SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 59
Descargar para leer sin conexión
ร้อยกรอง

กลอนสุภาพ               กาพย์ฉบัง

กลอนสักวา           กาพย์สุรางคนางค์

 กาพย์ยานี              โคลงสี่สุภาพ
• บทร้อยกรองเหมือนมาลัยดอกไม้ เป็นมาลัยคาที่นาคา
  ภาษาไทยซึ่งได้เลือกสรรแล้วมาเรียบเรียงให้เป็นประโยคคล้อง
  จอง มีความไพเราะ
           งดงามด้วยศิลปะของภาษาที่เรียกว่า
                         ความสุนทรีย์
        และเป็นที่ชื่นชอบประทับใจของผู้อ่าน ที่เรียกว่า
                         เข้าถึงอารมณ์
การนาคาภาษาไทยมาเรียงร้อยให้เป็นระเบียบ มีศิลปะ

        และมีความงดงามของภาษา เรียกว่า
                   “ ร้อย ”
ส่วนการกลั่นกรองเลือกสรรคาที่มีความไพเราะเหมาะสม
        นามาผูกร้อยเป็นประโยคคา เรียกว่า
                   “ กรอง”
ความหมายตามพจนานุกรม

“ ถ้อยคาที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบ
  ตามบทบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ ”
               กลับหน้าหลัก
กลอน
        พจนานุกรมให้ความหมายไว้ว่า

   “ เป็นคานาม แปลว่า ไม้ หรือเหล็กขัดประตู
หน้าต่าง, ดาน , ไม้แปสาหรับมุงหลังคา และ
ลักษณะคาประพันธ์ที่นิยมสัมผัส ”

                                         ต่อไป
กลอน
• เป็นคาประพันธ์ที่นิยมสัมผัส หมายถึง การเรียงร้อยคา
  ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ฉันทลักษณ์และลักษณะบท
  กลอนประเภทนั้น ๆ คาแปลกปลอมที่ไม่ถูกต้องตาม
  กฎเกณฑ์ฉันทลักษณ์ หรือคาเกินจานวนจะนาเข้ามา
  เรียงร้อยรวมอยู่ในวรรคกลอนไม่ได้



                                                 ต่อไป
กลอนแปด
• ได้ชื่อว่าเป็นกลอนแม่แบบ และเป็นพื้นฐานของการเขียน
  บทร้อยกรอง
• เป็นกลอนที่ไพเราะ อ่านเข้าใจง่าย ไม่สลับซับซ้อน
  สมบูรณ์ด้วยรูปแบบฉันทลักษณ์ ทั้งเสียง สัมผัส และ
  จานวนคา
• เป็นคาประพันธ์ที่มีผู้นิยมเขียนและนิยมอ่านกันมากที่สุด

                                                   ต่อไป
โครงสร้างกลอนแปด
• กลอนแปดคือ กระบวนคาหรือประโยคคาที่เกิดจากการนาคา
  ภาษาไทยที่ได้เลือกสรรแล้ว จานวนแปดคา หรือแปดพยางค์ นามาร้อย
  รวมเข้าด้วยกัน คาทั้งแปดคา หรือแปดพยางค์ ที่นามาร้อยรวมกัน
  เรียกว่า ๑ วรรคกลอน ดังตัวอย่าง

         กลอน แปด มี แปด คา ตาม กา หนด

           ไม่ ล่วง กฎ เขียน กลอน อัก ษร ศรี

                                                       ต่อไป
กฎเกณฑ์นี้ไม่ตายตัวเสมอไป
• ถ้าจาเป็นจริง ๆ ก็อนุโลมให้ใช้วรรคละ ๙ คา หรือ ๙ พยางค์ได้ ดัง
  ตัวอย่าง

       กลอน แปด ดี มี แปด คา ตาม กา หนด

       ไม่ ล่วง กฎ การ เขียน กลอน อัก ษร ศรี



                                                                   ต่อไป
ดังนันจึงต้องจาให้ดีวา
            ้               ่

      หนึ่งวรรคมีแปดคาตามกาหนด
ไม่ล่วงกฎนักกลอนอักษรศรี
หากขัดสนจนถ้อยร้อยวจี
ไม่พึงมีเกินเก้าเข้าตารา
                                ต่อไป
๑ คำกลอน หรือ ๑ บำทกลอน
• หมายถึง กลอน ๒ วรรครวมกัน ดังตัวอย่าง



     ใครก็เขียน กลอนได้ ถ้าใจรัก ( วรรคที่ ๑ )
      และรู้จัก คุณค่า ภาษาศิลป์ ( วรรคที่ ๒ )


                                           ต่อไป
๑ บทกลอน
           ( กลอน ๔ วรรค หรือ ๒ คากลอน )

ใครก็เขียน      กลอนได้    ถ้าใจรัก    ( วรรคที่ ๑ )
และรู้จัก       คุณค่า     ภาษาศิลป์   ( วรรคที่ ๒ )
หมั่นฝึกเขียน   ค้นคว้า    อยู่อาจิณ   ( วรรคที่ ๓ )
จะไม่สิ้น       ความหวัง   ที่ตั้งใจ   ( วรรคที่ ๔ )


                                               ต่อไป
ชื่อวรรคใน ๑ บทกลอน

วรรคที่ ๑     เรียกว่า   วรรคสดับ
วรรคที่ ๒     เรียกว่า   วรรครับ
วรรคที่ ๓     เรียกว่า   วรรครอง
วรรคที่ ๔     เรียกว่า   วรรคส่ง

                                    ต่อไป
กลอนวรรคที่ ๑ ( วรรคสดับ )
• เป็นวรรคที่ต้องเริ่มเปิดเรื่องหรือเปิดความ
  ตามที่ได้สดับรับเรื่องราวมาจากบทต้น ๆ
  เพื่อดาเนินเรื่องให้ต่อเนืองเป็นกระบวน
                            ่
  ความเดียวกัน

                                       ต่อไป
กลอนวรรคที่ ๒ ( วรรครับ )
• เป็นวรรคที่ต้องรับสัมผัสนอกต่อจากวรรค
  ที่ ๑ และรับสัมผัสบทเชื่อมโยงมาจากท้าย
  วรรคที่ ๔ ของบทต้น


                                   ต่อไป
กลอนวรรคที่ ๓ ( วรรครอง )
• เป็นวรรคที่รองรับสัมผัสนอกต่อ
  เนื่องมาจากวรรคที่ ๒ แล้วส่งสัมผัสไปหา
  วรรคที่ ๔


                                    ต่อไป
กลอนวรรคที่ ๔ ( วรรคส่ง )
• เป็นวรรคที่รับสัมผัสจากวรรคที่ ๓ แล้วยัง
  เป็นวรรคที่จะต้องส่งสัมผัสบทโยงไปหาคา
  สุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบทถัดไปด้วย


                                      ต่อไป
จังหวะการอ่านกลอน
• จังหวะของการอ่านกลอนแปดแต่ละวรรคได้กาหนดไว้ดังนี้ คือ
  ถ้ากลอนวรรคใดมี ๘ คา หรือ ๘ พยางค์ ให้ทอดจังหวะการอ่าน
  เป็น ๓-๒-๓ดังนี้


