SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
Descargar para leer sin conexión
ตนวิจัย ใบเศรษฐกิจ ผลิตผลสังคม : สวทช. รวมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
(พ.ศ. 2556)/ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ -- ปทุมธานี:
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2556.
56 หนา : ภาพประกอบ
1. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ -- ผลงาน I.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ II. ชื่อเรื่อง
Q10 506
ต้นวิจัย ใบเศรษฐกิจ ผลิตผลสังคม :
สวทช. ร่วมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ (พ.ศ. 2556)
โดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
เอกสารเผยแพร
พิมพครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2556
จำนวน 2,500 เลม
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2556 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
ไมอนุญาตใหคัดลอก ทำซ้ำ และดัดแปลง สวนใดสวนหนึ่งของหนังสือเลมนี้
นอกจากจะไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากเจาของลิขสิทธิ์เทานั้น
Copyright©2013 by:
National Science and Technology Development Agency
Ministry of Science and Technology
จัดทำโดย
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย
ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
โทรศัพท 0 2564 8000 โทรสาร 0 2564 7002-5
http://www.nstda.or.th
ออกแบบโดย
งานออกแบบ ฝายสื่อวิทยาศาสตร
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
สวทช. รวมกับหนวยงานพันธมิตรหลายสถาบัน
นำวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเขาไปชวยแกปญหาที่เกิดขึ้นในทุกๆ จุด
ของเสนทางการผลิตขาวไทย ตั้งแตการผลิตเมล็ดพันธุขาวหลากหลาย
สายพันธุที่รับมือกับภัยสารพัดได เชน ขาวหอมชลสิทธิ์ทนน้ำทวม
(ไดแจกจายเมล็ดพันธุ และใหความรูในการผลิตเมล็ดพันธุแกเกษตรกร
จำนวน 260 ครอบครัว ใน 7 จังหวัด ไดแก ชัยนาท อยุธยา อางทอง
พิจิตร อุตรดิตถ ลำปาง และสระบุรี) ขาวเหนียวธัญสิรินตานทานโรคไหม
(ไดแจกจายเมล็ดพันธุและใหความรูในดานการผลิตเมล็ดพันธุแก
เกษตรกรจำนวน 650 ครอบครัว ใน 9 จังหวัด ไดแก เชียงใหม
เชียงราย ลำปาง นาน ชัยภูมิ สกลนคร นครพนม หนองคาย และบึงกาฬ)
เปนตน
ระหวางการปลูก ก็มีชีวภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ชวยกำจัดโรคและแมลงศัตรูขาว เชน เชื้อแบคทีเรียควบคุมโรค
กาบใบแหงของขาว อีกทั้งยังมีโปรแกรมเครื่องวัดสีใบขาว เพื่อดูวา
ตนขาวตองการธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียมหรือไม ใชไดงายผาน
สมารทโฟน
สวทช. กับภารกิจ "ข้าว"
กล่องดวงใจของคนไทย
น
นในทกๆ จด
98
พืชพันธุ์ธัญญาหาร
เมื่อถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยว ก็มีเครื่องจักรกลการเกษตร
ประสิทธิภาพสูง แตมีราคาที่เกษตรกรเปนเจาของไดมาชวยแบงเบา เชน
เครื่องสีขาวขนาดเล็ก เครื่องพรวนจอบหมุนสำหรับติดกับรถแทร็กเตอร
หรือแมแตเซ็นเซอรวัดความชื้นของเมล็ดขาว
นอกจากนี้ ยังไดวิจัยและพัฒนาการแปรรูปขาวไทยไปเปน
ผลิตภัณฑตางๆ เชน แปงขาวที่ทนยอยตอเอนไซม ที่มีคุณสมบัติ
เทียบเทาเสนใยอาหาร สามารถชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคตางๆ ได
สารเคลือบผลไมจากไขรำขาว หรือขาวเคลือบเพื่อสุขภาพ ซึ่งนอกจาก
ชวยเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑจากขาวไทยแลว ยังดีตอสุขภาพและ
สิ่งแวดลอมดวย
ในสวนที่เกี่ยวกับการสงออกขาว สวทช. ไดรับความไววางใจ
จากกระทรวงพาณิชยใหนำเทคโนโลยีเครื่องหมายโมเลกุล มาใชในการ
รับรองขาวหอมมะลิที่ผลิตเพื่อการสงออก นับเปนอีกทางหนึ่งที่ชวย
ยกระดับรายไดใหกับเกษตรกรไทย
หัววัดความชื้นสำหรับ
ขาวเปลือกรุนใชกับ
ไซโลอบขาว (ยื่นจดสิทธิบัตรแลว)
หัววัดความชื้นสำหรับขาวเปลือกรุนแบบมือถือ
1110
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
กรมการขาว กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สถาบันสิ่งแวดลอมไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลำปาง
บริษัท ปูนซิเมนตไทย จำกัด ฟารมโชคชัย สหกรณการเกษตรผักไห จำกัด
สหกรณการเกษตรทาเรือ จำกัด สหกรณการเกษตรบางบาล จำกัด
สหกรณการเกษตรสรรพยา จำกัด สหกรณการเกษตรสรรคบุรี จำกัด
สหกรณการเกษตรวัดสิงห จำกัด สหกรณการเกษตรสามโก จำกัด มูลนิธิฮักเมืองนาน
ศูนยการเรียนรูโจโก สวนราชการในพื้นที่ที่เกี่ยวของ เชน เกษตรจังหวัด เกษตรอำเภอ
องคการบริหารสวนตำบล องคการบริหารสวนจังหวัด สำนักงานเกษตรอำเภอ เปนตน
สวทช. พัฒนานวัตกรรม
ประเทศไทยสงออกยางเปนอันดับที่ 1 ของโลก ซึ่งใน
กระบวนการการผลิตยางมีความซับซอนมาก สวทช. ไดรวมกับเครือขาย
หนวยงานพันธมิตร พัฒนางานวิจัยและเทคโนโลยีเกี่ยวกับยาง เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตยางในทุกขั้นตอน ตั้งแตระดับ
เกษตรกรจนถึงผูประกอบการในโรงงาน โดยในขั้นตอนการเก็บน้ำยาง
สวทช. ไดพัฒนา สารรักษาน้ำยางแบบใหมเรียกวา TAP ซึ่งนอกจากจะ
รักษาน้ำยางไมใหเนาเสียไดนานขึ้นแลว ยังทดแทนการใชแอมโมเนีย
ที่เปนสารอันตรายทำใหเกิดการระคายเคืองตอปอดของเกษตรกรดวย
สำหรับกระบวนการสกัดน้ำยางในโรงงาน ในสวนของน้ำทิ้ง
ที่ยังมีเศษเนื้อยางเล็ดลอดออกมาจำนวนมาก สวทช. ไดคิดคน
สาร GRASS 0 มาดักน้ำยางจากน้ำทิ้ง ทำใหไดน้ำยางมากกวาเดิม
ชวยเพิ่มมูลคายางไดอีกมหาศาล อีกทั้งยังสามารถนำมาใชทดแทน
กรดซัลฟวริกที่เปนอันตรายดวย นอกจากนี้ยังคิดคน สาร GRASS 2
และ GRASS 3 เพื่อดักน้ำยางที่เหลือจากโรงงานในดานอื่นๆ อีก เชน
น้ำยางจากการลางถัง และขี้แปงน้ำทิ้ง ทำใหนอกจากไดยางและน้ำทิ้งแลว
ยังไดสารผสมซึ่งเปนปุยฟอสเฟต สำหรับนำไปโรยรอบโคนตนยางเปน
ปุยหมุนเวียนได และที่สำคัญน้ำทิ้งที่ไดยังนำเวียนกลับมาใชผลิตกาซ
มีเทน เปนพลังงานชีวภาพใชในโรงงานอีกดวย
ในป 2555 สวทช. ไดถายทอดเทคโนโลยีดังกลาวใหแก
ภาคเอกชนจำนวนหนึ่ง ทำใหกระบวนการผลิตยางสามารถดึงเนื้อยาง
กลับมาได 25% หรือประมาณ 1,700 ตันตอป โดยเนื้อยางที่ไดมี
คุณภาพดีและนำไปใชประโยชนไดทันที เกิดผลทางเศรษฐกิจเปน
รายไดกลับมาประมาณ 240 ลานบาท
1310
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
อุตสาหกรรมอาหาร เปนหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่สราง
รายไดเขาประเทศมหาศาล สวทช. ใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สราง
นวัตกรรมหลากหลายแบบในระบบอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ
ผานการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑอาหาร เชน รวมพัฒนาระบบ
การประเมินความเสี่ยงโดยใชขอมูลทางวิทยาศาสตร ซึ่งสำคัญในเวที
การคาโลก อาทิ กำหนดคาฮีสตามีนในน้ำปลาใหพอเหมาะ การพัฒนา
กลาเชื้อเพื่อลดเวลาการหมักน้ำปลา ชวยใหการสงออกน้ำปลาของไทย
เติบโตสูงขึ้น การประเมินความเสี่ยงของเชื้อจุลินทรียกอโรคใน
ผลิตภัณฑแหนม เพื่อชวยเพิ่มความปลอดภัยแกผูบริโภค
นอกจากนี้ สวทช. ไดวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑผักและ
ผลไม ชวยเพิ่มความปลอดภัย ความสะดวก และสงเสริมอุตสาหกรรม
อาหารสงออก ตัวอยางผลิตภัณฑ เชน ฟลมยืดอายุผลิตผลสด ชวยยืด
อายุผักผลไมใหยาวนานขึ้น 2-5 เทา ถุงคัดกรองชวงแสง ชวยปองกัน
เพลี้ยแปงและแมลง ทำใหมะมวงมีผิวเหลืองสวย เรียบเนียน ไดราคา
ดียิ่งขึ้น
สวทช. สร้างสรรค์
1514
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
16
สวทช. ใช้ จุลินทรีย์ ดีๆ
เพือประโยชน์รอบด้าน
จุลินทรีย สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่ไมไดถูกมองขาม สวทช. นำมา
สรางสรรคเปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาตอคนและสิ่งแวดลอม นอกจาก
จัดตั้ง ธนาคารจุลินทรีย ที่เก็บรวบรวมสายพันธุจุลินทรียมากกวา
60,000 ตัวอยาง ไวใชประโยชนในงานวิจัยแลว นักวิจัยของ สวทช.
