SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 36
Descargar para leer sin conexión
1


           เว็บไซตงายๆ และชุมชนออนไลนดวย Blog

      Blog เปนคําผสมของคําวา Web และ Log โดย Log จะหมายถึงการจดบันทึก ดังนั้น
Blog จึงเปนรูปแบบการจดบันทึกเนื้อหาผานเว็บไซต ที่อนุญาตใหผูอานแสดงความคิดเห็น
ประกอบเนื้อหาของเราได ลักษณะจะคลายๆ กับ Web board แตโดยมาก Blog จะมีเนื้อหา
เฉพาะมากกวา Web board

การสราง Blog
         การสราง Blog ไมใชเรื่องยาก ปจจุบันมีทั้งบริการฟรีบนเว็บ เชนเว็บไซต
http://blogger.com หรือ http://blog.com รวมทั้ง http://wordpress.com และ
http://www.blogetery.com ที่อนุญาตใหผสนใจสมัครสมาชิกและสราง blog สวนตัวได โดยที่
                                          ู
เว็บไซตทั้ง 2 เว็บนั้นก็ใชซอฟตแวรตวเดียวกัน หรือจะดาวนโหลดซอฟตแวรมาสราง blog ที่
                                      ั
Server เองก็สามารถทําได ซึ่งซอฟตแวรที่ใชนั้นก็อยูในกลุม Open Source เชน
http://wordpress.org ที่อนุญาตใหดาวนโหลดโปรแกรมมาติดตั้งที่เครื่องของเราเองเพื่อสราง
blog ไดตามตองการ

จําลองเครื่องเปน Server ดวย Appserv
          หลายๆ ทานที่สนใจใชงาน Wordpress คงมีปญหาเกี่ยวกับพื้นที่บริการเว็บ (Web
Hosting )เนื่องจากตองอาศัยเครื่องแมขายเว็บ (Web Server) ที่ติดตั้งโปรแกรมภาษา PHP
ฐานขอมูลMySQL แตปญหานี้หมดไปไดโดยการจําลองเครื่องพีซีธรรมดาใหเปนเครื่องแมขาย
เว็บแบบจําลอง ทั้งนี้โปรแกรมจําลองเครื่องพีซีเปนเครื่องแมขายเว็บจําลอง มีหลายโปรแกรม
เชน XAMPP หรือ AppServ ทั้งนี้โปรแกรมที่จะแนะนําในเอกสารคูมือนี้คือ AppServ โปรแกรม
                                                                  
สําเร็จรูปที่ประกอบดวยโปรแกรมจําลองเครื่องแมขายเว็บ Apache โปรแกรมจัดการฐานขอมูล
MySQL และโปรแกรมแปลภาษา PHP ไวดวยกัน รุนปจจุบันดาวนโหลดไดที่เว็บไซต
http://www.appservnetwork.com




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2




         ไฟลที่ดาวนโหลดมาได คือ appserv-win32-2.5.9.exe เมื่อดับเบิลคลิกจะปรากฏสวน
ติดตั้งโปรแกรม ดังนี้




จากจอภาพตอนรับการติดตั้ง AppServ ใหคลิกปุม Next เพื่อเขาสูสวนลิขสิทธิ์




                                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
3




คลิก I Agree เพื่อยอมรับลิขสิทธิ์การใชงานเชนกัน




จอภาพถัดไปคือระบุไดรฟ และโฟลเดอรสําหรับติดตั้ง Appserv โดยโปรแกรม
กําหนดไวที่ไดรฟ C โฟลเดอร AppServ ใหคลิก Next เพื่อยอมรับการกําหนดไดรฟและ
โฟลเดอร
                                                                                   บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
              ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
4




สวนนี้เปนการเลือกวาจะติดตั้งโปรแกรมใดบาง กรณีนี้ใหคลิกเลือกทุกรายการ แลว
คลิกปุม Next




                                                                                          บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                     ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
5

สวนสําคัญในการติดตั้ง คือ
        1. การระบุชื่อเครื่องแมขายเว็บ (Server Name) กรณีที่เปนการติดตั้งจําลองมักจะ
ระบุเปน localhost (สําหรับการติดตั้งจริง จะตองสอบถามจากผูดูแลเครื่องแม
ขายเว็บโดยตรง)
        2. การระบุอีเมลของผูดูแล (Administrator’s Email Address)
        3. การระบุหมายเลขชองทางติดตอ (Apache HTTP Port) มักจะระบุเปนเลข 80




       1. กําหนดรหัสผานของการเขาถึงฐานขอมูล MySQL ในรายการ Enter root
password และระบุซ้ําในรายการ Re-enter root password
       2. เลือกรหัสภาษาไทยใหถูกตองตามคากําหนดของเครื่องแมขาย กรณีนี้ควรระบุ
เปน UTF-8 Unicode หรือ TIS-620 (ตามขอกําหนดของเครื่องแมขายเว็บ)

 Account ชุดแรกที่ตองจําคือ Account ควบคุมฐานขอมูล MySQL โดย
 UserName คือ root
 Password คือ ..............................................




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
6

      เมื่อระบุคาเกียวกับการเขาถึงฐานขอมูล MySQL แลวใหคลิกปุม Install เพื่อเริ่มติดตั้ง
                     ่
โปรแกรมตางๆ ของ AppServ




        จอภาพแสดงผลเมื่อการติดตั้งสมบูรณ




                                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
7

         คลิกเลือก Start Apache และ Start MySQL เพื่อใหโปรแกรมทั้งสองทํางาน จากนั้น
คลิกปุม Finish เพียงเทานีก็เสร็จสิ้นการติดตั้ง AppServ ซึ่งสามารถทดสอบไดโดยเปด
                           ้
เว็บเบราวเซอร จากนั้นพิมพคําสั่ง http://localhost หรือ http://127.0.0.1




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
8


                                                                    ติดตั้ง Worpress
        พีซีธรรมดาไดถูกจําลองเปนเครื่องแมขายเว็บแลว ตอนนี้ก็ถึงเวลาทีจะติดตั้ง Joomla
                                                                          ่
เพื่อเนรมิตเว็บไซตภายในไมกี่นาที โดยเริ่มจากดาวนโหลดโปรแกรม Wordpress 2.8 รุนลาสุด
(2.8 ณ วันที่ 22 มิถุนายน 2552) จากเว็บไซต http://www.wordpress.org




       เลือกเวอรชันที่ตองการ




       ไฟลที่ดาวนโหลดมาไดคือ wordpress-2.8.zip ใหแตกไฟลซึ่งจะไดโฟลเดอรชื่อ
       wordpress
                                                                                          บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                     ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
9

       ซึ่งไฟลทั้งหมดในโฟลเดอรดังกลาวคือไฟลตนฉบับของ Wordpress ใหคัดลอก
โฟลเดอรนี้ ไปไวที่โฟลเดอร www ของ AppServ แลวเปลี่ยนชื่อโฟลเดอรตามตองการ เชน ถา
ตองการสรางเว็บไซตของตนเอง ก็ใชชื่อตัวเปนชื่อโฟลเดอร หรือเว็บหนวยงาน ก็อาจจะใชชื่อ
ยอของ หนวยงานเปนชื่อโฟลเดอร (ตัวอยางขอใชชื่อ wordpress)




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
10


สรางฐานขอมูล

        ตอนนี้ก็พรอมจะติดตั้ง Wordpress แตกอนที่จะติดตั้ง wordpress ไดนั้นจะตองมีการ
สราง ฐานขอมูลขึ้นกอนเพือใหในระหวางติดตั้งโปรแกรมจะสรางตารางใหในฐานขอมูลนี้ ซึ่งมี
                          ่
วิธีการโดยเปดเบราวเซอร แลวพิมพคําสัง http://localhost/
                                        ่




       คลิกที่รายการคําสั่ง phpMyAdmin Database Manager Version 2.10.2




       ปอน Username และ Password ที่ไดสรางจากการติดตั้ง Appserv



                                                                                          บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                     ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
11




สรางชื่อฐานขอมูลเพื่อใชในการติดตั้ง




ชื่อฐานขอมูลที่ไดสรางขึ้น




                                                                                    บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
               ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
12