   นั่งพากเพียร เขียนกลอน ในตอนดึก

                                                   ต่อไป
ถ้ากลอนวรรคใดมี ๙ คา หรือ ๙ พยางค์ให้ทอดจังหวะการ
              อ่านเป็น ๓-๓-๓ ดังนี้



 นั่งพากเพียร หัดเขียนกลอน ในตอนดึก


                                           ต่อไป
คาสัมผัสหรือคาคล้องจองของกลอน
• สัมผัส หมายถึง คาที่ออกเสียงคล้องจองกัน ซึ่ง
  แบ่งลักษณะคาคล้องจองออกเป็น ๒ ประเภท คือ
      สัมผัสสระ
     สัมผัสพยัญชนะ


                                             ต่อไป
สัมผัสสระ
• คือ คาคล้องจองที่อาศัยรูปสระบังคับเสียงตัวเดียวกันหรืออ่านออก
  เสียงตรงกัน ต้องเป็นคาประสมสระเสียงสั้น -สั้น ประสมสระเสียง
  ยาว-ยาวเท่านั้น ถ้าเป็นคาที่มีตัวสะกดต้องรับกับคาที่มีตัวสะกดอยู่ใน
  แม่เดียวกัน เช่น
                   ใกล้ – ใน – สัย - ไฟ - ไกล - ใจ
                        รัก - หัก - พรรค - ศักดิ์
                      นาน - หวาน - กาล - บ้าน


                                                               ต่อไป
สัมผัสพยัญชนะ
• หรือเรียก สัมผัสอักษร หมายถึง คาคล้องจองที่มี
  ตัวอักษรตัวหลักหรือตัวประธานเสียงเป็นตัวเดียวกันแต่
  ประสมสระคนละตัว เช่น

                       ตรม-ตรอม
                        เรียน- รัก
               โศกเศร้า –สุขสันต์-สองสาม
                                                   ต่อไป
กฎเกณฑ์การใช้สัมผัส
• กฎเกณฑ์การใช้สัมผัสหรือคาคล้องจองอยู่ ๓ อย่าง
  คือ
                    สัมผัสใน
                   สัมผัสนอก
                    สัมผัสบท
                                           ต่อไป
สัมผัสใน
• คาสัมผัสหรือคาคล้องจองที่อยู่ในวรรคเดียวกัน ซึ่งเป็นคาคล้อง
  จองเชื่อมระหว่างกลุ่มคาแรกกับกลุ่มคากลางและกลุ่มคากลาง
  กับกลุ่มคาท้าย ของกลอนแต่ละวรรค ดังตัวอย่าง
               ถึงเมาเหล้า เช้าสาย ก็หายไป

               แต่เมาใจ นี้ประจา ทุกค่าคืน

                                                       ต่อไป
สัมผัสนอก
• คาสัมผัสหรือคาคล้องจองที่เชื่อมระหว่างวรรคหนึ่งกับอีกวรรคหนึ่ง
( นอกออกไปจากวรรคของมันเอง ) ซึ่งมีกฎเกณฑ์การสัมผัสตามตาแหน่ง
   คาดังนี้
วรรคที่ ๑ คาสุดท้าย ของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒
        คาใดคาหนึ่ง ( กรณีกลอนวรรคที่ ๒ มี ๙ คา ให้สัมผัสกับคาที่ ๓
        หรือคาที่ ๖ คาใดคาหนึ่ง )



                                                               ต่อไป
วรรคที่ ๒ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๓
วรรคที่ ๓ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือคาที่ ๕ ของวรรค
        ที่ ๔ คาใดคาหนึ่ง ( กรณีกลอนวรรคที่ ๔ มี ๙ คา ให้สัมผัสกับคาที่
        ๓ หรือคาที่ ๖ คาใดคาหนึ่ง )

                     ผังสัมผัสนอกของกลอนแปด




                                                                   ต่อไป
หมายเหตุ
• สัมผัสนอกทุกตาแหน่งและทุกคา ใช้ได้เฉพาะ
  สัมผัสสระเท่านั้น ( ถือเป็นกฎข้อบังคับสาคัญ )
  ทุกวรรคจะต้องมีสัมผัสนอกเชื่อมโยงถึงกันและ
  ตรงตามตาแหน่งคาที่กาหนด ถ้า ไม่มีถือว่า
  ผิดฉันทลักษณ์

                                            ต่อไป
ข้อควรระวังในการใช้สัมผัสนอก
• อย่าใช้สัมผัสซ้า คาที่อยู่ในตาแหน่งรับสัมผัสนอกที่เชื่อมโยงถึงกันทุก
  ตาแหน่ง อย่าใช้คาซ้ากันเป็นอันขาดไม่ว่าคานั้นจะมีรูปแบบการเขียน
  หรือมีความหมายเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรก็ตาม ถ้าอ่านออกเสียง
  ตรงกันจะใช้รับสัมผัสนอกซ้ากันไม่ได้เช่น คาว่า
       พิษ กับ พิศ                      ฆ่า กับ ค่า
       ธรรม กับ         ทา              รักษ์ กับ รัก



                                                                  ต่อไป
อย่าใช้คาเสียงสั้น - ยาวรับสัมผัสกัน
• คาที่ประสมสระคนละตัวและคาที่ออกเสียงสั้น – ยาวแตกต่างกัน อย่า
  นามารับสัมผัสนอกเชื่อมโยงถึงกันเป็นอันขาด ถือว่าผิดฉันทลักษณ์
  เช่น
                      ไอ      กับ อาย
                      คิด กับ ขีด
                      วัน กับ วาน
                      กิน กับ ศีล

                                                           ต่อไป
อย่าแย่งสัมผัส         หรือ   อย่าชิงสัมผัส
• กลอนแต่ละวรรคอย่าใช้คาที่เป็นสัมผัสนอกกับสัมผัสในปะปน
  กันโดยเฉพาะอย่างยิ่งวรรคที่ ๒ และวรรคที่ ๔ วิธีป้องกันและ
  หลีกเลี่ยงกรณีการแย่งสัมผัสหรือชิงสัมผัสก็คือ อย่านาคา
  ที่อ่านออกเสียงตรงกันมาใช้ซ้ากันในตาแหน่งคาที่ ๓ ๕
  ๘ ( กรณีกลอนวรรคนั้นมี ๘ คา ) หรือคาที่ ๓ ๖ ๙
  ( กรณีกลอนวรรคนั้นมี ๙ คา)


                                                       ต่อไป
สัมผัสบท
• คาสัมผัสหรือคาคล้องจองที่เชื่อมโยงถึงกันระหว่างบทหนึ่งไปสู่อีกบท
  หนึ่งซึ่งมีเพียงตาแหน่งเดียวกันเท่านั้น คือ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๔
  บทต้น ต้องสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบทถัดไป และ
  ใช้ได้เฉพาะสัมผัสสระเท่านั้น ต้องคานึงอยู่เสมอว่า การเขียนกลอนแปด
  หรือบทร้อยกรองทุกประเภท ถ้ามีความยาวมากว่า ๑ บทขึ้นไป ต้องมี
  สัมผัสเชื่อมต่อกันทุกบทไปจนจบ




