงอินฟราเรด (Infrared) 3. ระบบสื่ อสารวิทยุ (Radio Link) 4. ระบบดาวเทียม (Satellite Link) 5. บลูทูธ (Bluetooth)
  • 38. 2.3 หลักการพิจารณาการเลือกใช้ สื่อกลาง - ต้ นทุน (Cost) - ความเร็ว (Speed) - ระยะทาง (Distance) - สภาพแวดล้อม (Environmen) - ความปลอดภัยของข้ อมูล (Security)
  • 39. ตอนที่2 จงทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้ าข้ อความที่ถูกต้ อง 1. สื่ อกลางชนิดใดมีอตราความเร็วในการส่ งข้ อมูลสู งทีสุด ั ่ ก. สายคู่ตีเกลียวมีฉนวนหุม ้ ข. สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุม ้ ค. สายโคแอกเชียล ง. สายใยนาแก้ว 2. การส่ งสัญญาณข้ อมูลด้ วยความถีสูงเป็ นทอด ๆ จากสถานีหนึ่งไปอีกสถานีหนึ่ง คือระบบใด ่ ก. ระบบไมโครเวฟ ข. แสงอินฟาเรด ค. ระบบสื่ อสารวิทยุ ง. ถูกทุกข้อ 3. สายคู่ตีเกลียวใช้ ส่งสัญญาณข้ อมูลประเภทใด ก. สัญญาณดิจิตอลอย่างเดียว ข. สัญญาณอนาล็อกอย่างเดียว ค. สัญญาณดิจิตอลและสัญญาณอนาล็อก ง. ไม่มีคาตอบที่ถูกต้อง 4. คอนเน็กเตอร์ ทใช้ กบสายโคแอกเชียล คือคอนเน็กเตอร์ ประเภทใด ี่ ั ก. อาร์เจ-45 ข. อาร์เจ-11 ค. บีเอ็นซี ง. ไม่มีคาตอบที่ถกต้อง ู
  • 40. 5. สายใยแก้วนาแสงทีใช้ หลักการให้ แสงสะท้ อน ด้ วยมุมต่ าง ๆ จนถึงปลายทางคือสายใยแก้วนาแสง ประเภทใด ่ ก. Multi Mode Step Index ข. Graded Index Multi Mode ค. Single Mode ง. Reflective Cladding 6. ข้ อใด ไม่ ใช่ ข้ อดีของสายใยแก้วนาแสง ก. มีขนาดเล็กและน้ าหนักเบา ข. ทนทานต่อคลื่นรบกวนภายนอกสู ง ค. ใช้งานในที่ที่มีอุณหภูมิต่าหรื อสู งมากๆ ได้ ง. ติดตั้งง่าย 7. ข้ อใด ไมใช่ สื่ อกลางประเภทกาหนดเส้ นทางได้ ก. สายคู่ตีเกลียว ข. สายโคแอกเชียล ค. คลื่นไมโครเวฟ ง. สายใยแก้วนาแสง 8. ข้ อใด ไม่ ใช่ หลักเกณฑ์ ในการเลือกใช้ สื่อกลาง ก. ต้นทุน ข. ระยะทาง ค. ความเร็ว ง. ความสวยงาม
  • 41. 9. ข้ อใดกล่ าว ไม่ ถูกต้ องเกียวกับบลูทูธ ่ ก. ใช้ระหว่างสองอุปกรณ์เท่านั้น ข. สามารถสื่ อสารผ่านวัตถุทึบแสงได้ ค. ความถี่ในการส่ งสัญญาณข้อมูล 2.5 GHz ง. ใช้ได้ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร 10. อุปกรณ์ ททาหน้ าทีในการ รับ-ส่ ง และขยายสัญญาณในระบบดาวเทียม เรียกว่ าอะไร ี่ ่ ก. Cladding ข. Transponder ค. Uplink ง. Downlink
  • 42. เฉลย 1 ง. 2 ก. 3 ค. 4 ค. 5 ก. 6 ง. 7 ค. 8 ง. 9 ก. 10 ข.