ติดตั้ง Wordpress

        เมื่อสรางชื่อฐานขอมูลแลวก็จะเขาสูการติดตั้ง Blog โดยเริ่มจากการเปดเบราวเซอร
แลวใหพิมพที่ Address Bar ดวยคานี้ http://localhost/wordpress (ชื่อโฟลเดอรที่ไดสรางไว
และมีการคัดลอกโปรแกรม Worpress ไปไวในขั้นตอนกอนหนานี้)




        คลิกที่ปุม Create a Configuration File




        หนาจอยินดีตอนรับ ใหคลิกปุม Let’s go! เพื่อเขาสูการติดตั้ง


                                                                                            บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                       ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
13




ปอนรายละเอียดตางๆ เพื่อใชในการติดตัง Blog
                                          ้
    • Database ชือฐานขอมูลทีไดสรางไวกอนหนานี้ ในทีนี้ใหใชคําวา wordpress
                    ่               ่                      ่
    • UserName ชื่อที่ใชในการติดตอฐานขอมูล (ผูดูแลระบบจะเปนผุแจงใหในกรณีที่ตดตั้ง   ิ
       บนเครื่องแมขาย) ในที่นี้ใชคําวา root
                      
    • Password รหัสผานที่ใชคกับ UserName ขึ้นกับตอนติดตั้ง Appser วาไดตั้งคาวา
                                 ู
       อะไร
    • Database Host ชื่อ Host (ขึ้นอยูกับเครืองแมขายนั้นวาใชชื่อวาอะไร) ในที่นี้ใชคาวา
                                               ่                                          ํ
       localhost
    • Table Preflx ชื่อนําหนาฐานขอมูลแตและตาราง

เมื่อตั้งคาทุกอยางเรียบรอยแลวใหคลิกปุม Submit เพือเขาสูขั้นตอไป
                                                     ่




                                                                                    บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
               ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
14




         เขาสูหนาจอติดตั้งฐานขอมูลเพื่อใหสามารถใชงาน Blog ได หากไมขึ้นหนานี้แสดงวา
ขั้นตอนกอนหนานี้จะตองมีอะไรผิด เชน ชื่อที่ใชงานการติดตอฐานขอมูลไมถูกตอง หรือยังไมได
สรางชื่อฐานขอมูล เปนตน




         กรอกชื่อ Blog และ อีเมลทใชในการติดตอ เมื่อกรอกรายละเอียดเรียบรอยแลวใหคลิก
                                  ี่
ปุม Install Wordpress




                                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
15




          ระบบจะแจง Username และ Password ที่ใชในการเขาระบบครั้งแรก เมื่อได
UserName และPassword แลวแนะนําใหรีบเปลียน Password เปน รหัสผานที่คณจําได
                                          ่                              ุ
เขาสูระบบดวยปุม LogIn




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
16




       หนาจอเมื่อเขาสูระบบเรียบรอย ซึ่งใหสังเกตขอความทีอยูในกรอบสีแดง โปรแกรมจะ
                                                             ่
แนะนําใหรีบแกไขรหัสผานซึ่งสามารถเขาไปแกไขดวยคําสั่ง Yes, Take me to my profile
page แตหากไมตองการแกไขใหตอบ No Thanks, Do not remind me again




                                                                                          บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                     ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
17




        ปอนรหัสผานใหมพรอมทั้งยืนยันรหัสผาน โดยรหัสผานที่คุณแกไขโปรแกรมจะมีคํา
เตือนมาใหวางายตองการคาดเดาหรือยาก เมื่อแกไขเรียบรอยแลวใหคลิกปุม Update Profile
ก็จะไดรหัสผานใหมที่คุณจําไดงายกวาที่ระบบสรางใหแลวนะครับ




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
18


                                       สราง Blog ที่ Wordpress.com

         ในการสราง blog ดวยโปรแกรม Wordpress นั้นหากเครื่องเราไมพรอมที่จะจําลอง
เครื่องเปน Server นั้นหรือไมมีความพรอมดาน Server เราก็สามารถที่จะติดตั้ง Blog ได ดวย
การไปฝากไวที่ wordpress.com ไดเลยซึ่งการติดตั้งก็ไมยาก ซึ่งจะมีขั้นตอนดังนี้
       • เขาเว็บไปที่ www.wordpress.com




       • คลิกปุม Sign Up Now!




                                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
19

• กรอกรายละเอียดตางๆ ที่ใชเปนขอมูลในการลงทะเบียน โดยขอมูลที่กรอกจะตอง
  เปนขอมูลจริง โดยเฉพาะอีเมล เนื่องจากจะตองยืนยันตัวตนจริงผานทางอีเมล และ
  คลิกปุม Next




• เมื่อลงทะเบียนผานแลวทาง wordpress.com จะแจงใหทราบวา URL ที่ใชเรียกเขา
  เว็บไซตคือ URL อะไร และมีชื่อเว็บไซตวาอะไร สามารถเปลี่ยนภาษาเปนภาษาที่
                                         
  ตัวเองถนัดไดที่รายการคําสัง Language เมื่อตั้งคาเรียบรอยแลวใหคลิกปุม Signup
                             ่




                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
20

• เมื่อผานขั้นตอนเมื่อกี้แลวโปรแกรมจะใหเราไปเช็คเมลวามีเมลจาก
  wordpress.com หรือไมโดยเนื้อหาในเมลจะมีตามภาพ เมื่อไดรับเมลแลวใหคลิกที่
  URL ที่ทาง wordpress ไดแจงมา เพื่อเปนการยืนยันวาเราจะใชงานเว็บไซตนี้




• โดย URL ที่เราคลิกไปนั้นทาง wordpress.com จะแจง Username และ Password
  ใหหากขึ้นหนาจอนี้แสดงวาการติดตั้งสําเร็จคุณมีเว็บไซตเรียบรอยแลว




• ลองเขาสูระบบดวย Username ที่ทางระบบแจง




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
21

• เมื่อ Login สําเร็จจะไดหนาจอดังนี้ ซึ่งหนาจอนี้เปนหนาจอ BackEnd




• สวนหนาจอเว็บไซตก็เรียบผาน URL ที่ไดแจงไวกอนหนานี้ ซึ่งปกติจะเปน
  http://username.wordpress.com ตัวอยางนี้ก็คือ
  http://boonkiat00007.wordpress.com




                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
22


                              รูจักกับสวนตางๆ ของ Wordpress
        เว็บไซตตัวอยางของ Wordpress ไดติดตังเรียบรอยแลว การเขาสูเว็บไซตเมื่อติดตั้ง
                                                 ้
เรียบรอยแลวทําไดโดยพิมพ URL ดังนี้ http://localhost/ชื่อโฟลเดอร หรือ http://127.0.0.1/ชื่อ
โฟลเดอร ตัวอยาง http://localhost/wordpress โดยรายละเอียดของหนาเว็บคงไมมีอะไรมากไว
ใชในการแสดงผล




    • เนื้อหา คือ ขาวหรือความรูที่ผูเขียน Blog ตองการนําเสนอโดยเนื้อหาของใหมจะอยูขาง
                                     
      บนสุดเสมอ
    • เมนูอื่น คือ ปุมเครื่องมือที่ใหเขาถึงเนื้อหาไดโดยงาย ผานทาง Categories เปนตน
    • เมนูเขาสูระบบ คือ เมนูที่ไวเขาไปใสเนื้อหาหรือจัดการระบบ




                                                                                            บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                       ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
23

เขาสูระบบ BackEnd
      ในการจัดการเนื้อหาตางๆ หรือจัดการระบบเราจะตองเขาสูระบบทีเรียกกันทั่วไปวา
BackEnd โดยในการเขามาที่ระบบนีไดนั้นก็มี 2 วีธี คือ
                               ้
   1. ผานทางเมนูหนาเว็บในสวนที่มีคําวา Meta จะมีคําวา Login อยูใหคลิกที่คําสั่งนี้แลว
      โปรแกรมจะใหใส UserName และPassword




    2. เขาโดยการพิมพ URL ที่ Address Bar ดวยคําวา http://localhost/wordpress/wp-
       login.php ก็จะสามารถเขาสูระบบไดเหมือนกัน ในกรณีสวนใหญจะใชตอนที่รายการ
       คําสั่ง Meta หายไปคือมีการปรับแตงหนาเว็บแลวลืมใสเขามาดวย หรือเปลี่ยน
       Template แลว Template นั้นไมมีคําสั่งนี้มาให เปนตน