                                                              ต่อไป
สัมผัสบทของกลอนแปด




                     ต่อไป
การใช้เสียงท้ายวรรคของกลอนแปด
ถือเป็นฉันทลักษณ์บังคับที่สาคัญและเป็นทั้งข้อห้ามและข้ออนุญาตดังต่อไปนี้
• คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ใช้ได้ทุกเสียง ( แต่ไม่นิยมใช้เสียงสามัญเนื่องจากเสียง
    สามัญเป็นคาที่ออกเสียงเบาเรียบและไม่หนักแน่น )
• คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ใช้ได้เฉพาะเสียง เอก โท จัตวา ห้ามใช้เสียงสามัญ
    และเสียงตรี ( ใช้ ๓ ห้าม ๒ )
• คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ใช้ได้เฉพาะเสียงสามัญและเสียงตรี ห้ามใช้เสียง เอก โท
    จัตวา ( ใช้ ๒ ห้าม ๓ )
• คาสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ใช้ได้เฉาะเสียงสามัญและเสียงตรี ห้ามใช้เสียงเอก โท
    จัตวา ( เช่นเดียวกับวรรคที่ ๓ )

                                                                          ต่อไป
บทท่องจาการใช้เสียงท้ายวรรคของกลอนแปด
      วรรคแรกใช้ทุกเสียง   แต่ควรเลี่ยงเสียงสามัญ
วรรคสองนั้นสาคัญ           ห้ามสามัญกับเสียงตรี
เอก โท จัตวา               อย่าลงวรรคสามและสี่
จดจาไว้ให้ดี               กลอนแปดมีกฎเกณฑ์เอย




                                          กลับหน้าหลัก
กลอนสักวา
สักวา มีลักษณะการเขียน กฎเกณฑ์กติกา และฉันทลักษณ์บังคับ เหมือนกลอน
   แปดทุกประการ จะต่างเพียงรูปแบบเฉพาะ ๓ ประการ
• ความยาว ๑ บทสักวา มีความยามเท่ากับกลอนแปด ๒ บท หรือ ๘ วรรค จะเขียน
   ยาวกว่านี้ หรือสั้นกว่านี้ไม่ได้เป็นอันขาด ตัวอย่าง
                   สักวาความดีที่ตนสร้าง          เป็นหนทางนาสุขสิ้นทุกหมอง
        คนทาดีดีพาสุขมาครอง                       ทาชั่วต้องสนองกรรมตามเวลา
        เหมือนหว่านพืชชนิดใดไว้เบื้องต้น ย่อมได้ผลชนิดนั้นในวันหน้า
        ก่อกรรมหนักสักวันผลทันตา                  ทาชั่วดีมีผลมาหาตนเอย


                                                                      ต่อไป
การขึ้นต้นกลอนสักวา
• วรรคที่ ๑ หรือวรรคแรกของสักวา ต้องเขียนให้ครบ ๘ หรือ ๙
  เช่นเดียวกับกลอนแปด และต้องขึ้นต้นวรรคแรกด้วยคาว่า “ สักวา “
  เสมอ เช่น สักวาภาษาไทยใกล้วิบัติ, สักวาป่าไม้ใกล้หมดสิ้น เป็นต้น
  แล้วโยงสัมผัสจากคาสุดท้ายไปเชื่อมสัมผัสนอกกับวรรคที่ ๒ เหมือน
  กลอนแปด




                                                               ต่อไป
การจบ... กลอนสักวา
• วรรคที่ ๘ ซึ่งเป็นวรรคสุดท้ายของสักวา ต้องจบคาสุดท้ายของวรรค
( คาที่ ๘ หรือ ๙ ) ด้วยคาว่า “ เอย” เท่านั้น ถ้าไม่จบด้วยคาว่าเอย ถือว่า
   เขียนสักวาไม่เป็น กรณีประกวดหรือแข่งขัน จะถูกคัดออก หรือถูกตัด
   คะแนนจนไม่มีสิทธิ์ที่จะได้รับรางวัล




                                                                     ต่อไป
แผนผังสักวาเอย
• สักวา




                           เอย



                                 กลับหน้าหลัก
กาพย์ยานี ๑๑
• เป็นคาประพันธ์ที่นิยมอ่านและนิยมเขียนกันทั่วไป
  เพราะเป็นคาประพันธ์ที่แต่งง่าย ไม่มีกฎเกณฑ์
  ข้อบังคับมากมายนัก ผู้ที่เริ่มฝึกเขียนกลอน
  สามารถเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจง่าย



                                           ต่อไป
ลักษณะบังคับ
• กาพย์ยานี ๑ บท มี ๒ บาท หรือ ๒ คากลอน บาทแรกเรียกบาทเอก
  บาทที่ ๒ เรียกบาทโท
• ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังมี ๖ คา รวมเป็น ๑๑ คา
  จึงเรียกว่ากาพย์ยานี ๑๑




                                                         ต่อไป
การแต่งกาพย์ยานี ๑๑
• ต้องแต่งอย่างน้อย ๑ บท หรือ ๒ บาท ( ๔ วรรค ) และต้องมีสัมผัสนอก
  เชื่อมโยงระหว่างวรรค เช่นเดียวกับกลอนแปด ยกเว้นวรรคที่ ๓ กับวรรค
  ที่ ๕ อนุโลมให้ไม่มีสัมผัสนอกได้ สาหรับสัมผัสใน นิยมให้มีคาคล้อง
  จองในวรรคเหมือนกลอนแปด เพื่อความไพเราะ ส่วนเสียงท้ายวรรค
  และกฎเกณฑ์อื่น ๆ แม้จะไม่บังคับไว้ แต่ถ้าใช้โดยอนุโลมเหมือนกลอน
  แปด ก็จะทาให้กาพย์ยานีมีความไพเราะและน่าอ่านมากขึ้น




                                                             ต่อไป
การเขียนกาพย์ยานี ๑๑ มีความยาวมากกว่า ๑ บทขึ้นไป
ต้องมีสัมผัสระหว่างบทเช่นเดียวกับกลอนแปด ( คาสุดท้าย
   ของวรรคที่ ๕ บทต้น สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒
  ในบทถัดไป )ถ้าไม่มีสัมผัสบทถือว่าเขียนผิดฉันทลักษณ์




                                                ต่อไป
แผนผังกาพย์ยานี ๑๑




                     ต่อไป
ฝึกเขียนกาพย์
      ฝึกเขียนกาพย์ยานี        กฎเกณฑ์มีพึงจดจา
หนึ่งบาทสิบเอ็ดคา              วรรคหน้านาห้าคาเรียง
      วรรคหลังมีหกคา           ท้ายลานาไม่ถือเสียง
สัมผัสไม่หลีกเลี่ยง            สาเนียงเพราะเสนาะเอย