ยังรวมมือกับหลายหนวยงาน นำจุลินทรียมาใชใหเกิดประโยชนใน
แทบทุกดาน เชน การเกษตร มีผลิตภัณฑเชื้อจุลินทรียและเอนไซม
ที่เปนสารเสริมในอาหารสัตว ลดการนำเขาจากตางประเทศ มีการผลิต
ไวรัสเอ็นพีวีเพื่อควบคุมแลงศัตรูพืช ชวยลดการใชสารเคมี
สำหรับเรื่องปากทอง อาหารยอดนิยมอยาง แหนม ก็ใช
ตนเชื้อจุลินทรียชวยใหหมักไดเร็วขึ้นและปลอดภัยสูง หรือเครื่องปรุง
รสประจำครัวเรือนอยาง น้ำปลา ก็ใชเอนไซมชวยลดระยะเวลาหมัก
จาก 18 เดือน เหลือเพียง 11 เดือน เมื่อผลิตไดไวก็ขายทำกำไรได
เร็วขึ้น นอกจากนี้ใน ดานสิ่งแวดลอม ปญหาคราบน้ำมันปโตรเลียม
ที่ขจัดออกยาก ก็มี ผลิตภัณฑแบคทีเรียที่สามารถยอยสลายคราบ
น้ำมันปโตรเลียม มาชวยจัดการไดอยางสิ้นซาก ซึ่งปจจุบันบริษัท
เอกชนที่รวมวิจัยไดสงออกผลิตภัณฑดังกลาวสูตลาดตางประเทศแลว
ดานอาหาร
ดานสิ่งแวดลอม
ไวรัส เอ็นพีวี
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
17
่
19
การเพิ่มขึ้นของประชากรอยางรวดเร็ว ทำใหการแพรระบาด
และการกลายพันธุของโรคเพิ่มมากขึ้นและงายขึ้น สวทช. ใช
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สรางนวัตกรรมหลายรูปแบบ เพื่อชวยให
คนไทยมีสุขภาพดียิ่งขึ้น
สำหรับโรคไขเลือดออก สวทช. มีสวนรวมในการพัฒนา
วัคซีน และสรางผลิตภัณฑชีวภาพควบคุมลูกน้ำยุง โรคไขหวัดใหญ
สวทช. ไดคิดคนแบบจำลองทางคณิตศาสตรที่ใชคาดการณโอกาส
การระบาดเปนการลวงหนา นอกจากนี้ยังไดพัฒนาวิธีการตรวจโรค
ทางพันธุกรรม อยางรวดเร็ว เพื่อการวางแผนครอบครัว ชวยปองกัน
การถายทอดโรคทางพันธุกรรมจากพอแมสูลูก เชน โรคปากแหวง
เพดานโหว โรคโลหิตจางในบุตร วิธีตรวจทางพันธุกรรมนี้ยังใชกับ
โรคเรื้อรังดวย เชน ชวยกำหนดปริมาณยากดภูมิคุมกันใหเหมาะสม
กับผูปวยที่ปลูกถายไต การปองกันการแพยาอยางรุนแรงในผูปวย
โรคลมชักและโรคเกาท ชวยตรวจสอบความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว
ในผูปวยโรคภูมิคุมกันบกพรอง เปนตน
ตัวอยางการนำไปใชประโยชน เชน ในป 2555 มีการนำ
ผลิตภัณฑควบคุมชีวภาพลูกน้ำยุงไปแจกจายใหชุมชนที่เดือดรอน
จากปญหายุงรำคาญ และประชาชนที่ประสบอุทกภัยในพื้นที่
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
โรคทางพันธุกรรม
และโรคติดต่อ ...
สวทช. ช่วยอะไร?
18
เกิด แก่ เจ็บ ตาย
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
21
งานวิจัย สวทช. ชวย ผู้ปวย
แบบหลายมิติ
สวทช. ไดรวมกับเครือขายหนวยงานพันธมิตรวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยีใหมๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาผูปวยใหดียิ่งขึ้น และ
มีคาใชจายที่ลดลง อาทิ ทำให ผูปวยกะโหลกศีรษะยุบ ขอเขาเสื่อม
สามารถกลับมามีชีวิตเหมือนใหมไดดวยเทคโนโลยีการขึ้นรูปดวย
เครื่องพิมพสามมิติเพื่อการแพทย โดยใชเลเซอรรางแบบจากรางกายจริง
เพื่อนำไปสรางชิ้นกะโหลกหรือขอเขาเทียมไดตรงกับสรีระผูปวยแตละคน
ทำออกมาไดรวดเร็ว สวยงาม ใชเวลาผาตัดนอย ลดความเสี่ยงจาก
การติดเชื้อ ที่ผานมามีผูปวยไดรับการผาตัดจากเทคโนโลยีนี้แลวกวา 900
คน
ผูที่สูญเสียดวงตา ตายุบ ไมตองใสแวน ไมตองอายใคร สามารถ
กลับมามีชีวิตที่สดใสดวย ลูกตาเทียมแบบพอลิเอทิลีน มีรูพรุนหลอด
เลือดงอกเขาไปยังลูกตาเทียมได จึงไมเลื่อนหลุดจากเบาตาไดงายแถม
เหมือนจริง ลดอาการแพ โดยมีตนทุนการผลิตลูกละประมาณ 7,500 บาท
ขณะที่สินคานำเขามีราคาสูงประมาณ 35,000 บาท
ผูปวยโรคกระดูกอักเสบ ที่อาจตองเสี่ยงสูญเสียอวัยวะและ
เสียชีวิต สามารถรับการรักษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดีขึ้น ดวย
เทคโนโลยีวัสดุนำสงยารักษากระดูกอักเสบ เปนเม็ดกลมรอยสายผสม
ยาปฏิชีวนะ ผาตัดใสในบริเวณแผลครั้งเดียว (จากเดิมที่ตองผาถึง 10 ครั้ง)
ชวยใหยาปริมาณสูงเขาสูแผลโดยตรง ใหผลในการฆาเชื้อดี ลดการอักเสบ
ราคาถูก ผูปวยฟนตัวไดเร็ว
ผูปวยที่มีแผลไฟไหม น้ำรอนลวก หายเร็ว และลดรอยแผลเปน
ดวย ผายืดเคลือบซิลิโคนเจลรักษาแผลเปน ใชแทนการฉีดสเตียรอยด
โดยแผลขนาดนิ้วหัวแมมือ รักษาดวยสเตียรอยดใชเงิน 2,500 บาท แต
ถาใชซิลิโคนเจล จายเพียง 7 บาทเทานั้น
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
20
23
สวทช. ไดวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือคนพิการ
ตั้งแตระยะกอนเกิด ระยะพบความพิการ ระยะฟนฟูสมรรถภาพ
ไปจนถึงระยะพัฒนาศักยภาพคนพิการและผูสูงอายุ เพื่อใหสามารถ
ดำรงชีวิตในสังคมอยางเทาเทียมและมีคุณภาพ
ในการปองกันความพิการตั้งแตระยะกอนเกิด สวทช. ได
พัฒนาเทคโนโลยี ชุดตรวจคัดกรองอาการดาวนซินโดรมของทารก
ในครรภ เพื่อตรวจสอบตั้งแตในชวงตั้งครรภ ในระยะพบความพิการ
ไดพัฒนาเทคโนโลยีการขึ้นแบบอยางรวดเร็ว (Rapid Prototype)
เพื่อทำกะโหลกเทียม กรามเทียม ชิ้นสวนกระดูกเทียม เพื่อแกไขสวน
ที่บกพรองใหกลับมาเปนปกติ ในกรณีที่ผูปวย เกิดความพิการแลว
ตองทำการฟนฟูสมรรถภาพ สวทช.ไดพัฒนาอุปกรณฟนฟูสมรรถภาพ
และอุปกรณเพื่อชวยผูพิการในดานตางๆ เชน ขอเขาขาเทียมแบบ
สี่จุดหมุน (ปจจุบันไดนำไปประกอบใหคนพิการใชแลว 84 ราย ใน
7 จังหวัด กระจายทั่วทุกภูมิภาค) ขาเทียมแบบปรับอัตราหนวง
อัตโนมัติ หุนยนตเพื่อฝกการเดิน หุนยนตเพื่อฟนฟูแขน อุปกรณ
ชวยฟนฟูความจำ เปนตน นอกจากนี้ สวทช.ยังไดพัฒนาโปรแกรม
เพื่อเสริมทักษะดานการเรียนรูหรือสติปญญา โปรแกรมอานไทย
สำหรับคนตาบอดที่อาศัยการแปลงภาพเอกสารเปนขอความ เปนตน
22
24 25
เพื่อใหผูพิการสามารถพัฒนาศักยภาพและมีคุณภาพชีวิต
ที่ดีขึ้น สวทช. ยังไดพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกตาม
ประเภทความพิการ ไดแก เครื่องชวยฟงดิจิทัลแบบกลองที่มีขนาด
กะทัดรัด สำหรับผูพิการทางการไดยิน ซึ่งมีคุณภาพทัดเทียม หรือ
ดีกวาของตางประเทศ แตมีราคาถูกกวาเครื่องที่นำเขาจากตางประเทศ
ถึงกวาเทาตัว โปรแกรมสังเคราะหเสียง "วาจา" สำหรับผูพิการ
ทางการเห็น อุปกรณยกผูปวย สำหรับผูพิการทางรางกาย และ
โปรแกรมระบบภาพภาษาไทย สำหรับผูพิการทางการพูด เปนตน
สวทช. ยังมีบทบาทสำคัญในการรวมกำหนดรายการอุปกรณ หรือ
สิ่งอำนวยความสะดวกที่ผูพิการมีสิทธิไดจากรัฐตามรัฐธรรมนูญ
ใหแกหนวยงานราชการ อาทิ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที)