                                                                                   บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
              ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
24

สวนตางของระบบ BackEnd
         เมื่อเขาสูระบบไดแลวจะปรากฎหนาหลักโดยในหนานี้จะบอกรายละเอียดทั้งหมดของ
เว็บวาตอนนีมีบทความแลวกี่บทความ มี comment แลวกี่ comment และหากตองการใสเนือหา
               ้                                                                          ้
อยางรวดเร็วก็สามารถใสไดที่หนาจอนี้ ซึ่งสวนตางๆ ของหนาจอนี้มีอะไรบางซึ่งหนาจอนี้จะ
เรียกวา Dashboard ในตอนนี้เรามาทําความรูจักสวนสําคัญๆ กันหนอย โดยขอเริ่มจาก




   1. Right Now เปนสวนที่แสดงวาเนื้อหาตอนนี้ทั้งหมดเทาไหรโดยแบงเปน Post, Page,
      Category เปนตน ซึ่งหากตองการแกไขเนื้อหาไหนหรือตองการดูเนื้อหาทั้งหมดใหคลิก
      ที่ตวเลขที่ปรากฏก็จะเขาสูหนาจอแสดงเนื้อหาทั้งหมด อีกทั้งในสวนนี้ยังสามารถ
          ั                     
      เปลี่ยนหนาจอเว็บไซตไดดวยปุม Change Theme




                                                                                          บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                     ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
25

2. QuickPress เปนสวนที่ไวใสเนื้อหาแบบ Post อยางรวดเร็วโดยใสแคชื่อเรื่อง (Title),
   เนื้อหา (Content), คําคน (Tag) และเมื่อใสเนื้อหาเรียกรอยแลวก็สามารถคลิกปุม
   Publish เพื่อนําเสนอผานเว็บไซตไดเลย




3. Recent Comments เปนสวนที่แสดงวาตอนนี้มีคนมา Comments อะไร ซึ่งเราสามารถ
   ที่จะจัดการ comments ไดวาจะใหเผยแพรหรือไม หรือที่เรียกวาการอนุมัติให
   comments นี้แสดงผลหรือไมนั่นเอง เพราะหากเปนขอความที่ไมเหมาะสมและได
   เผยแพรกอนที่จะมีการอนุมัติก็ทําใหเว็บเราผิดกฎหมายไดหากเนื้อหานั้นไปโจมตีใคร
   หรือมีขอความที่ผิดกฎหมายขึ้นไปแสดง




4. Recent Drafts เปนสวนที่แสดงวาตอนนีมีเนื้อหาที่ได Save Drafts ไวคําวา Save
                                            ้
   Drafts คือเนื้อหาที่เขียนนันยังไมเสร็จและยังไมเผยแพรไมวาจะดวยสาเหตุใดก็ตามที่
                              ้
   ยังเขียนไมเสร็จ ซึ่งระบบก็ยอมใหมี Save Drafts เพื่อตรวจสอบเนื้อหากอนที่จะ
   Publish โดยจะแสดงใหเห็นวามีเนื้อหาอะไรบาง ซึ่งหากไมแสดงอาจจะทําใหคนที่เขียน
   ลืมไดวาตอนเราไดเขียนอะไรไป เปนการเตือนความจําไดอีกวิธีหนึ่ง




                                                                               บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
          ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
26

5. เมนูตางๆ เปนเมนูที่ใชในการจัดการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง




        •   Posts            จัดการเนื้อหาที่เขียนขึ้นดวยการ Posts
        •   Media            จัดการสื่อภายนอกที่ตองการ upload เขาระบบ
        •   Links            จัดการดานเว็บลิงก
        •   Pages            จัดการเนื้อหาที่เขียนขึ้นดวย Pages
        •   Comments         จัดการกับความคิดเห็นที่เขามา
        •   Appearance       จัดการดานเมนูตางๆ และหนาตางเว็บไซต
        •   Plugins          จัดการโปรแกรมเพิ่มเติมเชน ใหมี Poll ดวย
        •   Users            จัดการเกี่ยวกับผูใช เพิ่มหรือลบ
        •   Tools            เครื่องมือที่ชวยเพิ่มความสามารถใหกับเบราวเซอร
        •   Settings         ตั้งคาระบบตางๆ

6. สวนอื่นๆ เปนสวนที่แจงขาวจากเว็บไซตวามีอะไรใหม หรือมีการปรับปรุงโปรแกรม ซึ่ง
   หากไมตองการสามารถปดไดดวยปุมเครืองมือที่ชื่อวา Screen Options โดยที่รายการ
                                           ่
   ไหนไมอยากใหแสดงก็ใหเอาเครื่องหมายถูกออก




                                                                                       บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                  ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
27


                                                                                  สรางเนื้อหา
         ในการสรางเนื้อหานั้นจะมี 2 แบบคือ Pages และ Posts ซึ่งความแตกตางระหวางการ
เขียนทั้ง 2 แบบคือ ถาเปน Pages จะเปนเนื้อหาที่ไมคอยเคลื่อนไหว และในการเขาถึงเนื้อหา
จะผานทางเมนู สวน Posts นั้นจะเปนเนื้อหาที่มีการ Update ตลอดเวลา และในการเขาถึง
เนื้อหาผานทางหนาเว็บ หรือผานทาง Category เปนตน


เขียนเรื่องราว
       การเขียนเนื้อหานั้นสามารถทําไดที่หนา Dashboard ในสวนของ QuickPress เมื่อใส
รายละเอียดตางๆ แลวก็ใหกดปุม Publish แตหากเนื้อหาที่ตองการนําเสนอยังไมเสร็จแตไม
อยากมาเขียนใหมใหคลิกปุม Save Draft จะเปนการบันทึก Draft ไวกอนรอกลับมาแกไขอีก
                          




ครั้ง
           •     Title ชื่อเรื่อง
           •     Content เนื้อหาที่แบบระบเอียด
           •     Tags คําคน หรือ คําที่ใชในการกํากับเนื้อหานี้
           •     Publish ปุมสําหรับเผยแพรผานหนาเว็บ

         เนื้อหาที่เขียนในสวนนี้ โปรแกรมไดอํานวยความสะดวกในการใสเนือหาอยางรวดเร็ว
                                                                          ้
แตสังเกตเห็นนะครับวาเครืองมือในสวนนี้จะไมคอยมีเครื่องมือใหปรับแตงอะไรมากนักซึ่งหาก
                             ่
จะเพิ่มตารางหรือเปลี่ยนสีของฟอนตจะไมสามารถทําไดเพราะฉะนันเครื่องมือในสวน
                                                                 ้
QuickPress จะเหมาะแกการใสเนื้อหาอยางรวดเร็ว หากจะปรับแตงใหสวยจะตองคลิกที่
เครื่องมืออื่น
                                                                                    บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
               ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
28



   เขียนเนื้อหาผานปุม New Post

         ในการเขียนเนื้อหาที่ตองการเครื่องมือเพิ่มเติมนั้นจะตองใชปุม New Post ในการเขียน
ซึ่งจะมีเครื่องมือใหเราปรับแตงไดมากขึ้นไมวาจะเปนการใสตาราง เปลี่ยนสีฟอนต หรือใส link
ใหกับขอความ เปนตน ก็ตองเขามาทํางานในสวนนี้ แมกระทั่งคนทีถนัด HTML ก็จะตองเขามา
                                                                  ่
เขียนในโหมด HTML ซึ่งจะมีเครื่องมือใหดวย โดยปุมนี้จะอยูที่ดานบนของหนา Dashboard
เมื่อคลิกที่ปุม NewPost แลวจะไดหนาจอดังนี้




จะเห็นนะครับวามีรายการคําสั่งใหเรากรอกเยอะมา แตในการใสเนื้อหาจริงๆ จะใสไมกี่รายการ
แบงเปนสวนๆ ไดดังนี้