                                                กลับหน้าหลัก
กาพย์ฉบัง ๑๖
• กาพย์ฉบังบทหนึ่งมี ๓ วรรค วรรคที่ ๑ กับวรรคที่ ๓ มีวรรค
ละ ๖ คา วรรคที่ ๒ มี ๔ คา
              ฉบังสิบหกคาควร             ถ้อยคาสานวน
      พึงเลือกให้เพราะเหมาะกัน
               วรรคหน้าวรรคหลังราพัน     วรรคหนึ่งพึงสรร
      ใส่วรรคละหกคาเทอญ
               วรรคสองต้องสี่คาเชิญ      แต่งเสนาะเพราะเพลิน
      ใครได้สดับจับใจ
                                                           ต่อไป
กฎ...การแต่งกาพย์ฉบัง
• คาสุดท้ายของวรรคแรกสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ถ้าจะแต่งบท
  ต่อ ๆ ไปอีก ต้องให้คาสุดท้ายของบทต้นสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่
  ๑ ของบทต่อไป
• ความไพเราะชองกาพย์ฉบังอยู่ที่การใช้คา และเสียงของคาให้มีสัมผัส
  สระและอักษร คาทุกคาควรเลือกให้ได้ลักษณะ “ เสียงดี ความเด่น ”




                                                           ต่อไป
ลักษณะดีพิเศษของกาพย์ฉบัง
• ให้คาที่ ๑ และคาที่ ๒ ของวรรคที่ ๓ เป็นคาตาย
• ให้ ๒ คาหลังของวรรคต้น กับ ๒ คาต้นของวรรคที่ ๒ เล่นอักษรกัน
• ให้คาที่ ๒ ของวรรคที่ ๓ เล่นอักษรหรือสัมผัสอักษรกับคาสุดท้ายของ
  วรรคที่ ๒
               ลมโชยชวนชื่นรื่นรมย์           รื่นรสคาคม
  ขอดแคะเขี่ยกรรณหรรษา
               ห่มสุขทุกข์โศกสร่างซา          สร่างสิ้นวิญญาณ์
  เพราะยอดเยาวลักษณ์ร่วมสม

                                                                 ต่อไป
ต่อ...กฎการแต่งกาพย์ฉบัง
• จะใช้คายัติภังค์ในระหว่างวรรคก็ได้ แต่ห้ามใช้ยัติภังค์ระหว่างบท
• จะใช้คาในวรรคหนึ่ง ๆ เกินกว่าที่กาหนดไว้บ้างก็ได้ แต่ต้องเป็นคาลหุ
  และต้องไม่ยาวเยิ่นเกินไปจนขัดกับจังหวะและทานองการอ่าน
• กาพย์ฉบังนิยมแต่งเกี่ยวกับตอนที่เป็นพรรณนาโวหารและนิยม
  แต่งเป็นบทสวดและบทพากย์โขน




                                                                 ต่อไป
แผนผังกาพย์ฉบัง ๑๖




                     กลับหน้าหลัก
กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
• บทหนึ่งมี ๗ กลอนหรือ ๗ วรรค วรรคหนึ่งมี ๔ คา รวมเป็น ๒๘ คา
• สัมผัสให้ดูตามแผน ถ้าจะแต่งบทต่อไปอีก ต้องให้คาสุดท้ายของบทต้น
  สัมผัสกับคาสุดท้ายวรรคที่ ๓ ของบทต่อไป
• จะเพิ่มสัมผัสให้คาที่ ๔ วรรคที่ ๔ สัมผัสกับคาที่ ๒ วรรคที่ ๕ ก็ได้ จะทา
  ให้ไพเราะขึ้นอีกด้วย
• บางกรณีอาจเพิ่มสัมผัสนอกขึ้นอีก ๓ แห่ง คือให้คาที่ ๔ ของวรรคหน้า
  สัมผัสกับคาที่ ๑ หรือคาที่ ๒ ของวรรคหลัง และเพิ่มสัมผัสใน ระหว่าง
  คาที่ ๒ กับคาที่ ๓ ไว้ทุกวรรคตามแต่ละเหมาะด้วย
                                                                   ต่อไป
แผนผัง..กาพย์สุรางคนางค์




                           ต่อไป
ตัวอย่าง...กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
                    สุรางคนางค์
กาหนดบทวาง          ยี่สิบแปดคา
บทหนึ่งเจ็ดวรรค     เป็นหลักพึงจา
วรรคหนึ่งสี่คา      แนะนาวิธี
                    หากแต่งหลายบท
จาต้องกาหนด         บัญญัติจัดมี
คาท้ายวรรคสาม       ต้องตามวิถี
สัมผัสกันดี         ท้ายบทต้นแล

                                    กลับหน้าหลัก
โคลง ๔ สุภาพ

        อ ท            (   )
อ                 อ ท
    อ               อ (    )
อ       ท         อ ท      (           )




                               ต่อไป
บทควรจา

         เสียงลือเสียงเล่าอ้าง   อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร                 ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับไหล                ลืมตื่น ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า                  อย่าได้ถามเผือ




                                                  ต่อไป
หลักการแต่งโคลงสี่สภาพ
                                  ุ
• โคลงหนึ่งบทมี ๔ บรรทัด บรรทัดหนึ่งเรียกว่า บาทหนึ่ง รวม ๔ บาท
  นับเป็นหนึ่งบทหรือหนึ่งโคลง
• บาทหนึ่ง มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังของบาทที่ ๑, ๒ และ
  ๓ มีวรรคละ ๒ คา วรรคหลังของบาทที่ ๔ มี ๔ คา รวมเป็น ๓๐ คา




                                                          ต่อไป
สัมผัส...โคลงสี่สุภาพ
    สัมผัสของโคลงสี่สุภาพนอกจากในแผนผังบังคับแล้วยัง
ต้องมีสัมผัสอีก ๒ อย่างเพื่อชูรสให้ไพเราะยิ่งขึ้น
      สัมผัสใน
     สัมผัสอักษรระหว่างวรรค ( คือให้คาสุดท้ายของวรรคหน้า สัมผัส
      กับคาหน้าของวรรคหลัง ) เช่น
     เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย



                                                          ต่อไป
๑. มีเอก ๗ โท ๔ ตามตาแหน่ง
๒. ตาแหน่งเอกและโทในบาทที่ ๑ สลับกันได้ คือ เอาไปไว้ในคาที่ ๕
   และเอาโทมาไว้ในคาที่ ๔ ก็ได้
๓. คาที่ ๗ ของบาทที่ ๑ และคาที่ ๕ ของบาทที่ ๒ และที่ ๓ ห้ามใช้คา
   ที่มีรูปวรรณยุกต์
๔. ห้ามใช้คาตายที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท ในตาแหน่งโท
๕. คาสุดท้ายของบท ห้ามใช้คาตายและคาที่มีรูปวรรณยุกต์ ถ้าใช้
   เสียงจัตวาไม่มีรูป นิยมกันว่าไพเราะดียิ่ง
๖. คาที่เป็นเอกโทษคือใช้เสียงเอกในที่ผิด