สำหรับในผูสูงอายุและผูพิการ สวทช. ไดพัฒนา ชุดควบคุม
อุปกรณไฟฟาและระบบแจงเหตุฉุกเฉินสำหรับชุมชน เพื่อเปด-ปด
อุปกรณไฟฟาในบาน รวมทั้งสงสัญญาณขอความชวยเหลือจาก
เพื่อนบาน หรือผูที่อยูใกลเคียงในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน เชน เจ็บปวย
หกลม ฯลฯ โดยไดนำไปติดตั้งที่ชุมชนนำรองในบางจังหวัด ไดแก
เทศบาลนครขอนแกน จังหวัดขอนแกน เทศบาลแสนสุข จังหวัด
ชลบุรี เทศบาลรังสิต จังหวัดปทุมธานี รวมทั้งชวยถายทอดความรู
ในการบำรุงรักษา และดูแลอุปกรณใหแกเทศบาลและหนวยงาน
การศึกษาในชุมชนนั้นๆ เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
วิทยาเขตขอนแกน มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรี อีกดวย ทั้งหมดนี้เพื่อรอยยิ้มและความสุขใหผูสูง
อายุและผูพิการไทย
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
27
ปจจุบันประเทศไทยพบกับ “วิกฤตพลังงาน” สาเหตุหนึ่ง
เกิดจากตองนำเขาพลังงานสวนใหญจากตางประเทศ การสรางขีด
ความสามารถในการพัฒนาพลังงานทางเลือกในหลากหลายรูปแบบ
จึงมีความสำคัญเปนอยางยิ่ง สวทช.ไดสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา
พืชพลังงานหลายชนิด เชน ปาลมน้ำมัน และ สบูดำ เพราะปลูกงาย
ใหผลผลิตสูง และสกัดผลเพื่อผลิตน้ำมันไบโอดีเซลได
สวทช.ไดพัฒนาเครื่องสกัดน้ำมันปาลมขนาดเล็ก เครื่องหีบ
น้ำมัน และเครื่องอัดกากสบูดำ ใหมีขนาดเหมาะสมกับวิสาหกิจชุมชน
ขนาดเล็ก ทำใหไดไบโอดีเซลที่ใชกับเครื่องจักรกลการเกษตร ชวย
ลดตนทุนการผลิต และเพิ่มรายไดใหเกษตรกรรวมถึงลดการขาดดุล
ดานพลังงานใหกับประเทศ
ที่ผานมา สวทช. ไดถายทอดเทคโนโลยีการผลิต “ระบบ
สกัดน้ำมันปาลมแบบไมใชไอน้ำขนาด 1 ตันผลปาลมรวงตอชั่วโมง”
ใหกับภาคเอกชนเพื่อนำไปผลิตและจำหนายตัวเครื่อง ใหกับโรงงาน
ผูผลิตน้ำมันปาลม โดยโรงงานสามารถผลิตและจำหนายน้ำมันปาลม
ดิบ (Crude Palm Oli: CPO) ไดสูงสุดเดือนละ 120 ตันหรือ 3.7
ลานบาท โรงงานรับซื้อผลปาลมลูกรวงจากเกษตรกรผูปลูกปาลม
เดือนละ 360 ตัน หรือ 0.9 ลานบาท นอกจากนี้โรงงานยังสามารถ
ขายกากปาลม เมล็ดในปาลม และทลายปาลมเปลาไดอีกดวย
26
เศรษฐกิจและพลังงาน
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
29
วิกฤตพลังงานของประเทศไทยในปจจุบันมีแนวโนมทวี
ความรุนแรงมากขึ้นทุกวัน การคนควาเพื่อหาวัสดุและวิธีการที่
เหมาะสมในการพัฒนาพลังงานทางเลือกจึงเปนโจทยวิจัยที่สำคัญ
วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เชน เศษไม แกลบ ฟางขาว มูลสัตว
ขยะอินทรีย และน้ำเสีย ตางก็เปนวัตถุดิบพลังงานทางเลือกชั้นดีได
สวทช. พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาซชีวภาพจากการยอย
สลายสารอินทรีย เริ่มตนจากระบบบำบัดน้ำเสีย ในโรงงานแปง
มันสำปะหลัง โรงงานอาหาร และโรงงานผลิตน้ำมันปาลม โรงงาน
สามารถนำกาซชีวภาพที่ได ไปใชทดแทนน้ำมันเตาไดโดยตรง และ
นำไปผลิตเปนกระแสไฟฟา เพื่อใชภายในโรงงาน หรือจำหนายสู
ภายนอกไดอีกดวย จึงชวยลดตนทุนดานพลังงาน และลดตนทุน
การบำบัดน้ำเสีย ไดประโยชนทั้งสองดานไปพรอมๆ กัน เพียงไมกี่ป
ก็คุมกับเงินลงทุนสรางอุปกรณในระบบกาซชีวภาพแบบนี้แลว
ดังเชนตัวอยางโรงงานปาลมที่ไดรับการถายทอดเทคโนโลยี
จาก สวทช. สามารถผลิตกาซชีวภาพเพื่อผลิตกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้น
มูลคาประมาณหนึ่งแสนบาทตอเดือน และใชเปนพลังงานทดแทน
มีมูลคากวาปละ 13 ลานบาท ขณะที่โรงงานอาหารมีบริษัทรับ
ถายทอดเทคโนโลยีแลว 3 บริษัท รวมมูลคาการชวยประหยัด
พลังงานและทดแทนการนำเขาสารเคมีไดมากถึง 75 ลานบาทตอป
28
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
3130
สวทช.
แปลงกาย รถอีแต๋น เป็น
“รถอเนกประสงค์รุ่นใหม่”
ไฉไลกว่าเดิม
รถบรรทุกเพื่อการเกษตรหรือ "รถอีแตน" เปนรถที่เกษตรกร
ใชบรรทุกผลผลิตจากทองไรทองนา เดิมรถอีแตนมักสรางขึ้นในโรงงาน
ในทองถิ่น โดยใชชิ้นสวนรถยนตเกาปลดระวางจากตางประเทศ ทำให
มีปญหาเรื่องมาตรฐานและความปลอดภัย อีกทั้งเสี่ยงกับอุบัติเหตุ
สวทช. ไดพัฒนาการผลิตชิ้นสวนโครงฐานรถสำคัญ 5 ชิ้นสวน
ไดแก แชชซีเฟรม (Chassis Frame) ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก
และดุมลอ ระบบสงกำลัง และระบบสั่นสะเทือน โดยใชการคำนวณ
การออกแบบตามหลักวิศวกรรมศาสตร และใชความรวมมือกับบริษัท
เอกชนตอรถอเนกประสงคนี้ขึ้น กอนสงไปในพื้นที่หมูบานตางๆ ใน
7 ตำบล เพื่อใชประโยชนเปนรถบรรทุกเพื่อการเกษตร รถขนขยะ
รถบรรทุกน้ำ นอกจากจะแกปญหาเรื่องมาตรฐานและความปลอดภัย
ไดแลว ยังชวยลดคาใชจายดานน้ำมันเชื้อเพลิงไดถึง 50%
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
37
อุตสาหกรรมการผลิตฮารดดิสกไดรฟของไทย สำคัญมากตอ
ทั้งเศรษฐกิจไทยและตลาดฮารดดิสกไดรฟของโลก ประเทศไทยสงออก
ฮารดดิสกไดรฟเปนมูลคาราว 600,000 ลานบาทตอป หรือ 10%
ของการสงออก โดยรวมของทั้งประเทศ ปจจุบันไทยไดกาวขึ้นมาเปน
ผูสงออกฮารดดิสกไดรฟอันดับหนึ่งของโลก โดยมีสวนแบงถึงรอยละ 41
ของตลาดโลก
การผลิตฮารดดิสกไดรฟในประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงอยางรวดเร็วตลอดเวลา
โดยเฉพาะระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ซึ่งตองมีความถูกตองแมนยำ
ที่สูงขึ้น เพื่อรองรับกับการผลิตฮารดดิสกไดรฟชนิดใหมที่มีความจุสูง
ขึ้นอยางมาก รวมถึงการจัดการตนทุนการผลิตที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สวทช. สนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร งานวิจัย และ
พัฒนา รวมไปถึง การถายทอดเทคโนโลยีการออกแบบและสราง
เครื่องจักรอัตโนมัติใหแกผูประกอบการไทยมาตั้งแตป 2549 เพื่อ
สรางงาน โอกาส และรายไดใหกับประเทศ ผานความสามารถในการ
แขงขันที่เพิ่มขึ้น เพื่อรักษาฐานการลงทุนของผูประกอบฮารดดิสกไดรฟ
ใหคงอยูในประเทศไทย และมีการลงทุนเพิ่มอยางตอเนื่อง นอกจากนี้
สวทช. ไดเขาไปมีสวนในการออกแบบกระบวนการผลิตใหกับผูผลิต
ฮารดดิสกรายใหญของโลก ทำใหลดคาใชจายในการลงทุนเพิ่มผลผลิต
ไดมากกวา 8 พันลานบาท
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
36
39
รับมือภัยทุกรูปแบบ
38
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
41
สวทช.