                                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
29




                                                                     บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
30


อัพโหลดไฟล
         ในการใสเนื้อหาบางครั้งไมไดแสดงแคขอความเทานัน อาจจะมีภาพประกอบหรือ วีดีโอ
                                                              ้
ประกอบเนื้อหาที่เราใสเขาไป ซึ่ง Wordpress ก็ไดเตรียมปุมที่ใชในการอัพโหลดไฟลเขาระบบ
เพื่อดึงมาแสดงผลโดยปุมที่จะแนะนําตอไปนี้ก็คือปุมที่ชื่อวา Upload/Insert ประกอบไปดวยปุม
         Add an Image ใสภาพ
         Add Video ใสวีดีโอ (ขึ้นอยูกับ Server วาอนุญาตใหใสหรือไม)
         Add Audio ใสเสียง (ขึ้นอยูกับ Server วาอนุญาตใหใสหรือไม)
         Add Media ใสสื่อรูปแบบอื่นๆ


   ขั้นตอนการใสภาพในเนื้อหา
    • ใหวางตําแหนงเคอรเซอรตรงจุดที่ตองการนํารูปภาพ
    • คลิกที่ปุม Add an Image จะไดหนาจอดังภาพ




    • คลิกปุม Select Files เพื่อเลือกภาพที่ตองการนํามาแสดง แลวคลิกปุม Open หรือจะ
                                                                       
      ดับเบิลคลิกทีรูปภาพก็ได
                   ่




    • ระบบจะทําการโหลดภาพนี้ขึ้น Server รอจนครบ 100%

                                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
31

• เมื่อครบ 100% โปรแกรมจะแสดงภาพที่ไดนําเขาระบบ




•   กรอกรายละเอียดของภาพ
•   เลือกตําแหนงของภาพวาจะใหอยูตรงไหนดวยคําสั่ง Alignment
•   กําหนดขนาดของภาพที่ใชในการแสดง
•   คลิกปุม Insert into Post หากตองการนําภาพนี้ไปแสดง




                                                                              บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
         ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
32

    • ในสวนการอัพโหลดไฟล วีดีโอหรือไฟลเสียงนั้นก็ใชหลักการเดียวกับการอัพโหลดไฟล
      ภาพ แตการจะนํา วีดีโอหรือไฟลเสียงมาใชงานไดนั้นก็ขึ้นอยู Server ดวยวาอนุญาต
      หรือไม หากอนุญาตก็ตองติดตั้ง Plugin เพิ่มเติมเพื่อใหสามารถแสดงผลได


เพิ่มหมวดหมูเนือหา
                ้
        เมื่อเราใสเนื้อหาเรียบรอยแลวไมวาจะมีภาพประกอบหรือไมมีก็ตาม เมื่อเขียนเสร็จแลว
เราจะตองใสหมวดหมูใหกับเนื้อหาดวยเพื่อใหคนหาเนื้อหาไดงายและมีการจัดกลุมวาเนื้อหานี้
                                                                              
อยูหมวดไหน ซึ่งมีวิธีการดังนี้
     • ไปที่มุมลางขวาของหนาจอใสเนื้อหาจะปรากฏภาพนี้




    • เลือก Categories ที่เกี่ยวกับเนื้อหา
    • หากไมมีหมวดเนื้อหาที่ตองการสามารถเพิ่มเติมไดจากคําสั่ง +Add New Category




    • ใสหมวดใหมและคลิกปุม Add




                                                                                           บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                      ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
33

   • หมวดใหมที่ไดเพิ่มก็จะแสดงใหเลือกวาเนื้อหานี้อยูในหมวดไหนโดยที่เนื้อหาหนึ่งเรื่อง
     อาจจะมีไดหลายหมวดหมูก็ไดซึ่งโปรแกรมยอมใหเลือกหลายๆ หมวด

ใส Tag คําคน
      Tag คือ คําสั้นๆ สองสามคํา ที่เอาไวอธิบายวาเราเขียนเรื่องอะไร โดยพอใสไปแลว
Tag ของเราจะไปปรากฏใตเนื้อหาที่เราเขียน ขั้นตอนในการใส Tag มีวิธีการดังนี้
   • หากรอบคําวา Post Tags




   • กรอก Tag ที่เกี่ยวกับเนื้อหารูปแบบในการใส Tag ใหพิมพคําที่ 1 แลวคั่นดวยคอมมา
     ไปเรื่อยๆ เชน blog, wordpress, book เปนตน หรือจะใสทละคําแลวกดปุม Add ที่ละ
                                                            ี่
     คําก็ได ก็จะไดผลเหมือนกับการใสคอมมาเอง
   • ตัวอยางการแสดงผลของ Tag




                                                                                  บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
             ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
34


เผยแพรผานเว็บไซต
         เมื่อเราไดใสเนื้อหา เพิ่มหมวดหมู ใส Tag เรียบรอยแลวก็จะตองนําเนื้อหาที่เราใสไป
เผยแพรผาน Blog ดวยปุมงายๆ ที่มีอยูวา Publish แตหาเนื้อหาที่เขียนไปยังไมอยากเผยแพร
                                         
หรือเนื้อหาตองมีการปรับปรุงก็สามารถที่จะ Save Draft ไวกอนรอเนื้อหาสมบูรณกอนจึงจะ
Publish ก็ได หรือบางทานอยากจะดูตัวอยางเนื้อหาที่แสดงก็สามารถคลิกทีปุม Preview ก็ได
                                                                             ่
เหมือนกัน




         หลังจากที่ไดกดปุม Publish แลวนั้นเนื้อหาที่แสดงนั้นจะแสดงที่เนื้อหาแรกของเว็บ
Blog นี้ ในการจะไปดูเนื้อหาหนาเว็บนั้นใหคลิกที่คําสั่ง View Post




                                                                                            บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                       ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
35




ภาพแสดงเนื้อหา

                                                                                บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
           ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
36




ภาพแสดงเนื้อหาในหนาแรกของเว็บไซต




                                                                                        บุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                   ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

Más contenido relacionado

Destacado

Public Health in Lincolnshire
Public Health in LincolnshirePublic Health in Lincolnshire
Public Health in Lincolnshirecommunitylincs
 
Using data effectively worskhop presentation
Using data effectively worskhop presentationUsing data effectively worskhop presentation
Using data effectively worskhop presentationcommunitylincs
 
Micromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big Challenge
Micromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big ChallengeMicromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big Challenge
Micromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big ChallengeNeo Cricket
 
Involving lincs conference planning for success HCLD
Involving lincs conference   planning for success HCLDInvolving lincs conference   planning for success HCLD
Involving lincs conference planning for success HCLDcommunitylincs
 
Arrows Group Healthcare
Arrows Group HealthcareArrows Group Healthcare
Arrows Group Healthcarel_mcdonald
 
Local Authority Support For neighbourhood Planning
Local Authority Support For neighbourhood PlanningLocal Authority Support For neighbourhood Planning
Local Authority Support For neighbourhood Planningcommunitylincs
 
Social Value Workshop
Social Value Workshop   Social Value Workshop
Social Value Workshop communitylincs
 
Tectura Microchannel CRM
Tectura Microchannel CRMTectura Microchannel CRM
Tectura Microchannel CRMAtul Nebhani
 
Microsoft Dynamics CRM Value Proposition
Microsoft Dynamics CRM Value PropositionMicrosoft Dynamics CRM Value Proposition
Microsoft Dynamics CRM Value PropositionAtul Nebhani
 
The 4 P’S Of Marketing
The 4 P’S Of MarketingThe 4 P’S Of Marketing
The 4 P’S Of Marketingguillemettek
 
Nettlleham Neighbourhood Plan
Nettlleham Neighbourhood PlanNettlleham Neighbourhood Plan
Nettlleham Neighbourhood Plancommunitylincs
 
Stubton Neighbourhood Plan
Stubton Neighbourhood PlanStubton Neighbourhood Plan
Stubton Neighbourhood Plancommunitylincs
 
Saxilby with Ingelby Neighbourhood Development Plan
Saxilby with Ingelby Neighbourhood Development PlanSaxilby with Ingelby Neighbourhood Development Plan
Saxilby with Ingelby Neighbourhood Development Plancommunitylincs
 
Neighbourhood Planning Support
Neighbourhood Planning SupportNeighbourhood Planning Support
Neighbourhood Planning Supportcommunitylincs
 