                                                          ต่อไป
คาสร้อย
• ถ้าเนื้อความยังไม่สิ้นกระแส จะเติมสร้อยลงไปในท้ายบาทที่ ๑ ๓ และที่
  ๔ ก็ได้ แต่ในปัจจุบันไม่นิยมเติมคาสร้อยในบาทที่ ๔
• โคลงสี่สุดภาพถือกันว่าไพเราะและนิยมแต่งและนับเป็นหลักของโคลง
  ทั่ว ๆ ไป เพราะถ้าแต่งได้แล้ว ก็สามารถแต่งโคลงอื่นได้ไม่ยาก




                                                          กลับหน้าหลัก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบอ๋อ จ้า
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคChitsanupong Prommawan
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1Natchya Pengtham
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559Wichai Likitponrak
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1JunyapornTakumnoi
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊Pathitta Satethakit
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553ครู กรุณา
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)Chinnakorn Pawannay
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 

La actualidad más candente (20)

เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานบ้าน แบบทดสอบ
 
Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2558
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2558เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2558
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2558
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
 

Similar a ร้อยกรอง

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 

Similar a ร้อยกรอง (20)

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 

ร้อยกรอง

  • 1.
  • 2. ร้อยกรอง กลอนสุภาพ กาพย์ฉบัง กลอนสักวา กาพย์สุรางคนางค์ กาพย์ยานี โคลงสี่สุภาพ
  • 3. • บทร้อยกรองเหมือนมาลัยดอกไม้ เป็นมาลัยคาที่นาคา ภาษาไทยซึ่งได้เลือกสรรแล้วมาเรียบเรียงให้เป็นประโยคคล้อง จอง มีความไพเราะ งดงามด้วยศิลปะของภาษาที่เรียกว่า ความสุนทรีย์ และเป็นที่ชื่นชอบประทับใจของผู้อ่าน ที่เรียกว่า เข้าถึงอารมณ์
  • 4. การนาคาภาษาไทยมาเรียงร้อยให้เป็นระเบียบ มีศิลปะ และมีความงดงามของภาษา เรียกว่า “ ร้อย ” ส่วนการกลั่นกรองเลือกสรรคาที่มีความไพเราะเหมาะสม นามาผูกร้อยเป็นประโยคคา เรียกว่า “ กรอง”
  • 5. ความหมายตามพจนานุกรม “ ถ้อยคาที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบ ตามบทบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ ” กลับหน้าหลัก
  • 6. กลอน พจนานุกรมให้ความหมายไว้ว่า “ เป็นคานาม แปลว่า ไม้ หรือเหล็กขัดประตู หน้าต่าง, ดาน , ไม้แปสาหรับมุงหลังคา และ ลักษณะคาประพันธ์ที่นิยมสัมผัส ” ต่อไป
  • 7. กลอน • เป็นคาประพันธ์ที่นิยมสัมผัส หมายถึง การเรียงร้อยคา ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ฉันทลักษณ์และลักษณะบท กลอนประเภทนั้น ๆ คาแปลกปลอมที่ไม่ถูกต้องตาม กฎเกณฑ์ฉันทลักษณ์ หรือคาเกินจานวนจะนาเข้ามา เรียงร้อยรวมอยู่ในวรรคกลอนไม่ได้ ต่อไป
  • 8. กลอนแปด • ได้ชื่อว่าเป็นกลอนแม่แบบ และเป็นพื้นฐานของการเขียน บทร้อยกรอง • เป็นกลอนที่ไพเราะ อ่านเข้าใจง่าย ไม่สลับซับซ้อน สมบูรณ์ด้วยรูปแบบฉันทลักษณ์ ทั้งเสียง สัมผัส และ จานวนคา • เป็นคาประพันธ์ที่มีผู้นิยมเขียนและนิยมอ่านกันมากที่สุด ต่อไป
  • 9. โครงสร้างกลอนแปด • กลอนแปดคือ กระบวนคาหรือประโยคคาที่เกิดจากการนาคา ภาษาไทยที่ได้เลือกสรรแล้ว จานวนแปดคา หรือแปดพยางค์ นามาร้อย รวมเข้าด้วยกัน คาทั้งแปดคา หรือแปดพยางค์ ที่นามาร้อยรวมกัน เรียกว่า ๑ วรรคกลอน ดังตัวอย่าง กลอน แปด มี แปด คา ตาม กา หนด ไม่ ล่วง กฎ เขียน กลอน อัก ษร ศรี ต่อไป
  • 10. กฎเกณฑ์นี้ไม่ตายตัวเสมอไป • ถ้าจาเป็นจริง ๆ ก็อนุโลมให้ใช้วรรคละ ๙ คา หรือ ๙ พยางค์ได้ ดัง ตัวอย่าง กลอน แปด ดี มี แปด คา ตาม กา หนด ไม่ ล่วง กฎ การ เขียน กลอน อัก ษร ศรี ต่อไป
  • 11. ดังนันจึงต้องจาให้ดีวา ้ ่ หนึ่งวรรคมีแปดคาตามกาหนด ไม่ล่วงกฎนักกลอนอักษรศรี หากขัดสนจนถ้อยร้อยวจี ไม่พึงมีเกินเก้าเข้าตารา ต่อไป
  • 12. ๑ คำกลอน หรือ ๑ บำทกลอน • หมายถึง กลอน ๒ วรรครวมกัน ดังตัวอย่าง ใครก็เขียน กลอนได้ ถ้าใจรัก ( วรรคที่ ๑ ) และรู้จัก คุณค่า ภาษาศิลป์ ( วรรคที่ ๒ ) ต่อไป