  • 44. 3.1 บททา 3.2 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล 3.2.1การส่ งผ่านข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission) 3.2.2 การส่ งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transmission) 3.2.3 ปั ญหาของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม 3.2.4 การส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโคนัส (Asunchromous Tansmission) 3.2.5 การส่ งข้อมูลแบบซิ งโคนัส (Synchronous Tansmission) - การส่ งข้อมูลแบบคาร์ แรกเตอร์ โอเรี ยนต์ (Character Oriented) - การส่ งข้อมูลแบบบิตโอเรี ยนต์ (Character Oriented) 3.2.6 เปรี ยบเทียบการส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโครนัส และซิ งโครนัส 3.3 ประสิ ทธิ ภาพในการส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโครนัสและซิ งโครนัส 3.4 การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล (Error Detection) 3.5 การแก้ไขความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล (Error Correction)
  • 45. 3.1 บทนา การส่ งข้อมูลดิจิตอล หมายถึง การส่ งข้อมูลในลักษณะของ เลขฐานสอง คือมีค่าเป็ น 0 และ 1 การส่ งข้อมูลของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีท้ งการส่ งข้อมูลภายในเครื่ องคอมพิวเตอร์การส่ งข้อมูล ั ภายนอกเครื่ องคอมพิวเตอร์ การส่ งข้อมูลภายในคอมพิวเตอร์ หมายถึง การส่ งข้อมูลระหว่าง หน่วยงานต่างๆ ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่น การส่ งข้อมูลระหว่างหน่วย ประมวลผลกลางและหน่วยความจา การส่ งข้อมูลภายนอกคอมพิวเตอร์ หมายถึง การส่ งข้อมูลระหว่า ่ เครื่ องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พวงต่าง ๆ
  • 46. 3.2 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล การส่ ง ข้อ มู ล ดิ จิ ต อล หมายถึ ง การน าข้อ มู ล มาท าการเข้า รหั ส (Encoding) ให้เป็ นสัญญาดิจิตอลแล้วส่ งผ่านสัญญานั้นไปในสื่ อสาร กลาง ซึ่งแบบออกเป็ น 2 รู ปแบบ คือ 1. การส่ งผ่านข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission) 2. การส่ งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transmission)
  • 47. 3.2 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล (ต่ อ ) ข้ อดีของการส่ งผ่ านข้ อมูลดิจิตอล ่ 1. มีขอผิดพลาดต่ากว่าการส่ งข้อข้อมูลมูลอนาล็อก เพราะข้อมูลที่อยูใน ้ รู ปแบบของเลขฐานสอง “0” และ “1” ซึ่งเรี ยกว่าบิต สามารถตรวจสอบ ได้ 2. ทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสัญญาณอนาล็อก 3. การเข้ารหัส (Encoding) ข้อมูลสามารถทาได้ง่าย 4. มีอตราความเร็ วในการส่ งข้อมูลสูง ั 5. มีประสิ ทธิภาพในการส่ งข้อมูลสูง 6. มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง
  • 48. 3.2.1 การส่ งข้อมูลแบบขนาน (PARALLEL TRANSMISSION) การส่ งข้อมูล แบบขนาน หมายถึ ง การส่ ง ข้อมู ลที่ มี ก ารเข้า รหัส ข้อมูลโดยการรวมจานวนบิตที่ใช้แทน 1 อักขระ แล้วส่ งไปในสื่ อสาร แบบขนานกัน (ทุกๆ บิตใน 1 อักขระถูกส่ งออกไปพร้อมกัน) ดังนั้น สื่ อกลางในการส่ งข้อมูล จะต้องมีทางการสื่ อสารเท่ากับจานวนบิ ตที่ เข้ารหัสแทน 1 อักขระ
  • 49. 3.2.1 เทคนิคการส่ งข้อมูลดิจิตอล (ต่ อ ) ข้ อดีของการส่ งข้ อมูลแบบขนาน - สามารถส่ งข้อมูลได้ดวยความเร็ วสูง ้ ข้อเสียของการส่งข้อมูลแบบขนาน - ใช้ในการส่งข้อมูลในระยะใกล้ ๆ กัน - สื่ อกลางที่ใช้มีราคาสูง
  • 50.
  • 51. 3.2.2 การส่ งข้อมูลแบบอนุกรม (SERIAL TRANSMISSION) การส่ งข้อมูลแบบอนุกรม หมายถึง การส่ งข้อมูลที่ทุกบิตที่เข้ารหัส แทน 1 อักขระ จะถูกส่ งเรี ยงลาดับกันไปทีละบิตติดต่อกันในสื่ อสาร ดัง นั้น สื่ อ กลางจึ ง มี เพี ย ง 1 ช่ อ งทางการสื่ อ สาร การเชื่ อ มต่ อ ระบบ ไมโครคอมพิวเตอร์ กับอุปกรณ์ ภ ายนอกส่ วนใหญ่ จะใช้การเชื่ อมต่ อ แบบ ขนาน (parallel tranmisson) กับแบบอนุกรม (serial transmission) ั สาหรับการเชื่อมต่อแบบอนุ กรมนิ ยมใช้กนมาก เช่น การเคลื่อนย้ายกัน ระหว่างไมโครคอมพิวเตอร์ หรื อ อุปกรณ์เสริ มต่างๆ เช่น mouse เป็ น ต้น 
  • 52. 3.2.2 การส่ งข้อมูลแบบอนุกรม (SERIAL TRANSMISSION) (ต่อ) ข้ อดีของการส่ งข้ อมูลแบบอนุกรม - ใช้ในการส่ งข้อมูลระยะทางไกล - สื่ อสารที่ใช้ราคาไม่สูง ข้อเสียของการส่งข้อมูลแบบอนุกรม - ความเร็วในการส่งข้อมูลตา่
  • 53.