Neighbourhood Planning - The National Picture
Neighbourhood Planning - The National PictureNeighbourhood Planning - The National Picture
Neighbourhood Planning - The National Picturecommunitylincs
 

Destacado (18)

You Are The funder
You Are The funder You Are The funder
You Are The funder
 
Public Health in Lincolnshire
Public Health in LincolnshirePublic Health in Lincolnshire
Public Health in Lincolnshire
 
STRATEGIC DIRECTION
STRATEGIC DIRECTIONSTRATEGIC DIRECTION
STRATEGIC DIRECTION
 
Using data effectively worskhop presentation
Using data effectively worskhop presentationUsing data effectively worskhop presentation
Using data effectively worskhop presentation
 
Micromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big Challenge
Micromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big ChallengeMicromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big Challenge
Micromax Asia Cup-Indian Cricket Team's Next Big Challenge
 
Involving lincs conference planning for success HCLD
Involving lincs conference   planning for success HCLDInvolving lincs conference   planning for success HCLD
Involving lincs conference planning for success HCLD
 
Arrows Group Healthcare
Arrows Group HealthcareArrows Group Healthcare
Arrows Group Healthcare
 
Local Authority Support For neighbourhood Planning
Local Authority Support For neighbourhood PlanningLocal Authority Support For neighbourhood Planning
Local Authority Support For neighbourhood Planning
 
Social Value Workshop
Social Value Workshop   Social Value Workshop
Social Value Workshop
 
Tectura Microchannel CRM
Tectura Microchannel CRMTectura Microchannel CRM
Tectura Microchannel CRM
 
Spd
SpdSpd
Spd
 
Microsoft Dynamics CRM Value Proposition
Microsoft Dynamics CRM Value PropositionMicrosoft Dynamics CRM Value Proposition
Microsoft Dynamics CRM Value Proposition
 
The 4 P’S Of Marketing
The 4 P’S Of MarketingThe 4 P’S Of Marketing
The 4 P’S Of Marketing
 
Nettlleham Neighbourhood Plan
Nettlleham Neighbourhood PlanNettlleham Neighbourhood Plan
Nettlleham Neighbourhood Plan
 
Stubton Neighbourhood Plan
Stubton Neighbourhood PlanStubton Neighbourhood Plan
Stubton Neighbourhood Plan
 
Saxilby with Ingelby Neighbourhood Development Plan
Saxilby with Ingelby Neighbourhood Development PlanSaxilby with Ingelby Neighbourhood Development Plan
Saxilby with Ingelby Neighbourhood Development Plan
 
Neighbourhood Planning Support
Neighbourhood Planning SupportNeighbourhood Planning Support
Neighbourhood Planning Support
 
Neighbourhood Planning - The National Picture
Neighbourhood Planning - The National PictureNeighbourhood Planning - The National Picture
Neighbourhood Planning - The National Picture
 

Similar a Blog : Wordpress

Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installationSo Pias
 
Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Vegas Man
 
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...Arrat Krupeach
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptrainingphochai
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptrainingphochai
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpresskruburapha2012
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)Prapatsorn Keawnoun
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บanuchit025
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นWithawat Na Wanma
 
เว็บสำเร็จรูป
เว็บสำเร็จรูปเว็บสำเร็จรูป
เว็บสำเร็จรูปniwat
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ JoomlaJatupon Panjoi
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ Cupid Eros
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่Manop Kongoon
 
Php dreamwaver
Php dreamwaverPhp dreamwaver
Php dreamwaverphochai
 

Similar a Blog : Wordpress (20)

Wordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appservWordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appserv
 
joomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appservjoomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appserv
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installation
 
Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Atomymaxsite25
Atomymaxsite25
 
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptraining
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptraining
 
Joomla 56 km
Joomla 56 kmJoomla 56 km
Joomla 56 km
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Appserv install
Appserv installAppserv install
Appserv install
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เว็บสำเร็จรูป
เว็บสำเร็จรูปเว็บสำเร็จรูป
เว็บสำเร็จรูป
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ Joomla
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
Php dreamwaver
Php dreamwaverPhp dreamwaver
Php dreamwaver
 