พัฒนาเทคโนโลยี
สร้างความมั่นคงของชาติ
เหตุการณความไมสงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต
ของไทยตั้งแตป 2549 เปนตนมา มีผูบริสุทธิ์ตองสูญเสียชีวิตมากมาย
จากการกอความรุนแรงและเหตุการณระเบิดที่มีไมเวนแตละวัน
ดังนั้นเพื่อรักษาชีวิตของคนชายแดนใต สวทช. จึงไดพัฒนาเครื่อง
รบกวนสัญญาณอุปกรณสื่อสาร ที-บอกซ (T-Box) เพื่อใชในการ
แกปญหาการจุดระเบิดแสวงเครื่องดวยโทรศัพทเคลื่อนที่ เครื่องควบคุม
ระยะไกลหรือวิทยุสื่อสารขึ้น โดยเครื่องมีประสิทธิภาพและคุณสมบัติ
เทียบเคียงหรือดีกวาเครื่องที่ผลิตจากตางประเทศ ที่สำคัญราคา
ถูกกวาเครื่องในลักษณะเดียวกันที่นำเขาจากตางประเทศ ถึง 2-3
เทา ทำใหประเทศประหยัดปละกวา 10 ลานบาทตอป จึงทำให
รัฐสามารถจัดสรรอุปกรณดังกลาวเพื่อนำไปใชงานไดอยางทั่วถึง
ตลอดจนทำการบำรุงรักษาไดอยางรวดเร็วทันเหตุการณ ชวยรักษา
ชีวิต ทรัพยสินของรัฐ และประชาชนในพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งยังเปนการเสริมสรางขวัญกำลังใจแกผูปฎิบัติงาน ปจจุบันมี
การกระจายเครื่องรบกวนสัญญาณอุปกรณสื่อสารเพื่อใชงานทั่ว
ประเทศกวา 100 เครื่อง
4040
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศกระทบตอชีวิตและ
ทรัพยสินของคนทั่วโลก ตลาดสินคาเพื่อสิ่งแวดลอมขยายตัวขึ้นมาก
ฉลากสิ่งแวดลอม กลายมาเปนเครื่องมือสื่อสารขอมูลสิ่งแวดลอม
ระหวางผูผลิตและผูบริโภค และเปนเงื่อนไขหนึ่งในการเลือกซื้อสินคา
สวทช. รวมกับกระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน)
และสภาอุสาหกรรม จัดทำ ฐานขอมูลวัฏจักรชีวิตของวัสดุพื้นฐาน
และพลังงานของประเทศ (Life Cycle Inventory Database, LCI)
เพื่อประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment,
LCA) ของผลิตภัณฑ และใชทำ ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon
Footprint) ซึ่งชวยสรางมาตรฐานสำหรับกฎระเบียบดานสิ่งแวดลอม
ของนานาชาติ ปจจุบันมีมากกวา 600 ผลิตภัณฑที่ใชเครื่องหมาย
คารบอนฟุตพริ้นทแลว
ภูมิอากาศโลกวิกฤติ...
นักวิทย์ สวทช. คิดทำอะไร?
4342
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
46 47
สวทช. เสริมสร้าง
ชุมชนห่างไกล ได้อย่างไร
สวทช. ถายทอดเทคโนโลยี ที่เกิดจากการคิดคนของ
นักวิจัย สวทช. และจากหนวยงานพันธมิตร/สถาบันการศึกษา เพื่อ
ยกระดับการผลิต ลดตนทุน และสรางมาตรฐานผลิตภัณฑ โดย
สนับสนุนชุมชนใหบริหารจัดการและพึ่งพาตนเองจากทรัพยากร
ในชุมชน ผานกระบวนการเรียนรูในชุมชน โดยใชศูนยการเรียนรู
ชุมชนสำหรับทั้งเกษตรกรและเยาวชน ผลลัพธที่ไดคือ คุณภาพ
ชีวิตของเกษตรกรและความเขมแข็งของกลุมวิสาหกิจชุมชนที่เพิ่มขึ้น
อยางชัดเจน
การดำเนินงานเปนแบบมี พื้นที่เปาหมาย เพื่อเปดโอกาส
ใหชุมชนอื่นเขามาเรียนรูตอไป เชน หมูบานผาคับและหมูบานผาสุก
อำเภอบอเกลือ จังหวัดนาน เปนตนแบบการใชประโยชนจากการผลิต
พืชหลังนาและการเพิ่มผลผลิตขาวไร หมูบานบอเหมืองนอยและ
หมูบานหวยน้ำผัก อำเภอนาแหว จังหวัดเลย เปนตนแบบการผลิต
สตรอวเบอรรี่และการแปรรูปผลผลิต หมูบานอุดมและหมูบานสมบูรณ
อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร เปนตนแบบการประหยัดพลังงาน
และใชประโยชจากปาหัวไรปลายนา สวนหมูบานบาลาและหมูบาน
เจะเด็ง อำเภอแวง จังหวัดนราธิวาส เปนตนแบบการพึ่งพาตนเอง
จากทรัพยากรในทองถิ่น เปนตน
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดย สวทช. ในฐานะ
ฝายเลขานุการ ไดรวมมือกับมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม
จัดทำระบบ อีดีแอลทีวี (eDLTV, Electronic Distance Learning
Television) ขึ้นเพื่อใชกับการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส (e-Learning)
ครอบคลุมเนื้อหาตั้งแตปฐมวัยถึงมัธยมศึกษา รวมถึง ปวช. และ
ปวส. โดยเนื้อหามาจากโรงเรียนวังไกลกังวล ที่ออกอากาศผาน
ระบบการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม โดยมีวิดีโอคลิปการสอนของครู
ในทุกชั้นเรียนและทุกสาระความรู รวมทั้งสไลด PowerPoint ของครู
ใบความรู และใบงาน ฯลฯ
eDLTV จึงเปนทางเลือกหนึ่งที่สะดวกมาก ในการเรียนผาน
อินเทอรเน็ต เหมาะกับโรงเรียนในชนบทที่ประสบปญหาขาดแคลนครู
หรือครูจบไมตรงวิชาที่สอน สามารถใชงานระบบดังกลาวแบบออนไลน
ไดที่ http://edltv.net หรือแบบออฟไลน โดยการติดตั้ง Server
หรือใชผาน External Hard Disk ผูใชสามารถคนหาเนื้อหาที่ตองการ
ไดภายใน 3 คลิกเทานั้น และคนหางายๆ ผาน Keyword
ปจจุบันมีการใชงาน eDLTV แบบออนไลนเฉลี่ยมากกวา
100,000 ครั้งตอเดือน โดยเปนเว็บไซตที่ไดรับความนิยมลำดับที่ 5
ในกลุม e-Learning (จากทั้งหมด 49 เว็บไซต) และกระทรวงไอซีที
ไดนำระบบ eDLTV ติดตั้งไวในเครื่องคอมพิวเตอรในศูนยไอซีทีชุมชน
เพื่อใหผูใชบริการที่ศูนยฯ สามารถเขาไปเรียนรูวิชาพื้นฐานหรือ
วิชาชีพจาก eDLTV ไดดวย
ผ่าน eDLTV
4948
ĵûĚþøĩĚÿĨċĎĪijĐĮļĤĢĩĚħđđ F-FBSOJOH
ùĤþøĩĚğĭøĠĩĎĩþķøĜēţĩĐċĩĞijĎĬęĘ
ďÜøćôñöăďÔĈõöèćďìĊėĀÚĒìđĀÔąýôþąôÚ×øďÜøćôñöăÝìôñööüą
ħğ ñööüą Ĥ ëĄìúą×ô ġĤĤğ
หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
Ĩ Ī ĮļĨ Ī Įļ - J-
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย
ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
โทรศัพท 0 2564 8000 โทรสาร 0 2564 7002-5
http://www.nstda.or.th

Más contenido relacionado

Destacado

พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserBoonlert Aroonpiboon
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...Satapon Yosakonkun
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นSatapon Yosakonkun
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์Satapon Yosakonkun
 
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneSatapon Yosakonkun
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯSatapon Yosakonkun
 
Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...
Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...
Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...Satapon Yosakonkun
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...Satapon Yosakonkun
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsSatapon Yosakonkun
 

Destacado (17)

พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015
 
Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for User
 
S&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME developmentS&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME development
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
 
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
 
Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...
Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...
Thai Flood 2011 : Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction ...
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standards
 

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

NSTDA Research 2013

  • 1.
  • 2.
  • 3. ตนวิจัย ใบเศรษฐกิจ ผลิตผลสังคม : สวทช. รวมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ (พ.ศ. 2556)/ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ -- ปทุมธานี: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2556. 56 หนา : ภาพประกอบ 1. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ -- ผลงาน I. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ II. ชื่อเรื่อง Q10 506 ต้นวิจัย ใบเศรษฐกิจ ผลิตผลสังคม : สวทช. ร่วมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ (พ.ศ. 2556) โดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เอกสารเผยแพร พิมพครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2556 จำนวน 2,500 เลม สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2556 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ไมอนุญาตใหคัดลอก ทำซ้ำ และดัดแปลง สวนใดสวนหนึ่งของหนังสือเลมนี้ นอกจากจะไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากเจาของลิขสิทธิ์เทานั้น Copyright©2013 by: National Science and Technology Development Agency Ministry of Science and Technology จัดทำโดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0 2564 8000 โทรสาร 0 2564 7002-5 http://www.nstda.or.th ออกแบบโดย งานออกแบบ ฝายสื่อวิทยาศาสตร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
  • 4.
  • 5.
  • 6. สวทช. รวมกับหนวยงานพันธมิตรหลายสถาบัน นำวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเขาไปชวยแกปญหาที่เกิดขึ้นในทุกๆ จุด ของเสนทางการผลิตขาวไทย ตั้งแตการผลิตเมล็ดพันธุขาวหลากหลาย สายพันธุที่รับมือกับภัยสารพัดได เชน ขาวหอมชลสิทธิ์ทนน้ำทวม (ไดแจกจายเมล็ดพันธุ และใหความรูในการผลิตเมล็ดพันธุแกเกษตรกร จำนวน 260 ครอบครัว ใน 7 จังหวัด ไดแก ชัยนาท อยุธยา อางทอง พิจิตร อุตรดิตถ ลำปาง และสระบุรี) ขาวเหนียวธัญสิรินตานทานโรคไหม (ไดแจกจายเมล็ดพันธุและใหความรูในดานการผลิตเมล็ดพันธุแก เกษตรกรจำนวน 650 ครอบครัว ใน 9 จังหวัด ไดแก เชียงใหม เชียงราย ลำปาง นาน ชัยภูมิ สกลนคร นครพนม หนองคาย และบึงกาฬ) เปนตน ระหวางการปลูก ก็มีชีวภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ชวยกำจัดโรคและแมลงศัตรูขาว เชน เชื้อแบคทีเรียควบคุมโรค กาบใบแหงของขาว อีกทั้งยังมีโปรแกรมเครื่องวัดสีใบขาว เพื่อดูวา ตนขาวตองการธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียมหรือไม ใชไดงายผาน สมารทโฟน สวทช. กับภารกิจ "ข้าว" กล่องดวงใจของคนไทย น นในทกๆ จด 98 พืชพันธุ์ธัญญาหาร
  • 7. เมื่อถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยว ก็มีเครื่องจักรกลการเกษตร ประสิทธิภาพสูง แตมีราคาที่เกษตรกรเปนเจาของไดมาชวยแบงเบา เชน เครื่องสีขาวขนาดเล็ก เครื่องพรวนจอบหมุนสำหรับติดกับรถแทร็กเตอร หรือแมแตเซ็นเซอรวัดความชื้นของเมล็ดขาว นอกจากนี้ ยังไดวิจัยและพัฒนาการแปรรูปขาวไทยไปเปน ผลิตภัณฑตางๆ เชน แปงขาวที่ทนยอยตอเอนไซม ที่มีคุณสมบัติ เทียบเทาเสนใยอาหาร สามารถชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคตางๆ ได สารเคลือบผลไมจากไขรำขาว หรือขาวเคลือบเพื่อสุขภาพ ซึ่งนอกจาก ชวยเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑจากขาวไทยแลว ยังดีตอสุขภาพและ สิ่งแวดลอมดวย ในสวนที่เกี่ยวกับการสงออกขาว สวทช. ไดรับความไววางใจ จากกระทรวงพาณิชยใหนำเทคโนโลยีเครื่องหมายโมเลกุล มาใชในการ รับรองขาวหอมมะลิที่ผลิตเพื่อการสงออก นับเปนอีกทางหนึ่งที่ชวย ยกระดับรายไดใหกับเกษตรกรไทย หัววัดความชื้นสำหรับ ขาวเปลือกรุนใชกับ ไซโลอบขาว (ยื่นจดสิทธิบัตรแลว) หัววัดความชื้นสำหรับขาวเปลือกรุนแบบมือถือ 1110 หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้ กรมการขาว กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สถาบันสิ่งแวดลอมไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลำปาง บริษัท ปูนซิเมนตไทย จำกัด ฟารมโชคชัย สหกรณการเกษตรผักไห จำกัด สหกรณการเกษตรทาเรือ จำกัด สหกรณการเกษตรบางบาล จำกัด สหกรณการเกษตรสรรพยา จำกัด สหกรณการเกษตรสรรคบุรี จำกัด สหกรณการเกษตรวัดสิงห จำกัด สหกรณการเกษตรสามโก จำกัด มูลนิธิฮักเมืองนาน ศูนยการเรียนรูโจโก สวนราชการในพื้นที่ที่เกี่ยวของ เชน เกษตรจังหวัด เกษตรอำเภอ องคการบริหารสวนตำบล องคการบริหารสวนจังหวัด สำนักงานเกษตรอำเภอ เปนตน