  • 54. 3.2.3 ปัญหาของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม ปัญหาของส่ งข้อมูลอนุกรมมี 2 ประการ คือ ประการที่ 1 Bit Synchronization หมายถึง การทาให้บิตของข้อมูลที่ส่งถูกต้อง ลาดับของการ รั บและส่ งข้อมูลตรงกัน นั่นคือผูส่งและผูรับ จะต้องทาการส่ ง ้ ้ และรับข้อมูลด้วยอัตราความเร็ วเท่ากัน เรี ยกวิธีการนี้ ว่า การเข้า จังหวะบิต (Clock)
  • 55. 3.2.3 ปัญหาของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม (ต่อ) ประการที่ 2 Character Synchronization หมายถึง การที่ผูรับทาการจัดลาดับบิตของข้อมูลแล้วรวมกันเป็ น ้ ตัวอักขระซึ่ งตาแหน่งของแต่ละบิตในตัวอักขระจะต้องถูกต้องปั ญหานี้ แก้ไ ขได้โ ดยการส่ ง ข้อ มู ล แบบซิ ง โครนัส และการส่ ง ข้อ มู ล แบบอะ ซิงโครนัส
  • 56. 3.2.4 การส่ งข้อมูลแบบอะซิงโคนัส (ASUNCHROMOUS TANSMISSION) ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบอะซิงโครนัส คือ 1. การส่ งข้อมูลแบบอะซิงโคนัส เป็ นการส่ งข้อมูลแบบอนุกรมวิธีหนึ่ง 2. การส่ งข้อมูลแบบแบบอะซิงโคนัส เรี ยกอีกอย่างว่า “การส่ งผ่านข้อมูล แบบ Start-stop” 3. การส่ งข้อมูล จะนาจานวนบิตของแต่ละอักขระที่ตองส่ งมาจัดทาเป็ น ้ เฟรม
  • 57. 3.2.4 การส่ งข้อมูลแบบอะซิ งโคนัส (ASUNCHROMOUS TANSMISSION) (ต่อ) ข้ อดีของการส่ งข้ อมูลแบบอะซิงโคนัส ั 1. การส่ งข้อมูลแบบนี้นิยมใช้กนอย่างแพร่ หลายเพราะเป็ นเทคนิคที่ไม่ใช่ ซับซ้อนและซับซ้อนไม่ยงยาก ุ่ 2. อุปกรณ์และสื่ อกลางในการส่ งข้อมูล มีราคาถูก 3. นิ ยมใช้ในการส่ งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ กบอุปกรณ์ที่อยู่ ั ห่างไกล ข้อเสียของการส่งข้อมูลแบบอะซิงโคนัส 1. มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลตา ่ 2.ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูล ต่อสูญเสียไปกับบิตเริมต้นและบิตจบ ่
  • 58. 3.2.5 การส่ งข้อมูลแบบซิ งโคนัส (SYNCHRONOUS TANSMISSION) ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบซิงโครนัส คือ 1. การส่ งข้อมูลแบบซิงโคนัส เป็ นการส่ งข้อมูลแบบอนุกรมวิธีหนึ่ง 2. การส่ งข้อมูล จานวนบิตของข้อมูลมารวบกันเป็ นกลุ่มเรี ยกว่าบล็อกข้อมูล (Block) ซึ่ งข้อมูลแต่ละบล็อกประกอบด้วยหลายอักขระโดยไม่จาเป็ นต้อง มีบิตเริ่ มต้นและบิตจบระหว่างอักขระ 3. แต่ละเฟรมของข้อมูลประกอบด้วย - กลุ่มบิตส่ วนตัว (Header) - บล็อกข้อมูล (Data) - กลุ่มบิตส่ วนท้าย (Trailer) 4. การส่ งแบบซิงโครนัส แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท - คาแรกเตอร์โอเรี ยนต์ - บิตโอเรี ยนต์
  • 59. การส่ งข้อมูลแบบคาร์เตอร์โอเรี ยนต์ (CHARACTER ORIENTED) การส่ งข้ อมูลแบบคาร์ แรกเตอร์ โอเรียนต์ (Character Oriented) ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบคาแรกเตอร์ โอเรียนต์ คือ 1. เป็ นการส่ งข้อมูลแบบซิงโคนัสวิธีหนึ่ง 2. การส่ งข้อมูลแบบนี้เหมาะสมสาหรับการส่ งข้อมูลที่เป็ นข้อความ (อักขระ) 3. แต่ละเฟรมของข้อมูล ประกอบด้วย คือ