  • 13. ๑ บทกลอน ( กลอน ๔ วรรค หรือ ๒ คากลอน ) ใครก็เขียน กลอนได้ ถ้าใจรัก ( วรรคที่ ๑ ) และรู้จัก คุณค่า ภาษาศิลป์ ( วรรคที่ ๒ ) หมั่นฝึกเขียน ค้นคว้า อยู่อาจิณ ( วรรคที่ ๓ ) จะไม่สิ้น ความหวัง ที่ตั้งใจ ( วรรคที่ ๔ ) ต่อไป
  • 14. ชื่อวรรคใน ๑ บทกลอน วรรคที่ ๑ เรียกว่า วรรคสดับ วรรคที่ ๒ เรียกว่า วรรครับ วรรคที่ ๓ เรียกว่า วรรครอง วรรคที่ ๔ เรียกว่า วรรคส่ง ต่อไป
  • 15. กลอนวรรคที่ ๑ ( วรรคสดับ ) • เป็นวรรคที่ต้องเริ่มเปิดเรื่องหรือเปิดความ ตามที่ได้สดับรับเรื่องราวมาจากบทต้น ๆ เพื่อดาเนินเรื่องให้ต่อเนืองเป็นกระบวน ่ ความเดียวกัน ต่อไป
  • 16. กลอนวรรคที่ ๒ ( วรรครับ ) • เป็นวรรคที่ต้องรับสัมผัสนอกต่อจากวรรค ที่ ๑ และรับสัมผัสบทเชื่อมโยงมาจากท้าย วรรคที่ ๔ ของบทต้น ต่อไป
  • 17. กลอนวรรคที่ ๓ ( วรรครอง ) • เป็นวรรคที่รองรับสัมผัสนอกต่อ เนื่องมาจากวรรคที่ ๒ แล้วส่งสัมผัสไปหา วรรคที่ ๔ ต่อไป
  • 18. กลอนวรรคที่ ๔ ( วรรคส่ง ) • เป็นวรรคที่รับสัมผัสจากวรรคที่ ๓ แล้วยัง เป็นวรรคที่จะต้องส่งสัมผัสบทโยงไปหาคา สุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบทถัดไปด้วย ต่อไป
  • 19. จังหวะการอ่านกลอน • จังหวะของการอ่านกลอนแปดแต่ละวรรคได้กาหนดไว้ดังนี้ คือ ถ้ากลอนวรรคใดมี ๘ คา หรือ ๘ พยางค์ ให้ทอดจังหวะการอ่าน เป็น ๓-๒-๓ดังนี้ นั่งพากเพียร เขียนกลอน ในตอนดึก ต่อไป
  • 20. ถ้ากลอนวรรคใดมี ๙ คา หรือ ๙ พยางค์ให้ทอดจังหวะการ อ่านเป็น ๓-๓-๓ ดังนี้ นั่งพากเพียร หัดเขียนกลอน ในตอนดึก ต่อไป
  • 21. คาสัมผัสหรือคาคล้องจองของกลอน • สัมผัส หมายถึง คาที่ออกเสียงคล้องจองกัน ซึ่ง แบ่งลักษณะคาคล้องจองออกเป็น ๒ ประเภท คือ สัมผัสสระ สัมผัสพยัญชนะ ต่อไป
  • 22. สัมผัสสระ • คือ คาคล้องจองที่อาศัยรูปสระบังคับเสียงตัวเดียวกันหรืออ่านออก เสียงตรงกัน ต้องเป็นคาประสมสระเสียงสั้น -สั้น ประสมสระเสียง ยาว-ยาวเท่านั้น ถ้าเป็นคาที่มีตัวสะกดต้องรับกับคาที่มีตัวสะกดอยู่ใน แม่เดียวกัน เช่น ใกล้ – ใน – สัย - ไฟ - ไกล - ใจ รัก - หัก - พรรค - ศักดิ์ นาน - หวาน - กาล - บ้าน ต่อไป
  • 23. สัมผัสพยัญชนะ • หรือเรียก สัมผัสอักษร หมายถึง คาคล้องจองที่มี ตัวอักษรตัวหลักหรือตัวประธานเสียงเป็นตัวเดียวกันแต่ ประสมสระคนละตัว เช่น ตรม-ตรอม เรียน- รัก โศกเศร้า –สุขสันต์-สองสาม ต่อไป
  • 24. กฎเกณฑ์การใช้สัมผัส • กฎเกณฑ์การใช้สัมผัสหรือคาคล้องจองอยู่ ๓ อย่าง คือ สัมผัสใน สัมผัสนอก สัมผัสบท ต่อไป
  • 25. สัมผัสใน • คาสัมผัสหรือคาคล้องจองที่อยู่ในวรรคเดียวกัน ซึ่งเป็นคาคล้อง จองเชื่อมระหว่างกลุ่มคาแรกกับกลุ่มคากลางและกลุ่มคากลาง กับกลุ่มคาท้าย ของกลอนแต่ละวรรค ดังตัวอย่าง ถึงเมาเหล้า เช้าสาย ก็หายไป แต่เมาใจ นี้ประจา ทุกค่าคืน ต่อไป
  • 26. สัมผัสนอก • คาสัมผัสหรือคาคล้องจองที่เชื่อมระหว่างวรรคหนึ่งกับอีกวรรคหนึ่ง ( นอกออกไปจากวรรคของมันเอง ) ซึ่งมีกฎเกณฑ์การสัมผัสตามตาแหน่ง คาดังนี้ วรรคที่ ๑ คาสุดท้าย ของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒ คาใดคาหนึ่ง ( กรณีกลอนวรรคที่ ๒ มี ๙ คา ให้สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือคาที่ ๖ คาใดคาหนึ่ง ) ต่อไป
  • 27. วรรคที่ ๒ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ วรรคที่ ๓ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือคาที่ ๕ ของวรรค ที่ ๔ คาใดคาหนึ่ง ( กรณีกลอนวรรคที่ ๔ มี ๙ คา ให้สัมผัสกับคาที่ ๓ หรือคาที่ ๖ คาใดคาหนึ่ง ) ผังสัมผัสนอกของกลอนแปด ต่อไป
  • 28. หมายเหตุ • สัมผัสนอกทุกตาแหน่งและทุกคา ใช้ได้เฉพาะ สัมผัสสระเท่านั้น ( ถือเป็นกฎข้อบังคับสาคัญ ) ทุกวรรคจะต้องมีสัมผัสนอกเชื่อมโยงถึงกันและ ตรงตามตาแหน่งคาที่กาหนด ถ้า ไม่มีถือว่า ผิดฉันทลักษณ์ ต่อไป
  • 29. ข้อควรระวังในการใช้สัมผัสนอก • อย่าใช้สัมผัสซ้า คาที่อยู่ในตาแหน่งรับสัมผัสนอกที่เชื่อมโยงถึงกันทุก ตาแหน่ง อย่าใช้คาซ้ากันเป็นอันขาดไม่ว่าคานั้นจะมีรูปแบบการเขียน หรือมีความหมายเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรก็ตาม ถ้าอ่านออกเสียง ตรงกันจะใช้รับสัมผัสนอกซ้ากันไม่ได้เช่น คาว่า พิษ กับ พิศ ฆ่า กับ ค่า ธรรม กับ ทา รักษ์ กับ รัก ต่อไป
  • 30. อย่าใช้คาเสียงสั้น - ยาวรับสัมผัสกัน • คาที่ประสมสระคนละตัวและคาที่ออกเสียงสั้น – ยาวแตกต่างกัน อย่า นามารับสัมผัสนอกเชื่อมโยงถึงกันเป็นอันขาด ถือว่าผิดฉันทลักษณ์ เช่น ไอ กับ อาย คิด กับ ขีด วัน กับ วาน กิน กับ ศีล ต่อไป