  • 8. สวทช. พัฒนานวัตกรรม ประเทศไทยสงออกยางเปนอันดับที่ 1 ของโลก ซึ่งใน กระบวนการการผลิตยางมีความซับซอนมาก สวทช. ไดรวมกับเครือขาย หนวยงานพันธมิตร พัฒนางานวิจัยและเทคโนโลยีเกี่ยวกับยาง เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตยางในทุกขั้นตอน ตั้งแตระดับ เกษตรกรจนถึงผูประกอบการในโรงงาน โดยในขั้นตอนการเก็บน้ำยาง สวทช. ไดพัฒนา สารรักษาน้ำยางแบบใหมเรียกวา TAP ซึ่งนอกจากจะ รักษาน้ำยางไมใหเนาเสียไดนานขึ้นแลว ยังทดแทนการใชแอมโมเนีย ที่เปนสารอันตรายทำใหเกิดการระคายเคืองตอปอดของเกษตรกรดวย สำหรับกระบวนการสกัดน้ำยางในโรงงาน ในสวนของน้ำทิ้ง ที่ยังมีเศษเนื้อยางเล็ดลอดออกมาจำนวนมาก สวทช. ไดคิดคน สาร GRASS 0 มาดักน้ำยางจากน้ำทิ้ง ทำใหไดน้ำยางมากกวาเดิม ชวยเพิ่มมูลคายางไดอีกมหาศาล อีกทั้งยังสามารถนำมาใชทดแทน กรดซัลฟวริกที่เปนอันตรายดวย นอกจากนี้ยังคิดคน สาร GRASS 2 และ GRASS 3 เพื่อดักน้ำยางที่เหลือจากโรงงานในดานอื่นๆ อีก เชน น้ำยางจากการลางถัง และขี้แปงน้ำทิ้ง ทำใหนอกจากไดยางและน้ำทิ้งแลว ยังไดสารผสมซึ่งเปนปุยฟอสเฟต สำหรับนำไปโรยรอบโคนตนยางเปน ปุยหมุนเวียนได และที่สำคัญน้ำทิ้งที่ไดยังนำเวียนกลับมาใชผลิตกาซ มีเทน เปนพลังงานชีวภาพใชในโรงงานอีกดวย ในป 2555 สวทช. ไดถายทอดเทคโนโลยีดังกลาวใหแก ภาคเอกชนจำนวนหนึ่ง ทำใหกระบวนการผลิตยางสามารถดึงเนื้อยาง กลับมาได 25% หรือประมาณ 1,700 ตันตอป โดยเนื้อยางที่ไดมี คุณภาพดีและนำไปใชประโยชนไดทันที เกิดผลทางเศรษฐกิจเปน รายไดกลับมาประมาณ 240 ลานบาท 1310 หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 9. อุตสาหกรรมอาหาร เปนหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่สราง รายไดเขาประเทศมหาศาล สวทช. ใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สราง นวัตกรรมหลากหลายแบบในระบบอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ ผานการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑอาหาร เชน รวมพัฒนาระบบ การประเมินความเสี่ยงโดยใชขอมูลทางวิทยาศาสตร ซึ่งสำคัญในเวที การคาโลก อาทิ กำหนดคาฮีสตามีนในน้ำปลาใหพอเหมาะ การพัฒนา กลาเชื้อเพื่อลดเวลาการหมักน้ำปลา ชวยใหการสงออกน้ำปลาของไทย เติบโตสูงขึ้น การประเมินความเสี่ยงของเชื้อจุลินทรียกอโรคใน ผลิตภัณฑแหนม เพื่อชวยเพิ่มความปลอดภัยแกผูบริโภค นอกจากนี้ สวทช. ไดวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑผักและ ผลไม ชวยเพิ่มความปลอดภัย ความสะดวก และสงเสริมอุตสาหกรรม อาหารสงออก ตัวอยางผลิตภัณฑ เชน ฟลมยืดอายุผลิตผลสด ชวยยืด อายุผักผลไมใหยาวนานขึ้น 2-5 เทา ถุงคัดกรองชวงแสง ชวยปองกัน เพลี้ยแปงและแมลง ทำใหมะมวงมีผิวเหลืองสวย เรียบเนียน ไดราคา ดียิ่งขึ้น สวทช. สร้างสรรค์ 1514 หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 10. 16 สวทช. ใช้ จุลินทรีย์ ดีๆ เพือประโยชน์รอบด้าน จุลินทรีย สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่ไมไดถูกมองขาม สวทช. นำมา สรางสรรคเปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาตอคนและสิ่งแวดลอม นอกจาก จัดตั้ง ธนาคารจุลินทรีย ที่เก็บรวบรวมสายพันธุจุลินทรียมากกวา 60,000 ตัวอยาง ไวใชประโยชนในงานวิจัยแลว นักวิจัยของ สวทช. ยังรวมมือกับหลายหนวยงาน นำจุลินทรียมาใชใหเกิดประโยชนใน แทบทุกดาน เชน การเกษตร มีผลิตภัณฑเชื้อจุลินทรียและเอนไซม ที่เปนสารเสริมในอาหารสัตว ลดการนำเขาจากตางประเทศ มีการผลิต ไวรัสเอ็นพีวีเพื่อควบคุมแลงศัตรูพืช ชวยลดการใชสารเคมี สำหรับเรื่องปากทอง อาหารยอดนิยมอยาง แหนม ก็ใช ตนเชื้อจุลินทรียชวยใหหมักไดเร็วขึ้นและปลอดภัยสูง หรือเครื่องปรุง รสประจำครัวเรือนอยาง น้ำปลา ก็ใชเอนไซมชวยลดระยะเวลาหมัก จาก 18 เดือน เหลือเพียง 11 เดือน เมื่อผลิตไดไวก็ขายทำกำไรได เร็วขึ้น นอกจากนี้ใน ดานสิ่งแวดลอม ปญหาคราบน้ำมันปโตรเลียม ที่ขจัดออกยาก ก็มี ผลิตภัณฑแบคทีเรียที่สามารถยอยสลายคราบ น้ำมันปโตรเลียม มาชวยจัดการไดอยางสิ้นซาก ซึ่งปจจุบันบริษัท เอกชนที่รวมวิจัยไดสงออกผลิตภัณฑดังกลาวสูตลาดตางประเทศแลว ดานอาหาร ดานสิ่งแวดลอม ไวรัส เอ็นพีวี หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้ 17 ่
  • 11. 19 การเพิ่มขึ้นของประชากรอยางรวดเร็ว ทำใหการแพรระบาด และการกลายพันธุของโรคเพิ่มมากขึ้นและงายขึ้น สวทช. ใช วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สรางนวัตกรรมหลายรูปแบบ เพื่อชวยให คนไทยมีสุขภาพดียิ่งขึ้น สำหรับโรคไขเลือดออก สวทช. มีสวนรวมในการพัฒนา วัคซีน และสรางผลิตภัณฑชีวภาพควบคุมลูกน้ำยุง โรคไขหวัดใหญ สวทช. ไดคิดคนแบบจำลองทางคณิตศาสตรที่ใชคาดการณโอกาส การระบาดเปนการลวงหนา นอกจากนี้ยังไดพัฒนาวิธีการตรวจโรค ทางพันธุกรรม อยางรวดเร็ว เพื่อการวางแผนครอบครัว ชวยปองกัน การถายทอดโรคทางพันธุกรรมจากพอแมสูลูก เชน โรคปากแหวง เพดานโหว โรคโลหิตจางในบุตร วิธีตรวจทางพันธุกรรมนี้ยังใชกับ โรคเรื้อรังดวย เชน ชวยกำหนดปริมาณยากดภูมิคุมกันใหเหมาะสม กับผูปวยที่ปลูกถายไต การปองกันการแพยาอยางรุนแรงในผูปวย โรคลมชักและโรคเกาท ชวยตรวจสอบความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว ในผูปวยโรคภูมิคุมกันบกพรอง เปนตน ตัวอยางการนำไปใชประโยชน เชน ในป 2555 มีการนำ ผลิตภัณฑควบคุมชีวภาพลูกน้ำยุงไปแจกจายใหชุมชนที่เดือดรอน จากปญหายุงรำคาญ และประชาชนที่ประสบอุทกภัยในพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โรคทางพันธุกรรม และโรคติดต่อ ... สวทช. ช่วยอะไร? 18 เกิด แก่ เจ็บ ตาย หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 12. 21 งานวิจัย สวทช. ชวย ผู้ปวย แบบหลายมิติ สวทช. ไดรวมกับเครือขายหนวยงานพันธมิตรวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีใหมๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาผูปวยใหดียิ่งขึ้น และ มีคาใชจายที่ลดลง อาทิ ทำให ผูปวยกะโหลกศีรษะยุบ ขอเขาเสื่อม สามารถกลับมามีชีวิตเหมือนใหมไดดวยเทคโนโลยีการขึ้นรูปดวย เครื่องพิมพสามมิติเพื่อการแพทย โดยใชเลเซอรรางแบบจากรางกายจริง เพื่อนำไปสรางชิ้นกะโหลกหรือขอเขาเทียมไดตรงกับสรีระผูปวยแตละคน ทำออกมาไดรวดเร็ว สวยงาม ใชเวลาผาตัดนอย ลดความเสี่ยงจาก การติดเชื้อ ที่ผานมามีผูปวยไดรับการผาตัดจากเทคโนโลยีนี้แลวกวา 900 คน ผูที่สูญเสียดวงตา ตายุบ ไมตองใสแวน ไมตองอายใคร สามารถ กลับมามีชีวิตที่สดใสดวย ลูกตาเทียมแบบพอลิเอทิลีน มีรูพรุนหลอด เลือดงอกเขาไปยังลูกตาเทียมได จึงไมเลื่อนหลุดจากเบาตาไดงายแถม เหมือนจริง ลดอาการแพ โดยมีตนทุนการผลิตลูกละประมาณ 7,500 บาท ขณะที่สินคานำเขามีราคาสูงประมาณ 35,000 บาท ผูปวยโรคกระดูกอักเสบ ที่อาจตองเสี่ยงสูญเสียอวัยวะและ เสียชีวิต สามารถรับการรักษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดีขึ้น ดวย เทคโนโลยีวัสดุนำสงยารักษากระดูกอักเสบ เปนเม็ดกลมรอยสายผสม ยาปฏิชีวนะ ผาตัดใสในบริเวณแผลครั้งเดียว (จากเดิมที่ตองผาถึง 10 ครั้ง) ชวยใหยาปริมาณสูงเขาสูแผลโดยตรง ใหผลในการฆาเชื้อดี ลดการอักเสบ ราคาถูก ผูปวยฟนตัวไดเร็ว ผูปวยที่มีแผลไฟไหม น้ำรอนลวก หายเร็ว และลดรอยแผลเปน ดวย ผายืดเคลือบซิลิโคนเจลรักษาแผลเปน ใชแทนการฉีดสเตียรอยด โดยแผลขนาดนิ้วหัวแมมือ รักษาดวยสเตียรอยดใชเงิน 2,500 บาท แต ถาใชซิลิโคนเจล จายเพียง 7 บาทเทานั้น หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้ 20