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Blog : Wordpress

  • 1. 1 เว็บไซตงายๆ และชุมชนออนไลนดวย Blog Blog เปนคําผสมของคําวา Web และ Log โดย Log จะหมายถึงการจดบันทึก ดังนั้น Blog จึงเปนรูปแบบการจดบันทึกเนื้อหาผานเว็บไซต ที่อนุญาตใหผูอานแสดงความคิดเห็น ประกอบเนื้อหาของเราได ลักษณะจะคลายๆ กับ Web board แตโดยมาก Blog จะมีเนื้อหา เฉพาะมากกวา Web board การสราง Blog การสราง Blog ไมใชเรื่องยาก ปจจุบันมีทั้งบริการฟรีบนเว็บ เชนเว็บไซต http://blogger.com หรือ http://blog.com รวมทั้ง http://wordpress.com และ http://www.blogetery.com ที่อนุญาตใหผสนใจสมัครสมาชิกและสราง blog สวนตัวได โดยที่ ู เว็บไซตทั้ง 2 เว็บนั้นก็ใชซอฟตแวรตวเดียวกัน หรือจะดาวนโหลดซอฟตแวรมาสราง blog ที่ ั Server เองก็สามารถทําได ซึ่งซอฟตแวรที่ใชนั้นก็อยูในกลุม Open Source เชน http://wordpress.org ที่อนุญาตใหดาวนโหลดโปรแกรมมาติดตั้งที่เครื่องของเราเองเพื่อสราง blog ไดตามตองการ จําลองเครื่องเปน Server ดวย Appserv หลายๆ ทานที่สนใจใชงาน Wordpress คงมีปญหาเกี่ยวกับพื้นที่บริการเว็บ (Web Hosting )เนื่องจากตองอาศัยเครื่องแมขายเว็บ (Web Server) ที่ติดตั้งโปรแกรมภาษา PHP ฐานขอมูลMySQL แตปญหานี้หมดไปไดโดยการจําลองเครื่องพีซีธรรมดาใหเปนเครื่องแมขาย เว็บแบบจําลอง ทั้งนี้โปรแกรมจําลองเครื่องพีซีเปนเครื่องแมขายเว็บจําลอง มีหลายโปรแกรม เชน XAMPP หรือ AppServ ทั้งนี้โปรแกรมที่จะแนะนําในเอกสารคูมือนี้คือ AppServ โปรแกรม  สําเร็จรูปที่ประกอบดวยโปรแกรมจําลองเครื่องแมขายเว็บ Apache โปรแกรมจัดการฐานขอมูล MySQL และโปรแกรมแปลภาษา PHP ไวดวยกัน รุนปจจุบันดาวนโหลดไดที่เว็บไซต http://www.appservnetwork.com บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 2. 2 ไฟลที่ดาวนโหลดมาได คือ appserv-win32-2.5.9.exe เมื่อดับเบิลคลิกจะปรากฏสวน ติดตั้งโปรแกรม ดังนี้ จากจอภาพตอนรับการติดตั้ง AppServ ใหคลิกปุม Next เพื่อเขาสูสวนลิขสิทธิ์ บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 3. 3 คลิก I Agree เพื่อยอมรับลิขสิทธิ์การใชงานเชนกัน จอภาพถัดไปคือระบุไดรฟ และโฟลเดอรสําหรับติดตั้ง Appserv โดยโปรแกรม กําหนดไวที่ไดรฟ C โฟลเดอร AppServ ใหคลิก Next เพื่อยอมรับการกําหนดไดรฟและ โฟลเดอร บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 4. 4 สวนนี้เปนการเลือกวาจะติดตั้งโปรแกรมใดบาง กรณีนี้ใหคลิกเลือกทุกรายการ แลว คลิกปุม Next บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 5. 5 สวนสําคัญในการติดตั้ง คือ 1. การระบุชื่อเครื่องแมขายเว็บ (Server Name) กรณีที่เปนการติดตั้งจําลองมักจะ ระบุเปน localhost (สําหรับการติดตั้งจริง จะตองสอบถามจากผูดูแลเครื่องแม ขายเว็บโดยตรง) 2. การระบุอีเมลของผูดูแล (Administrator’s Email Address) 3. การระบุหมายเลขชองทางติดตอ (Apache HTTP Port) มักจะระบุเปนเลข 80 1. กําหนดรหัสผานของการเขาถึงฐานขอมูล MySQL ในรายการ Enter root password และระบุซ้ําในรายการ Re-enter root password 2. เลือกรหัสภาษาไทยใหถูกตองตามคากําหนดของเครื่องแมขาย กรณีนี้ควรระบุ เปน UTF-8 Unicode หรือ TIS-620 (ตามขอกําหนดของเครื่องแมขายเว็บ) Account ชุดแรกที่ตองจําคือ Account ควบคุมฐานขอมูล MySQL โดย UserName คือ root Password คือ .............................................. บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 6. 6 เมื่อระบุคาเกียวกับการเขาถึงฐานขอมูล MySQL แลวใหคลิกปุม Install เพื่อเริ่มติดตั้ง ่ โปรแกรมตางๆ ของ AppServ จอภาพแสดงผลเมื่อการติดตั้งสมบูรณ บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 7. 7 คลิกเลือก Start Apache และ Start MySQL เพื่อใหโปรแกรมทั้งสองทํางาน จากนั้น คลิกปุม Finish เพียงเทานีก็เสร็จสิ้นการติดตั้ง AppServ ซึ่งสามารถทดสอบไดโดยเปด ้ เว็บเบราวเซอร จากนั้นพิมพคําสั่ง http://localhost หรือ http://127.0.0.1 บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 8. 8 ติดตั้ง Worpress พีซีธรรมดาไดถูกจําลองเปนเครื่องแมขายเว็บแลว ตอนนี้ก็ถึงเวลาทีจะติดตั้ง Joomla ่ เพื่อเนรมิตเว็บไซตภายในไมกี่นาที โดยเริ่มจากดาวนโหลดโปรแกรม Wordpress 2.8 รุนลาสุด (2.8 ณ วันที่ 22 มิถุนายน 2552) จากเว็บไซต http://www.wordpress.org เลือกเวอรชันที่ตองการ ไฟลที่ดาวนโหลดมาไดคือ wordpress-2.8.zip ใหแตกไฟลซึ่งจะไดโฟลเดอรชื่อ wordpress บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 9. 9 ซึ่งไฟลทั้งหมดในโฟลเดอรดังกลาวคือไฟลตนฉบับของ Wordpress ใหคัดลอก โฟลเดอรนี้ ไปไวที่โฟลเดอร www ของ AppServ แลวเปลี่ยนชื่อโฟลเดอรตามตองการ เชน ถา ตองการสรางเว็บไซตของตนเอง ก็ใชชื่อตัวเปนชื่อโฟลเดอร หรือเว็บหนวยงาน ก็อาจจะใชชื่อ ยอของ หนวยงานเปนชื่อโฟลเดอร (ตัวอยางขอใชชื่อ wordpress) บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 10. 10 สรางฐานขอมูล ตอนนี้ก็พรอมจะติดตั้ง Wordpress แตกอนที่จะติดตั้ง wordpress ไดนั้นจะตองมีการ สราง ฐานขอมูลขึ้นกอนเพือใหในระหวางติดตั้งโปรแกรมจะสรางตารางใหในฐานขอมูลนี้ ซึ่งมี ่ วิธีการโดยเปดเบราวเซอร แลวพิมพคําสัง http://localhost/ ่ คลิกที่รายการคําสั่ง phpMyAdmin Database Manager Version 2.10.2 ปอน Username และ Password ที่ไดสรางจากการติดตั้ง Appserv บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 11. 11 สรางชื่อฐานขอมูลเพื่อใชในการติดตั้ง ชื่อฐานขอมูลที่ไดสรางขึ้น บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 12. 12 ติดตั้ง Wordpress เมื่อสรางชื่อฐานขอมูลแลวก็จะเขาสูการติดตั้ง Blog โดยเริ่มจากการเปดเบราวเซอร แลวใหพิมพที่ Address Bar ดวยคานี้ http://localhost/wordpress (ชื่อโฟลเดอรที่ไดสรางไว และมีการคัดลอกโปรแกรม Worpress ไปไวในขั้นตอนกอนหนานี้) คลิกที่ปุม Create a Configuration File หนาจอยินดีตอนรับ ใหคลิกปุม Let’s go! เพื่อเขาสูการติดตั้ง บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 13. 13 ปอนรายละเอียดตางๆ เพื่อใชในการติดตัง Blog ้ • Database ชือฐานขอมูลทีไดสรางไวกอนหนานี้ ในทีนี้ใหใชคําวา wordpress ่ ่ ่ • UserName ชื่อที่ใชในการติดตอฐานขอมูล (ผูดูแลระบบจะเปนผุแจงใหในกรณีที่ตดตั้ง ิ บนเครื่องแมขาย) ในที่นี้ใชคําวา root  • Password รหัสผานที่ใชคกับ UserName ขึ้นกับตอนติดตั้ง Appser วาไดตั้งคาวา ู อะไร • Database Host ชื่อ Host (ขึ้นอยูกับเครืองแมขายนั้นวาใชชื่อวาอะไร) ในที่นี้ใชคาวา ่ ํ localhost • Table Preflx ชื่อนําหนาฐานขอมูลแตและตาราง เมื่อตั้งคาทุกอยางเรียบรอยแลวใหคลิกปุม Submit เพือเขาสูขั้นตอไป  ่ บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 14. 