  • 60. การส่ งข้อมูลแบบคาร์เตอร์โอเรี ยนต์ (CHARACTER ORIENTED) (ต่อ)  กลุ่มบิตส่ วนหัว (Header) - อักขระซิ งโคนัส (Synchronization Character) เรี ยกย่อ ๆ ว่าอักขระ ซิ งก์ (SYN) ซึ่ งอาจมีมากกว่า 1 อักขระ เพื่อเป็ นสัญญาลักษณ์ให้ผรับ ู้ ่ สามารถรู ้ได้วาเมื่อมีอกขระเข้ามา หมายถึง เป็ นการเริ่ มต้นบล็อกข้อมูล ั - อักขระควบคุม (STX) ทาหน้าที่บอกจานวนอักขระในบล็อกข้อมูล บอกตาแหน่งปลายทางข้อมูล (ผูรับ) และข่าวสารอื่น ๆ ้
  • 61. การส่ งข้อมูลแบบคาร์แรกเตอร์โอเรี ยนต์ (CHARACTER ORIENTED) (ต่อ) o บล็อกข้ อมูล (Data) เป็ นกลุ่มบิตของข้อมูล โดยที่จานวนบิตของข้อมูล จะต้องเป็ นจานวนทวีคูณของจานวนบิตข้อมูลใน 1 อักขระ o กลุ่มบิตส่ วยท้ าย (Trailer) ประกอบด้วย - อักขระควบคุม (ETX) เพื่อบอกว่าเป็ นการสิ้ นสุ ดของบล็อกข้อมูล - อักขระควบคุม (BCC) เพื่อตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลใน บล็อก
  • 62. การส่ งข้อมูลแบบบิตโอเรี ยนต์ (BIT ORIENTED) ลักษณะของการส่ งข้ อมูลแบบบิตโอเรียนต์ คือ 1. เป็ นการส่ งข้อมูลซิงโครนัสวิธีหนึ่ง 2. การส่ งข้อมูลแบบนี้ไม่เหมาะสมสาหรับการส่ งข้อมูลที่เป็ น ข้อความ (อักขระ) แต่เหมาะสมในการส่ งผ่านข้อมูลประเภทเสี ยงและ รู ปภาพ 3. แต่ละเฟรมของข้อมูล ประกอบด้วย
  • 63. การส่ งข้อมูลแบบบิตโอเรี ยนต์ (BIT ORIENTED) (ต่อ) - กลุ่มบิตเริ่ มต้ น (Flag) เพื่อให้ได้รับทราบเป็ นการเริ่ มต้นของบล็อก ข้อมูล - กลุ่มบิตควบคุม ทาหน้าที่บอกความยาวของบล็อกข้อมูล (จานวนบิตใน บล็อกข้อมูล) ตาแหน่งปลายทางของข้อมูล (ผูรับ) และข่าวสารอื่น ๆ ้ • บล็อกข้ อมูล (Data) กลุ่มบิตของข้อมูล โดยที่จานวนบิตของข้อมูล ไม่ จาเป็ นต้องเป็ นจานวนทวีคูนของจานวนบิตข้อมูลใน 1 อักขระ • กลุ่มบิตส่ วนท้ าย (Trailer) ประกอบด้วย - กลุ่มของบิตที่ควบคุมความผิดพลาดในการส่ งข้อมูล (Frame Check Sequence - FCS) - กลุ่มของบิตจบ (Flag) ซึ่งมีรูปแบบเหมือนกันกลุ่มของบิตเริ่ มต้น
  • 64. 3.2.6 เปรี ยบเทียบการส่ งข้อมูลแบบอะซิงโครนัส และซิงโครนัส 1. การส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัสมีข้นตอนที่ซบซ้อนว่าการส่ งข้อมูลแบบ ั ั ซิงโครนัส เพราะต้องการสร้างและถอดเฟรมข้อมูล 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัส ต้องมีบฟเฟอร์เพื่อเก็บข้อมูล ั ไว้ แล้วทาการส่ งพร้อมกันทีเดียว 3. การส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัส ข้อมูลในบล็อกจะต่อเนื่องกัน ดังนั้นถ้าผูรับ ้ ตรวจพบว่ามีการขาดสัญญาข้อมูลในบล็อกแสดงว่าเกอดปัญหาการส่ งข้อมูล 4. การส่ งข้อมูลแบบซิงโครนัสมีประสิ ทธิภาพในการส่ งผ่ายข้อมูลมากกว่า