  • 13. 23 สวทช. ไดวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือคนพิการ ตั้งแตระยะกอนเกิด ระยะพบความพิการ ระยะฟนฟูสมรรถภาพ ไปจนถึงระยะพัฒนาศักยภาพคนพิการและผูสูงอายุ เพื่อใหสามารถ ดำรงชีวิตในสังคมอยางเทาเทียมและมีคุณภาพ ในการปองกันความพิการตั้งแตระยะกอนเกิด สวทช. ได พัฒนาเทคโนโลยี ชุดตรวจคัดกรองอาการดาวนซินโดรมของทารก ในครรภ เพื่อตรวจสอบตั้งแตในชวงตั้งครรภ ในระยะพบความพิการ ไดพัฒนาเทคโนโลยีการขึ้นแบบอยางรวดเร็ว (Rapid Prototype) เพื่อทำกะโหลกเทียม กรามเทียม ชิ้นสวนกระดูกเทียม เพื่อแกไขสวน ที่บกพรองใหกลับมาเปนปกติ ในกรณีที่ผูปวย เกิดความพิการแลว ตองทำการฟนฟูสมรรถภาพ สวทช.ไดพัฒนาอุปกรณฟนฟูสมรรถภาพ และอุปกรณเพื่อชวยผูพิการในดานตางๆ เชน ขอเขาขาเทียมแบบ สี่จุดหมุน (ปจจุบันไดนำไปประกอบใหคนพิการใชแลว 84 ราย ใน 7 จังหวัด กระจายทั่วทุกภูมิภาค) ขาเทียมแบบปรับอัตราหนวง อัตโนมัติ หุนยนตเพื่อฝกการเดิน หุนยนตเพื่อฟนฟูแขน อุปกรณ ชวยฟนฟูความจำ เปนตน นอกจากนี้ สวทช.ยังไดพัฒนาโปรแกรม เพื่อเสริมทักษะดานการเรียนรูหรือสติปญญา โปรแกรมอานไทย สำหรับคนตาบอดที่อาศัยการแปลงภาพเอกสารเปนขอความ เปนตน 22
  • 14. 24 25 เพื่อใหผูพิการสามารถพัฒนาศักยภาพและมีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น สวทช. ยังไดพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกตาม ประเภทความพิการ ไดแก เครื่องชวยฟงดิจิทัลแบบกลองที่มีขนาด กะทัดรัด สำหรับผูพิการทางการไดยิน ซึ่งมีคุณภาพทัดเทียม หรือ ดีกวาของตางประเทศ แตมีราคาถูกกวาเครื่องที่นำเขาจากตางประเทศ ถึงกวาเทาตัว โปรแกรมสังเคราะหเสียง "วาจา" สำหรับผูพิการ ทางการเห็น อุปกรณยกผูปวย สำหรับผูพิการทางรางกาย และ โปรแกรมระบบภาพภาษาไทย สำหรับผูพิการทางการพูด เปนตน สวทช. ยังมีบทบาทสำคัญในการรวมกำหนดรายการอุปกรณ หรือ สิ่งอำนวยความสะดวกที่ผูพิการมีสิทธิไดจากรัฐตามรัฐธรรมนูญ ใหแกหนวยงานราชการ อาทิ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) สำหรับในผูสูงอายุและผูพิการ สวทช. ไดพัฒนา ชุดควบคุม อุปกรณไฟฟาและระบบแจงเหตุฉุกเฉินสำหรับชุมชน เพื่อเปด-ปด อุปกรณไฟฟาในบาน รวมทั้งสงสัญญาณขอความชวยเหลือจาก เพื่อนบาน หรือผูที่อยูใกลเคียงในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน เชน เจ็บปวย หกลม ฯลฯ โดยไดนำไปติดตั้งที่ชุมชนนำรองในบางจังหวัด ไดแก เทศบาลนครขอนแกน จังหวัดขอนแกน เทศบาลแสนสุข จังหวัด ชลบุรี เทศบาลรังสิต จังหวัดปทุมธานี รวมทั้งชวยถายทอดความรู ในการบำรุงรักษา และดูแลอุปกรณใหแกเทศบาลและหนวยงาน การศึกษาในชุมชนนั้นๆ เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแกน มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี อีกดวย ทั้งหมดนี้เพื่อรอยยิ้มและความสุขใหผูสูง อายุและผูพิการไทย หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 15. 27 ปจจุบันประเทศไทยพบกับ “วิกฤตพลังงาน” สาเหตุหนึ่ง เกิดจากตองนำเขาพลังงานสวนใหญจากตางประเทศ การสรางขีด ความสามารถในการพัฒนาพลังงานทางเลือกในหลากหลายรูปแบบ จึงมีความสำคัญเปนอยางยิ่ง สวทช.ไดสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา พืชพลังงานหลายชนิด เชน ปาลมน้ำมัน และ สบูดำ เพราะปลูกงาย ใหผลผลิตสูง และสกัดผลเพื่อผลิตน้ำมันไบโอดีเซลได สวทช.ไดพัฒนาเครื่องสกัดน้ำมันปาลมขนาดเล็ก เครื่องหีบ น้ำมัน และเครื่องอัดกากสบูดำ ใหมีขนาดเหมาะสมกับวิสาหกิจชุมชน ขนาดเล็ก ทำใหไดไบโอดีเซลที่ใชกับเครื่องจักรกลการเกษตร ชวย ลดตนทุนการผลิต และเพิ่มรายไดใหเกษตรกรรวมถึงลดการขาดดุล ดานพลังงานใหกับประเทศ ที่ผานมา สวทช. ไดถายทอดเทคโนโลยีการผลิต “ระบบ สกัดน้ำมันปาลมแบบไมใชไอน้ำขนาด 1 ตันผลปาลมรวงตอชั่วโมง” ใหกับภาคเอกชนเพื่อนำไปผลิตและจำหนายตัวเครื่อง ใหกับโรงงาน ผูผลิตน้ำมันปาลม โดยโรงงานสามารถผลิตและจำหนายน้ำมันปาลม ดิบ (Crude Palm Oli: CPO) ไดสูงสุดเดือนละ 120 ตันหรือ 3.7 ลานบาท โรงงานรับซื้อผลปาลมลูกรวงจากเกษตรกรผูปลูกปาลม เดือนละ 360 ตัน หรือ 0.9 ลานบาท นอกจากนี้โรงงานยังสามารถ ขายกากปาลม เมล็ดในปาลม และทลายปาลมเปลาไดอีกดวย 26 เศรษฐกิจและพลังงาน หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 16. 29 วิกฤตพลังงานของประเทศไทยในปจจุบันมีแนวโนมทวี ความรุนแรงมากขึ้นทุกวัน การคนควาเพื่อหาวัสดุและวิธีการที่ เหมาะสมในการพัฒนาพลังงานทางเลือกจึงเปนโจทยวิจัยที่สำคัญ วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เชน เศษไม แกลบ ฟางขาว มูลสัตว ขยะอินทรีย และน้ำเสีย ตางก็เปนวัตถุดิบพลังงานทางเลือกชั้นดีได สวทช. พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาซชีวภาพจากการยอย สลายสารอินทรีย เริ่มตนจากระบบบำบัดน้ำเสีย ในโรงงานแปง มันสำปะหลัง โรงงานอาหาร และโรงงานผลิตน้ำมันปาลม โรงงาน สามารถนำกาซชีวภาพที่ได ไปใชทดแทนน้ำมันเตาไดโดยตรง และ นำไปผลิตเปนกระแสไฟฟา เพื่อใชภายในโรงงาน หรือจำหนายสู ภายนอกไดอีกดวย จึงชวยลดตนทุนดานพลังงาน และลดตนทุน การบำบัดน้ำเสีย ไดประโยชนทั้งสองดานไปพรอมๆ กัน เพียงไมกี่ป ก็คุมกับเงินลงทุนสรางอุปกรณในระบบกาซชีวภาพแบบนี้แลว ดังเชนตัวอยางโรงงานปาลมที่ไดรับการถายทอดเทคโนโลยี จาก สวทช. สามารถผลิตกาซชีวภาพเพื่อผลิตกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้น มูลคาประมาณหนึ่งแสนบาทตอเดือน และใชเปนพลังงานทดแทน มีมูลคากวาปละ 13 ลานบาท ขณะที่โรงงานอาหารมีบริษัทรับ ถายทอดเทคโนโลยีแลว 3 บริษัท รวมมูลคาการชวยประหยัด พลังงานและทดแทนการนำเขาสารเคมีไดมากถึง 75 ลานบาทตอป 28 หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 17. 3130 สวทช. แปลงกาย รถอีแต๋น เป็น “รถอเนกประสงค์รุ่นใหม่” ไฉไลกว่าเดิม รถบรรทุกเพื่อการเกษตรหรือ "รถอีแตน" เปนรถที่เกษตรกร ใชบรรทุกผลผลิตจากทองไรทองนา เดิมรถอีแตนมักสรางขึ้นในโรงงาน ในทองถิ่น โดยใชชิ้นสวนรถยนตเกาปลดระวางจากตางประเทศ ทำให มีปญหาเรื่องมาตรฐานและความปลอดภัย อีกทั้งเสี่ยงกับอุบัติเหตุ สวทช. ไดพัฒนาการผลิตชิ้นสวนโครงฐานรถสำคัญ 5 ชิ้นสวน ไดแก แชชซีเฟรม (Chassis Frame) ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก และดุมลอ ระบบสงกำลัง และระบบสั่นสะเทือน โดยใชการคำนวณ การออกแบบตามหลักวิศวกรรมศาสตร และใชความรวมมือกับบริษัท เอกชนตอรถอเนกประสงคนี้ขึ้น กอนสงไปในพื้นที่หมูบานตางๆ ใน 7 ตำบล เพื่อใชประโยชนเปนรถบรรทุกเพื่อการเกษตร รถขนขยะ รถบรรทุกน้ำ นอกจากจะแกปญหาเรื่องมาตรฐานและความปลอดภัย ไดแลว ยังชวยลดคาใชจายดานน้ำมันเชื้อเพลิงไดถึง 50% หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 18.
  • 19.