  • 31. อย่าแย่งสัมผัส หรือ อย่าชิงสัมผัส • กลอนแต่ละวรรคอย่าใช้คาที่เป็นสัมผัสนอกกับสัมผัสในปะปน กันโดยเฉพาะอย่างยิ่งวรรคที่ ๒ และวรรคที่ ๔ วิธีป้องกันและ หลีกเลี่ยงกรณีการแย่งสัมผัสหรือชิงสัมผัสก็คือ อย่านาคา ที่อ่านออกเสียงตรงกันมาใช้ซ้ากันในตาแหน่งคาที่ ๓ ๕ ๘ ( กรณีกลอนวรรคนั้นมี ๘ คา ) หรือคาที่ ๓ ๖ ๙ ( กรณีกลอนวรรคนั้นมี ๙ คา) ต่อไป
  • 32. สัมผัสบท • คาสัมผัสหรือคาคล้องจองที่เชื่อมโยงถึงกันระหว่างบทหนึ่งไปสู่อีกบท หนึ่งซึ่งมีเพียงตาแหน่งเดียวกันเท่านั้น คือ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๔ บทต้น ต้องสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบทถัดไป และ ใช้ได้เฉพาะสัมผัสสระเท่านั้น ต้องคานึงอยู่เสมอว่า การเขียนกลอนแปด หรือบทร้อยกรองทุกประเภท ถ้ามีความยาวมากว่า ๑ บทขึ้นไป ต้องมี สัมผัสเชื่อมต่อกันทุกบทไปจนจบ ต่อไป
  • 34. การใช้เสียงท้ายวรรคของกลอนแปด ถือเป็นฉันทลักษณ์บังคับที่สาคัญและเป็นทั้งข้อห้ามและข้ออนุญาตดังต่อไปนี้ • คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ใช้ได้ทุกเสียง ( แต่ไม่นิยมใช้เสียงสามัญเนื่องจากเสียง สามัญเป็นคาที่ออกเสียงเบาเรียบและไม่หนักแน่น ) • คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ใช้ได้เฉพาะเสียง เอก โท จัตวา ห้ามใช้เสียงสามัญ และเสียงตรี ( ใช้ ๓ ห้าม ๒ ) • คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ใช้ได้เฉพาะเสียงสามัญและเสียงตรี ห้ามใช้เสียง เอก โท จัตวา ( ใช้ ๒ ห้าม ๓ ) • คาสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ใช้ได้เฉาะเสียงสามัญและเสียงตรี ห้ามใช้เสียงเอก โท จัตวา ( เช่นเดียวกับวรรคที่ ๓ ) ต่อไป
  • 35. บทท่องจาการใช้เสียงท้ายวรรคของกลอนแปด วรรคแรกใช้ทุกเสียง แต่ควรเลี่ยงเสียงสามัญ วรรคสองนั้นสาคัญ ห้ามสามัญกับเสียงตรี เอก โท จัตวา อย่าลงวรรคสามและสี่ จดจาไว้ให้ดี กลอนแปดมีกฎเกณฑ์เอย กลับหน้าหลัก
  • 36. กลอนสักวา สักวา มีลักษณะการเขียน กฎเกณฑ์กติกา และฉันทลักษณ์บังคับ เหมือนกลอน แปดทุกประการ จะต่างเพียงรูปแบบเฉพาะ ๓ ประการ • ความยาว ๑ บทสักวา มีความยามเท่ากับกลอนแปด ๒ บท หรือ ๘ วรรค จะเขียน ยาวกว่านี้ หรือสั้นกว่านี้ไม่ได้เป็นอันขาด ตัวอย่าง สักวาความดีที่ตนสร้าง เป็นหนทางนาสุขสิ้นทุกหมอง คนทาดีดีพาสุขมาครอง ทาชั่วต้องสนองกรรมตามเวลา เหมือนหว่านพืชชนิดใดไว้เบื้องต้น ย่อมได้ผลชนิดนั้นในวันหน้า ก่อกรรมหนักสักวันผลทันตา ทาชั่วดีมีผลมาหาตนเอย ต่อไป
  • 37. การขึ้นต้นกลอนสักวา • วรรคที่ ๑ หรือวรรคแรกของสักวา ต้องเขียนให้ครบ ๘ หรือ ๙ เช่นเดียวกับกลอนแปด และต้องขึ้นต้นวรรคแรกด้วยคาว่า “ สักวา “ เสมอ เช่น สักวาภาษาไทยใกล้วิบัติ, สักวาป่าไม้ใกล้หมดสิ้น เป็นต้น แล้วโยงสัมผัสจากคาสุดท้ายไปเชื่อมสัมผัสนอกกับวรรคที่ ๒ เหมือน กลอนแปด ต่อไป
  • 38. การจบ... กลอนสักวา • วรรคที่ ๘ ซึ่งเป็นวรรคสุดท้ายของสักวา ต้องจบคาสุดท้ายของวรรค ( คาที่ ๘ หรือ ๙ ) ด้วยคาว่า “ เอย” เท่านั้น ถ้าไม่จบด้วยคาว่าเอย ถือว่า เขียนสักวาไม่เป็น กรณีประกวดหรือแข่งขัน จะถูกคัดออก หรือถูกตัด คะแนนจนไม่มีสิทธิ์ที่จะได้รับรางวัล ต่อไป
  • 39. แผนผังสักวาเอย • สักวา เอย กลับหน้าหลัก
  • 40. กาพย์ยานี ๑๑ • เป็นคาประพันธ์ที่นิยมอ่านและนิยมเขียนกันทั่วไป เพราะเป็นคาประพันธ์ที่แต่งง่าย ไม่มีกฎเกณฑ์ ข้อบังคับมากมายนัก ผู้ที่เริ่มฝึกเขียนกลอน สามารถเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจง่าย ต่อไป
  • 41. ลักษณะบังคับ • กาพย์ยานี ๑ บท มี ๒ บาท หรือ ๒ คากลอน บาทแรกเรียกบาทเอก บาทที่ ๒ เรียกบาทโท • ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังมี ๖ คา รวมเป็น ๑๑ คา จึงเรียกว่ากาพย์ยานี ๑๑ ต่อไป
  • 42. การแต่งกาพย์ยานี ๑๑ • ต้องแต่งอย่างน้อย ๑ บท หรือ ๒ บาท ( ๔ วรรค ) และต้องมีสัมผัสนอก เชื่อมโยงระหว่างวรรค เช่นเดียวกับกลอนแปด ยกเว้นวรรคที่ ๓ กับวรรค ที่ ๕ อนุโลมให้ไม่มีสัมผัสนอกได้ สาหรับสัมผัสใน นิยมให้มีคาคล้อง จองในวรรคเหมือนกลอนแปด เพื่อความไพเราะ ส่วนเสียงท้ายวรรค และกฎเกณฑ์อื่น ๆ แม้จะไม่บังคับไว้ แต่ถ้าใช้โดยอนุโลมเหมือนกลอน แปด ก็จะทาให้กาพย์ยานีมีความไพเราะและน่าอ่านมากขึ้น ต่อไป
  • 43. การเขียนกาพย์ยานี ๑๑ มีความยาวมากกว่า ๑ บทขึ้นไป ต้องมีสัมผัสระหว่างบทเช่นเดียวกับกลอนแปด ( คาสุดท้าย ของวรรคที่ ๕ บทต้น สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบทถัดไป )ถ้าไม่มีสัมผัสบทถือว่าเขียนผิดฉันทลักษณ์ ต่อไป