14 เขาสูหนาจอติดตั้งฐานขอมูลเพื่อใหสามารถใชงาน Blog ได หากไมขึ้นหนานี้แสดงวา ขั้นตอนกอนหนานี้จะตองมีอะไรผิด เชน ชื่อที่ใชงานการติดตอฐานขอมูลไมถูกตอง หรือยังไมได สรางชื่อฐานขอมูล เปนตน กรอกชื่อ Blog และ อีเมลทใชในการติดตอ เมื่อกรอกรายละเอียดเรียบรอยแลวใหคลิก ี่ ปุม Install Wordpress บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 15. 15 ระบบจะแจง Username และ Password ที่ใชในการเขาระบบครั้งแรก เมื่อได UserName และPassword แลวแนะนําใหรีบเปลียน Password เปน รหัสผานที่คณจําได ่ ุ เขาสูระบบดวยปุม LogIn บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 16. 16 หนาจอเมื่อเขาสูระบบเรียบรอย ซึ่งใหสังเกตขอความทีอยูในกรอบสีแดง โปรแกรมจะ ่ แนะนําใหรีบแกไขรหัสผานซึ่งสามารถเขาไปแกไขดวยคําสั่ง Yes, Take me to my profile page แตหากไมตองการแกไขใหตอบ No Thanks, Do not remind me again บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 17. 17 ปอนรหัสผานใหมพรอมทั้งยืนยันรหัสผาน โดยรหัสผานที่คุณแกไขโปรแกรมจะมีคํา เตือนมาใหวางายตองการคาดเดาหรือยาก เมื่อแกไขเรียบรอยแลวใหคลิกปุม Update Profile ก็จะไดรหัสผานใหมที่คุณจําไดงายกวาที่ระบบสรางใหแลวนะครับ บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 18. 18 สราง Blog ที่ Wordpress.com ในการสราง blog ดวยโปรแกรม Wordpress นั้นหากเครื่องเราไมพรอมที่จะจําลอง เครื่องเปน Server นั้นหรือไมมีความพรอมดาน Server เราก็สามารถที่จะติดตั้ง Blog ได ดวย การไปฝากไวที่ wordpress.com ไดเลยซึ่งการติดตั้งก็ไมยาก ซึ่งจะมีขั้นตอนดังนี้ • เขาเว็บไปที่ www.wordpress.com • คลิกปุม Sign Up Now! บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 19. 19 • กรอกรายละเอียดตางๆ ที่ใชเปนขอมูลในการลงทะเบียน โดยขอมูลที่กรอกจะตอง เปนขอมูลจริง โดยเฉพาะอีเมล เนื่องจากจะตองยืนยันตัวตนจริงผานทางอีเมล และ คลิกปุม Next • เมื่อลงทะเบียนผานแลวทาง wordpress.com จะแจงใหทราบวา URL ที่ใชเรียกเขา เว็บไซตคือ URL อะไร และมีชื่อเว็บไซตวาอะไร สามารถเปลี่ยนภาษาเปนภาษาที่  ตัวเองถนัดไดที่รายการคําสัง Language เมื่อตั้งคาเรียบรอยแลวใหคลิกปุม Signup ่ บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 20. 20 • เมื่อผานขั้นตอนเมื่อกี้แลวโปรแกรมจะใหเราไปเช็คเมลวามีเมลจาก wordpress.com หรือไมโดยเนื้อหาในเมลจะมีตามภาพ เมื่อไดรับเมลแลวใหคลิกที่ URL ที่ทาง wordpress ไดแจงมา เพื่อเปนการยืนยันวาเราจะใชงานเว็บไซตนี้ • โดย URL ที่เราคลิกไปนั้นทาง wordpress.com จะแจง Username และ Password ใหหากขึ้นหนาจอนี้แสดงวาการติดตั้งสําเร็จคุณมีเว็บไซตเรียบรอยแลว • ลองเขาสูระบบดวย Username ที่ทางระบบแจง บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 21. 21 • เมื่อ Login สําเร็จจะไดหนาจอดังนี้ ซึ่งหนาจอนี้เปนหนาจอ BackEnd • สวนหนาจอเว็บไซตก็เรียบผาน URL ที่ไดแจงไวกอนหนานี้ ซึ่งปกติจะเปน http://username.wordpress.com ตัวอยางนี้ก็คือ http://boonkiat00007.wordpress.com บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 22. 22 รูจักกับสวนตางๆ ของ Wordpress เว็บไซตตัวอยางของ Wordpress ไดติดตังเรียบรอยแลว การเขาสูเว็บไซตเมื่อติดตั้ง ้ เรียบรอยแลวทําไดโดยพิมพ URL ดังนี้ http://localhost/ชื่อโฟลเดอร หรือ http://127.0.0.1/ชื่อ โฟลเดอร ตัวอยาง http://localhost/wordpress โดยรายละเอียดของหนาเว็บคงไมมีอะไรมากไว ใชในการแสดงผล • เนื้อหา คือ ขาวหรือความรูที่ผูเขียน Blog ตองการนําเสนอโดยเนื้อหาของใหมจะอยูขาง  บนสุดเสมอ • เมนูอื่น คือ ปุมเครื่องมือที่ใหเขาถึงเนื้อหาไดโดยงาย ผานทาง Categories เปนตน • เมนูเขาสูระบบ คือ เมนูที่ไวเขาไปใสเนื้อหาหรือจัดการระบบ บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 23. 23 เขาสูระบบ BackEnd ในการจัดการเนื้อหาตางๆ หรือจัดการระบบเราจะตองเขาสูระบบทีเรียกกันทั่วไปวา BackEnd โดยในการเขามาที่ระบบนีไดนั้นก็มี 2 วีธี คือ ้ 1. ผานทางเมนูหนาเว็บในสวนที่มีคําวา Meta จะมีคําวา Login อยูใหคลิกที่คําสั่งนี้แลว โปรแกรมจะใหใส UserName และPassword 2. เขาโดยการพิมพ URL ที่ Address Bar ดวยคําวา http://localhost/wordpress/wp- login.php ก็จะสามารถเขาสูระบบไดเหมือนกัน ในกรณีสวนใหญจะใชตอนที่รายการ คําสั่ง Meta หายไปคือมีการปรับแตงหนาเว็บแลวลืมใสเขามาดวย หรือเปลี่ยน Template แลว Template นั้นไมมีคําสั่งนี้มาให เปนตน บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 24. 24 สวนตางของระบบ BackEnd เมื่อเขาสูระบบไดแลวจะปรากฎหนาหลักโดยในหนานี้จะบอกรายละเอียดทั้งหมดของ เว็บวาตอนนีมีบทความแลวกี่บทความ มี comment แลวกี่ comment และหากตองการใสเนือหา ้ ้ อยางรวดเร็วก็สามารถใสไดที่หนาจอนี้ ซึ่งสวนตางๆ ของหนาจอนี้มีอะไรบางซึ่งหนาจอนี้จะ เรียกวา Dashboard ในตอนนี้เรามาทําความรูจักสวนสําคัญๆ กันหนอย โดยขอเริ่มจาก 1. Right Now เปนสวนที่แสดงวาเนื้อหาตอนนี้ทั้งหมดเทาไหรโดยแบงเปน Post, Page, Category เปนตน ซึ่งหากตองการแกไขเนื้อหาไหนหรือตองการดูเนื้อหาทั้งหมดใหคลิก ที่ตวเลขที่ปรากฏก็จะเขาสูหนาจอแสดงเนื้อหาทั้งหมด อีกทั้งในสวนนี้ยังสามารถ ั  เปลี่ยนหนาจอเว็บไซตไดดวยปุม Change Theme บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 25. 25 2. QuickPress เปนสวนที่ไวใสเนื้อหาแบบ Post อยางรวดเร็วโดยใสแคชื่อเรื่อง (Title), เนื้อหา (Content), คําคน (Tag) และเมื่อใสเนื้อหาเรียกรอยแลวก็สามารถคลิกปุม Publish เพื่อนําเสนอผานเว็บไซตไดเลย 3. Recent Comments เปนสวนที่แสดงวาตอนนี้มีคนมา Comments อะไร ซึ่งเราสามารถ ที่จะจัดการ comments ไดวาจะใหเผยแพรหรือไม หรือที่เรียกวาการอนุมัติให comments นี้แสดงผลหรือไมนั่นเอง เพราะหากเปนขอความที่ไมเหมาะสมและได เผยแพรกอนที่จะมีการอนุมัติก็ทําใหเว็บเราผิดกฎหมายไดหากเนื้อหานั้นไปโจมตีใคร หรือมีขอความที่ผิดกฎหมายขึ้นไปแสดง 4. Recent Drafts เปนสวนที่แสดงวาตอนนีมีเนื้อหาที่ได Save Drafts ไวคําวา Save ้ Drafts คือเนื้อหาที่เขียนนันยังไมเสร็จและยังไมเผยแพรไมวาจะดวยสาเหตุใดก็ตามที่ ้ ยังเขียนไมเสร็จ ซึ่งระบบก็ยอมใหมี Save Drafts เพื่อตรวจสอบเนื้อหากอนที่จะ Publish โดยจะแสดงใหเห็นวามีเนื้อหาอะไรบาง ซึ่งหากไมแสดงอาจจะทําใหคนที่เขียน ลืมไดวาตอนเราไดเขียนอะไรไป เปนการเตือนความจําไดอีกวิธีหนึ่ง บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 26. 