  • 20. 37 อุตสาหกรรมการผลิตฮารดดิสกไดรฟของไทย สำคัญมากตอ ทั้งเศรษฐกิจไทยและตลาดฮารดดิสกไดรฟของโลก ประเทศไทยสงออก ฮารดดิสกไดรฟเปนมูลคาราว 600,000 ลานบาทตอป หรือ 10% ของการสงออก โดยรวมของทั้งประเทศ ปจจุบันไทยไดกาวขึ้นมาเปน ผูสงออกฮารดดิสกไดรฟอันดับหนึ่งของโลก โดยมีสวนแบงถึงรอยละ 41 ของตลาดโลก การผลิตฮารดดิสกไดรฟในประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงอยางรวดเร็วตลอดเวลา โดยเฉพาะระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ซึ่งตองมีความถูกตองแมนยำ ที่สูงขึ้น เพื่อรองรับกับการผลิตฮารดดิสกไดรฟชนิดใหมที่มีความจุสูง ขึ้นอยางมาก รวมถึงการจัดการตนทุนการผลิตที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น สวทช. สนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร งานวิจัย และ พัฒนา รวมไปถึง การถายทอดเทคโนโลยีการออกแบบและสราง เครื่องจักรอัตโนมัติใหแกผูประกอบการไทยมาตั้งแตป 2549 เพื่อ สรางงาน โอกาส และรายไดใหกับประเทศ ผานความสามารถในการ แขงขันที่เพิ่มขึ้น เพื่อรักษาฐานการลงทุนของผูประกอบฮารดดิสกไดรฟ ใหคงอยูในประเทศไทย และมีการลงทุนเพิ่มอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ สวทช. ไดเขาไปมีสวนในการออกแบบกระบวนการผลิตใหกับผูผลิต ฮารดดิสกรายใหญของโลก ทำใหลดคาใชจายในการลงทุนเพิ่มผลผลิต ไดมากกวา 8 พันลานบาท หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้ 36
  • 22. 41 สวทช. พัฒนาเทคโนโลยี สร้างความมั่นคงของชาติ เหตุการณความไมสงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ของไทยตั้งแตป 2549 เปนตนมา มีผูบริสุทธิ์ตองสูญเสียชีวิตมากมาย จากการกอความรุนแรงและเหตุการณระเบิดที่มีไมเวนแตละวัน ดังนั้นเพื่อรักษาชีวิตของคนชายแดนใต สวทช. จึงไดพัฒนาเครื่อง รบกวนสัญญาณอุปกรณสื่อสาร ที-บอกซ (T-Box) เพื่อใชในการ แกปญหาการจุดระเบิดแสวงเครื่องดวยโทรศัพทเคลื่อนที่ เครื่องควบคุม ระยะไกลหรือวิทยุสื่อสารขึ้น โดยเครื่องมีประสิทธิภาพและคุณสมบัติ เทียบเคียงหรือดีกวาเครื่องที่ผลิตจากตางประเทศ ที่สำคัญราคา ถูกกวาเครื่องในลักษณะเดียวกันที่นำเขาจากตางประเทศ ถึง 2-3 เทา ทำใหประเทศประหยัดปละกวา 10 ลานบาทตอป จึงทำให รัฐสามารถจัดสรรอุปกรณดังกลาวเพื่อนำไปใชงานไดอยางทั่วถึง ตลอดจนทำการบำรุงรักษาไดอยางรวดเร็วทันเหตุการณ ชวยรักษา ชีวิต ทรัพยสินของรัฐ และประชาชนในพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งยังเปนการเสริมสรางขวัญกำลังใจแกผูปฎิบัติงาน ปจจุบันมี การกระจายเครื่องรบกวนสัญญาณอุปกรณสื่อสารเพื่อใชงานทั่ว ประเทศกวา 100 เครื่อง 4040 หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 23. ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศกระทบตอชีวิตและ ทรัพยสินของคนทั่วโลก ตลาดสินคาเพื่อสิ่งแวดลอมขยายตัวขึ้นมาก ฉลากสิ่งแวดลอม กลายมาเปนเครื่องมือสื่อสารขอมูลสิ่งแวดลอม ระหวางผูผลิตและผูบริโภค และเปนเงื่อนไขหนึ่งในการเลือกซื้อสินคา สวทช. รวมกับกระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) และสภาอุสาหกรรม จัดทำ ฐานขอมูลวัฏจักรชีวิตของวัสดุพื้นฐาน และพลังงานของประเทศ (Life Cycle Inventory Database, LCI) เพื่อประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment, LCA) ของผลิตภัณฑ และใชทำ ฉลากคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) ซึ่งชวยสรางมาตรฐานสำหรับกฎระเบียบดานสิ่งแวดลอม ของนานาชาติ ปจจุบันมีมากกวา 600 ผลิตภัณฑที่ใชเครื่องหมาย คารบอนฟุตพริ้นทแลว ภูมิอากาศโลกวิกฤติ... นักวิทย์ สวทช. คิดทำอะไร? 4342 หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้
  • 24.
  • 25. 46 47 สวทช. เสริมสร้าง ชุมชนห่างไกล ได้อย่างไร สวทช. ถายทอดเทคโนโลยี ที่เกิดจากการคิดคนของ นักวิจัย สวทช. และจากหนวยงานพันธมิตร/สถาบันการศึกษา เพื่อ ยกระดับการผลิต ลดตนทุน และสรางมาตรฐานผลิตภัณฑ โดย สนับสนุนชุมชนใหบริหารจัดการและพึ่งพาตนเองจากทรัพยากร ในชุมชน ผานกระบวนการเรียนรูในชุมชน โดยใชศูนยการเรียนรู ชุมชนสำหรับทั้งเกษตรกรและเยาวชน ผลลัพธที่ไดคือ คุณภาพ ชีวิตของเกษตรกรและความเขมแข็งของกลุมวิสาหกิจชุมชนที่เพิ่มขึ้น อยางชัดเจน การดำเนินงานเปนแบบมี พื้นที่เปาหมาย เพื่อเปดโอกาส ใหชุมชนอื่นเขามาเรียนรูตอไป เชน หมูบานผาคับและหมูบานผาสุก อำเภอบอเกลือ จังหวัดนาน เปนตนแบบการใชประโยชนจากการผลิต พืชหลังนาและการเพิ่มผลผลิตขาวไร หมูบานบอเหมืองนอยและ หมูบานหวยน้ำผัก อำเภอนาแหว จังหวัดเลย เปนตนแบบการผลิต สตรอวเบอรรี่และการแปรรูปผลผลิต หมูบานอุดมและหมูบานสมบูรณ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร เปนตนแบบการประหยัดพลังงาน และใชประโยชจากปาหัวไรปลายนา สวนหมูบานบาลาและหมูบาน เจะเด็ง อำเภอแวง จังหวัดนราธิวาส เปนตนแบบการพึ่งพาตนเอง จากทรัพยากรในทองถิ่น เปนตน
  • 26. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดย สวทช. ในฐานะ ฝายเลขานุการ ไดรวมมือกับมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม จัดทำระบบ อีดีแอลทีวี (eDLTV, Electronic Distance Learning Television) ขึ้นเพื่อใชกับการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส (e-Learning) ครอบคลุมเนื้อหาตั้งแตปฐมวัยถึงมัธยมศึกษา รวมถึง ปวช. และ ปวส. โดยเนื้อหามาจากโรงเรียนวังไกลกังวล ที่ออกอากาศผาน ระบบการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม โดยมีวิดีโอคลิปการสอนของครู ในทุกชั้นเรียนและทุกสาระความรู รวมทั้งสไลด PowerPoint ของครู ใบความรู และใบงาน ฯลฯ eDLTV จึงเปนทางเลือกหนึ่งที่สะดวกมาก ในการเรียนผาน อินเทอรเน็ต เหมาะกับโรงเรียนในชนบทที่ประสบปญหาขาดแคลนครู หรือครูจบไมตรงวิชาที่สอน สามารถใชงานระบบดังกลาวแบบออนไลน ไดที่ http://edltv.net หรือแบบออฟไลน โดยการติดตั้ง Server หรือใชผาน External Hard Disk ผูใชสามารถคนหาเนื้อหาที่ตองการ ไดภายใน 3 คลิกเทานั้น และคนหางายๆ ผาน Keyword ปจจุบันมีการใชงาน eDLTV แบบออนไลนเฉลี่ยมากกวา 100,000 ครั้งตอเดือน โดยเปนเว็บไซตที่ไดรับความนิยมลำดับที่ 5 ในกลุม e-Learning (จากทั้งหมด 49 เว็บไซต) และกระทรวงไอซีที ไดนำระบบ eDLTV ติดตั้งไวในเครื่องคอมพิวเตอรในศูนยไอซีทีชุมชน เพื่อใหผูใชบริการที่ศูนยฯ สามารถเขาไปเรียนรูวิชาพื้นฐานหรือ วิชาชีพจาก eDLTV ไดดวย ผ่าน eDLTV 4948 ĵûĚþøĩĚÿĨċĎĪijĐĮļĤĢĩĚħđđ F-FBSOJOH ùĤþøĩĚğĭøĠĩĎĩþķøĜēţĩĐċĩĞijĎĬęĘ ďÜøćôñöăďÔĈõöèćďìĊėĀÚĒìđĀÔąýôþąôÚ×øďÜøćôñöăÝìôñööüą ħğ ñööüą Ĥ ëĄìúą×ô ġĤĤğ หนวยงานที่รวมมือกับ สวทช. ในผลงานนี้ Ĩ Ī ĮļĨ Ī Įļ - J-
  • 27.
  • 28.
  • 29.