  • 45. ฝึกเขียนกาพย์ ฝึกเขียนกาพย์ยานี กฎเกณฑ์มีพึงจดจา หนึ่งบาทสิบเอ็ดคา วรรคหน้านาห้าคาเรียง วรรคหลังมีหกคา ท้ายลานาไม่ถือเสียง สัมผัสไม่หลีกเลี่ยง สาเนียงเพราะเสนาะเอย กลับหน้าหลัก
  • 46. กาพย์ฉบัง ๑๖ • กาพย์ฉบังบทหนึ่งมี ๓ วรรค วรรคที่ ๑ กับวรรคที่ ๓ มีวรรค ละ ๖ คา วรรคที่ ๒ มี ๔ คา ฉบังสิบหกคาควร ถ้อยคาสานวน พึงเลือกให้เพราะเหมาะกัน วรรคหน้าวรรคหลังราพัน วรรคหนึ่งพึงสรร ใส่วรรคละหกคาเทอญ วรรคสองต้องสี่คาเชิญ แต่งเสนาะเพราะเพลิน ใครได้สดับจับใจ ต่อไป
  • 47. กฎ...การแต่งกาพย์ฉบัง • คาสุดท้ายของวรรคแรกสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ถ้าจะแต่งบท ต่อ ๆ ไปอีก ต้องให้คาสุดท้ายของบทต้นสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ของบทต่อไป • ความไพเราะชองกาพย์ฉบังอยู่ที่การใช้คา และเสียงของคาให้มีสัมผัส สระและอักษร คาทุกคาควรเลือกให้ได้ลักษณะ “ เสียงดี ความเด่น ” ต่อไป
  • 48. ลักษณะดีพิเศษของกาพย์ฉบัง • ให้คาที่ ๑ และคาที่ ๒ ของวรรคที่ ๓ เป็นคาตาย • ให้ ๒ คาหลังของวรรคต้น กับ ๒ คาต้นของวรรคที่ ๒ เล่นอักษรกัน • ให้คาที่ ๒ ของวรรคที่ ๓ เล่นอักษรหรือสัมผัสอักษรกับคาสุดท้ายของ วรรคที่ ๒ ลมโชยชวนชื่นรื่นรมย์ รื่นรสคาคม ขอดแคะเขี่ยกรรณหรรษา ห่มสุขทุกข์โศกสร่างซา สร่างสิ้นวิญญาณ์ เพราะยอดเยาวลักษณ์ร่วมสม ต่อไป
  • 49. ต่อ...กฎการแต่งกาพย์ฉบัง • จะใช้คายัติภังค์ในระหว่างวรรคก็ได้ แต่ห้ามใช้ยัติภังค์ระหว่างบท • จะใช้คาในวรรคหนึ่ง ๆ เกินกว่าที่กาหนดไว้บ้างก็ได้ แต่ต้องเป็นคาลหุ และต้องไม่ยาวเยิ่นเกินไปจนขัดกับจังหวะและทานองการอ่าน • กาพย์ฉบังนิยมแต่งเกี่ยวกับตอนที่เป็นพรรณนาโวหารและนิยม แต่งเป็นบทสวดและบทพากย์โขน ต่อไป
  • 50. แผนผังกาพย์ฉบัง ๑๖ กลับหน้าหลัก
  • 51. กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ • บทหนึ่งมี ๗ กลอนหรือ ๗ วรรค วรรคหนึ่งมี ๔ คา รวมเป็น ๒๘ คา • สัมผัสให้ดูตามแผน ถ้าจะแต่งบทต่อไปอีก ต้องให้คาสุดท้ายของบทต้น สัมผัสกับคาสุดท้ายวรรคที่ ๓ ของบทต่อไป • จะเพิ่มสัมผัสให้คาที่ ๔ วรรคที่ ๔ สัมผัสกับคาที่ ๒ วรรคที่ ๕ ก็ได้ จะทา ให้ไพเราะขึ้นอีกด้วย • บางกรณีอาจเพิ่มสัมผัสนอกขึ้นอีก ๓ แห่ง คือให้คาที่ ๔ ของวรรคหน้า สัมผัสกับคาที่ ๑ หรือคาที่ ๒ ของวรรคหลัง และเพิ่มสัมผัสใน ระหว่าง คาที่ ๒ กับคาที่ ๓ ไว้ทุกวรรคตามแต่ละเหมาะด้วย ต่อไป
  • 53. ตัวอย่าง...กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ สุรางคนางค์ กาหนดบทวาง ยี่สิบแปดคา บทหนึ่งเจ็ดวรรค เป็นหลักพึงจา วรรคหนึ่งสี่คา แนะนาวิธี หากแต่งหลายบท จาต้องกาหนด บัญญัติจัดมี คาท้ายวรรคสาม ต้องตามวิถี สัมผัสกันดี ท้ายบทต้นแล กลับหน้าหลัก
  • 54. โคลง ๔ สุภาพ อ ท ( ) อ อ ท อ อ ( ) อ ท อ ท ( ) ต่อไป
  • 55. บทควรจา เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า สองเขือพี่หลับไหล ลืมตื่น ฤาพี่ สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ ต่อไป
  • 56. หลักการแต่งโคลงสี่สภาพ ุ • โคลงหนึ่งบทมี ๔ บรรทัด บรรทัดหนึ่งเรียกว่า บาทหนึ่ง รวม ๔ บาท นับเป็นหนึ่งบทหรือหนึ่งโคลง • บาทหนึ่ง มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังของบาทที่ ๑, ๒ และ ๓ มีวรรคละ ๒ คา วรรคหลังของบาทที่ ๔ มี ๔ คา รวมเป็น ๓๐ คา ต่อไป
  • 57. สัมผัส...โคลงสี่สุภาพ สัมผัสของโคลงสี่สุภาพนอกจากในแผนผังบังคับแล้วยัง ต้องมีสัมผัสอีก ๒ อย่างเพื่อชูรสให้ไพเราะยิ่งขึ้น สัมผัสใน สัมผัสอักษรระหว่างวรรค ( คือให้คาสุดท้ายของวรรคหน้า สัมผัส กับคาหน้าของวรรคหลัง ) เช่น เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย ต่อไป
  • 58. ๑. มีเอก ๗ โท ๔ ตามตาแหน่ง ๒. ตาแหน่งเอกและโทในบาทที่ ๑ สลับกันได้ คือ เอาไปไว้ในคาที่ ๕ และเอาโทมาไว้ในคาที่ ๔ ก็ได้ ๓. คาที่ ๗ ของบาทที่ ๑ และคาที่ ๕ ของบาทที่ ๒ และที่ ๓ ห้ามใช้คา ที่มีรูปวรรณยุกต์ ๔. ห้ามใช้คาตายที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท ในตาแหน่งโท ๕. คาสุดท้ายของบท ห้ามใช้คาตายและคาที่มีรูปวรรณยุกต์ ถ้าใช้ เสียงจัตวาไม่มีรูป นิยมกันว่าไพเราะดียิ่ง ๖. คาที่เป็นเอกโทษคือใช้เสียงเอกในที่ผิด ต่อไป
  • 59. คาสร้อย • ถ้าเนื้อความยังไม่สิ้นกระแส จะเติมสร้อยลงไปในท้ายบาทที่ ๑ ๓ และที่ ๔ ก็ได้ แต่ในปัจจุบันไม่นิยมเติมคาสร้อยในบาทที่ ๔ • โคลงสี่สุดภาพถือกันว่าไพเราะและนิยมแต่งและนับเป็นหลักของโคลง ทั่ว ๆ ไป เพราะถ้าแต่งได้แล้ว ก็สามารถแต่งโคลงอื่นได้ไม่ยาก กลับหน้าหลัก