26 5. เมนูตางๆ เปนเมนูที่ใชในการจัดการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • Posts จัดการเนื้อหาที่เขียนขึ้นดวยการ Posts • Media จัดการสื่อภายนอกที่ตองการ upload เขาระบบ • Links จัดการดานเว็บลิงก • Pages จัดการเนื้อหาที่เขียนขึ้นดวย Pages • Comments จัดการกับความคิดเห็นที่เขามา • Appearance จัดการดานเมนูตางๆ และหนาตางเว็บไซต • Plugins จัดการโปรแกรมเพิ่มเติมเชน ใหมี Poll ดวย • Users จัดการเกี่ยวกับผูใช เพิ่มหรือลบ • Tools เครื่องมือที่ชวยเพิ่มความสามารถใหกับเบราวเซอร • Settings ตั้งคาระบบตางๆ 6. สวนอื่นๆ เปนสวนที่แจงขาวจากเว็บไซตวามีอะไรใหม หรือมีการปรับปรุงโปรแกรม ซึ่ง หากไมตองการสามารถปดไดดวยปุมเครืองมือที่ชื่อวา Screen Options โดยที่รายการ ่ ไหนไมอยากใหแสดงก็ใหเอาเครื่องหมายถูกออก บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 27. 27 สรางเนื้อหา ในการสรางเนื้อหานั้นจะมี 2 แบบคือ Pages และ Posts ซึ่งความแตกตางระหวางการ เขียนทั้ง 2 แบบคือ ถาเปน Pages จะเปนเนื้อหาที่ไมคอยเคลื่อนไหว และในการเขาถึงเนื้อหา จะผานทางเมนู สวน Posts นั้นจะเปนเนื้อหาที่มีการ Update ตลอดเวลา และในการเขาถึง เนื้อหาผานทางหนาเว็บ หรือผานทาง Category เปนตน เขียนเรื่องราว การเขียนเนื้อหานั้นสามารถทําไดที่หนา Dashboard ในสวนของ QuickPress เมื่อใส รายละเอียดตางๆ แลวก็ใหกดปุม Publish แตหากเนื้อหาที่ตองการนําเสนอยังไมเสร็จแตไม อยากมาเขียนใหมใหคลิกปุม Save Draft จะเปนการบันทึก Draft ไวกอนรอกลับมาแกไขอีก  ครั้ง • Title ชื่อเรื่อง • Content เนื้อหาที่แบบระบเอียด • Tags คําคน หรือ คําที่ใชในการกํากับเนื้อหานี้ • Publish ปุมสําหรับเผยแพรผานหนาเว็บ เนื้อหาที่เขียนในสวนนี้ โปรแกรมไดอํานวยความสะดวกในการใสเนือหาอยางรวดเร็ว ้ แตสังเกตเห็นนะครับวาเครืองมือในสวนนี้จะไมคอยมีเครื่องมือใหปรับแตงอะไรมากนักซึ่งหาก ่ จะเพิ่มตารางหรือเปลี่ยนสีของฟอนตจะไมสามารถทําไดเพราะฉะนันเครื่องมือในสวน ้ QuickPress จะเหมาะแกการใสเนื้อหาอยางรวดเร็ว หากจะปรับแตงใหสวยจะตองคลิกที่ เครื่องมืออื่น บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 28. 28 เขียนเนื้อหาผานปุม New Post ในการเขียนเนื้อหาที่ตองการเครื่องมือเพิ่มเติมนั้นจะตองใชปุม New Post ในการเขียน ซึ่งจะมีเครื่องมือใหเราปรับแตงไดมากขึ้นไมวาจะเปนการใสตาราง เปลี่ยนสีฟอนต หรือใส link ใหกับขอความ เปนตน ก็ตองเขามาทํางานในสวนนี้ แมกระทั่งคนทีถนัด HTML ก็จะตองเขามา  ่ เขียนในโหมด HTML ซึ่งจะมีเครื่องมือใหดวย โดยปุมนี้จะอยูที่ดานบนของหนา Dashboard เมื่อคลิกที่ปุม NewPost แลวจะไดหนาจอดังนี้ จะเห็นนะครับวามีรายการคําสั่งใหเรากรอกเยอะมา แตในการใสเนื้อหาจริงๆ จะใสไมกี่รายการ แบงเปนสวนๆ ไดดังนี้ บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 29. 29 บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 30. 30 อัพโหลดไฟล ในการใสเนื้อหาบางครั้งไมไดแสดงแคขอความเทานัน อาจจะมีภาพประกอบหรือ วีดีโอ ้ ประกอบเนื้อหาที่เราใสเขาไป ซึ่ง Wordpress ก็ไดเตรียมปุมที่ใชในการอัพโหลดไฟลเขาระบบ เพื่อดึงมาแสดงผลโดยปุมที่จะแนะนําตอไปนี้ก็คือปุมที่ชื่อวา Upload/Insert ประกอบไปดวยปุม Add an Image ใสภาพ Add Video ใสวีดีโอ (ขึ้นอยูกับ Server วาอนุญาตใหใสหรือไม) Add Audio ใสเสียง (ขึ้นอยูกับ Server วาอนุญาตใหใสหรือไม) Add Media ใสสื่อรูปแบบอื่นๆ ขั้นตอนการใสภาพในเนื้อหา • ใหวางตําแหนงเคอรเซอรตรงจุดที่ตองการนํารูปภาพ • คลิกที่ปุม Add an Image จะไดหนาจอดังภาพ • คลิกปุม Select Files เพื่อเลือกภาพที่ตองการนํามาแสดง แลวคลิกปุม Open หรือจะ  ดับเบิลคลิกทีรูปภาพก็ได ่ • ระบบจะทําการโหลดภาพนี้ขึ้น Server รอจนครบ 100% บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 31. 31 • เมื่อครบ 100% โปรแกรมจะแสดงภาพที่ไดนําเขาระบบ • กรอกรายละเอียดของภาพ • เลือกตําแหนงของภาพวาจะใหอยูตรงไหนดวยคําสั่ง Alignment • กําหนดขนาดของภาพที่ใชในการแสดง • คลิกปุม Insert into Post หากตองการนําภาพนี้ไปแสดง บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 32. 32 • ในสวนการอัพโหลดไฟล วีดีโอหรือไฟลเสียงนั้นก็ใชหลักการเดียวกับการอัพโหลดไฟล ภาพ แตการจะนํา วีดีโอหรือไฟลเสียงมาใชงานไดนั้นก็ขึ้นอยู Server ดวยวาอนุญาต หรือไม หากอนุญาตก็ตองติดตั้ง Plugin เพิ่มเติมเพื่อใหสามารถแสดงผลได เพิ่มหมวดหมูเนือหา ้ เมื่อเราใสเนื้อหาเรียบรอยแลวไมวาจะมีภาพประกอบหรือไมมีก็ตาม เมื่อเขียนเสร็จแลว เราจะตองใสหมวดหมูใหกับเนื้อหาดวยเพื่อใหคนหาเนื้อหาไดงายและมีการจัดกลุมวาเนื้อหานี้  อยูหมวดไหน ซึ่งมีวิธีการดังนี้ • ไปที่มุมลางขวาของหนาจอใสเนื้อหาจะปรากฏภาพนี้ • เลือก Categories ที่เกี่ยวกับเนื้อหา • หากไมมีหมวดเนื้อหาที่ตองการสามารถเพิ่มเติมไดจากคําสั่ง +Add New Category • ใสหมวดใหมและคลิกปุม Add บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 33. 33 • หมวดใหมที่ไดเพิ่มก็จะแสดงใหเลือกวาเนื้อหานี้อยูในหมวดไหนโดยที่เนื้อหาหนึ่งเรื่อง อาจจะมีไดหลายหมวดหมูก็ไดซึ่งโปรแกรมยอมใหเลือกหลายๆ หมวด ใส Tag คําคน Tag คือ คําสั้นๆ สองสามคํา ที่เอาไวอธิบายวาเราเขียนเรื่องอะไร โดยพอใสไปแลว Tag ของเราจะไปปรากฏใตเนื้อหาที่เราเขียน ขั้นตอนในการใส Tag มีวิธีการดังนี้ • หากรอบคําวา Post Tags • กรอก Tag ที่เกี่ยวกับเนื้อหารูปแบบในการใส Tag ใหพิมพคําที่ 1 แลวคั่นดวยคอมมา ไปเรื่อยๆ เชน blog, wordpress, book เปนตน หรือจะใสทละคําแลวกดปุม Add ที่ละ ี่ คําก็ได ก็จะไดผลเหมือนกับการใสคอมมาเอง • ตัวอยางการแสดงผลของ Tag บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 34. 34 เผยแพรผานเว็บไซต เมื่อเราไดใสเนื้อหา เพิ่มหมวดหมู ใส Tag เรียบรอยแลวก็จะตองนําเนื้อหาที่เราใสไป เผยแพรผาน Blog ดวยปุมงายๆ ที่มีอยูวา Publish แตหาเนื้อหาที่เขียนไปยังไมอยากเผยแพร  หรือเนื้อหาตองมีการปรับปรุงก็สามารถที่จะ Save Draft ไวกอนรอเนื้อหาสมบูรณกอนจึงจะ Publish ก็ได หรือบางทานอยากจะดูตัวอยางเนื้อหาที่แสดงก็สามารถคลิกทีปุม Preview ก็ได ่ เหมือนกัน หลังจากที่ไดกดปุม Publish แลวนั้นเนื้อหาที่แสดงนั้นจะแสดงที่เนื้อหาแรกของเว็บ Blog นี้ ในการจะไปดูเนื้อหาหนาเว็บนั้นใหคลิกที่คําสั่ง View Post บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 35. 35 ภาพแสดงเนื้อหา บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 36. 36 ภาพแสดงเนื้อหาในหนาแรกของเว็บไซต บุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