SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
เฉลยข้อสอบ O-net ภาษาไทย ม.6 อย่างละเอียด
ใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถาม ข้อ ๑ – ๕
ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์
ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา
ค. ท่านกาหนดจดไว้ในตารา
ง. มีมาแต่โบราณช้านานครัน
๑. ข้อใดมีเสียงสระประสม
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลย. ข้อ ข.
สระประสมตามหลักภาษาศาสตร์ มี 3 เสียง คือ เอีย เอือ อัว ข้อ ข. มีคาว่า “เพียร เรียน”
๒. ข้อใดมีคาที่ออกเสียงอักษรควบ
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลย ข้อ ๔
อักษรควบ คือ คาที่ออกเสียงพยัญชนะต้นควบกับ อักษร “ร, ล, ว” ข้อที่ ๔ คือคาว่า “ครัน”
๓. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ ๕ เสียง
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลย ข้อ ๒
ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ (สามัญ โท สามัญ โท สามัญ เอก เอก)ขาดเสียงตรี และจัตวา
ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา(โท เอก เอก โท สามัญ สามัญ ตรี จัตวา) ครบทุกเสียง
ค. ท่านกาหนดจดไว้ในตารา(โท สามัญ เอก เอก ตรี สามัญ สามัญ สามัญ) ขาดเสียงจัตวา
ง. มีมาแต่โบราณช้านานครัน(สามัญ สามัญ เอก สามัญ สามัญ ตรี สามัญ สามัญ) ขาดเสียงจัตวา
๔. ข้อใดมีอักษรต่าน้อยที่สุด (ไม่นับอักษรที่ซ้ากัน)
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลย ข้อ ๑ ในข้อนี้เขาต้องการถามพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรต่าน้อยที่สุดโดยไม่นับเสียงซ้า วิเคราะห์ได้ดังนี้
ข้อ ๑ ร.ว
ข้อ ๒ ร ช ว พ
ข้อ ๓ ท น ว ร
ข้อ ๔ ม ร ช น ค
๕. ข้อใดมีอักษรนา
๑. ข้อ ก และ ข ๒. ข้อ ข และ ค
๓. ข้อ ค และ ง ๔. ข้อ ง และ ก
เฉลยข้อ ๒
ข. มีคาว่า สวัสดิ์ (อักษรสูงนาอักษรต่าเดี่ยว) ค. มีคาว่า ”หนด”(ห. นาอักษรต่าเดี่ยว)
๖. คาในข้อใดมีตัวสะกดมาตราเดียวกับ“เหตุผล” ทุกคา
๑. พุดตานถอดถอนมลพิษ ๒. มดเท็จคิดสั้นจัดการ
๓. ผลัดเวรบทกลอนโทษทัณฑ์ ๔. สวดมนต์จุดอ่อนทรัพย์สิน
เฉลย ข้อ ๓
เนื่องจาก “เหตุผล” มีตัวสะกดมาตราแม่ กด และแม่ กน ตามลาดับ
ข้อ ๑ คาว่า มลพิษ ไม่ใช่ เพราะสะกดด้วยแม่ กน และแม่กด
ข้อ ๒ คาว่า มดเท็จ ไม่ใช่ เพราะสะกดด้วยแม่ กดทั้งสองพยางค์
ข้อ ๔ คาว่า ทรัพย์สิน ไม่ใช่ เพราะสะกดด้วยแม่ กบ และแม่กน
๗. คาซ้าในข้อใดต้องใช้เป็นคาซ้าเสมอ
๑. คนงานใหม่ขยันเป็นพักๆเอาแน่ไม่ได้
๒. นักเรียนอนุบาลหกล้มหัวเข่าแตกเลือดไหลซิบๆ
๓. งานนี้ถึงจะได้เงินเดือนน้อยก็ทาไปพลางๆก่อนแล้วกัน
๔. ถ้าเราวางแผนให้ดีตั้งแต่แรกๆโครงการนี้ก็คงสาเร็จไปแล้ว
เฉลย ข้อ ๑
เหตุเพราะว่า หากไม่ใช่เป็นคาซ้า จะไม่ได้ความหมาย หรือ ความหมายอาจเปลี่ยนไปก็ได้ วิธีการคิดคือ ให้
ลองอ่านและพิจารณาเอาเครื่องหมายไม้ยมกออกดูว่าได้ความหมายหรือไม่ หรือความหมายเปลี่ยนไปหรือไม่
๘. ข้อใดเป็นคาซ้อนทุกคา
๑. ซ้าซ้อน ซ่อนรูป ซักฟอก ๒. ถ่องแท้ ถี่ถ้วน ถากถาง
๓. บีบคั้น เบียดเบียน เบาความ ๔. แปรผัน เป่าหู โปรยปราย
เฉลย ข้อ ๒
ข้อ ๑ คาว่า “ซ่อนรูป” เป็นคาประสม
ข้อ ๓ คาว่า “เบาความ” เป็นคาประสม
ข้อ ๔ คาว่า “เป่าหู” เป็นคาประสม
๙. ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดมีคาประสมทั้ง ๒ ส่วน
๑) บริเวณสวนกว้างขวาง / ๒) มีสนามที่ได้รับการดูแลจากเทศบาลเมือง /
๓) มีประติมากรรมเป็นรูปเทพธิดาแสนงาม / ๔) มุมหนึ่งมีนาฬิกาแดดคอย
บอกเวลา
๑. ส่วนที่ ๑ และ ๔ ๒. ส่วนที่ ๒ และ ๓
๓. ส่วนที่ ๑ และ ๓ ๔. ส่วนที่ ๒ และ ๔
เฉลย ข้อ ๔
ส่วนที่ ๒ คาประสม คือคาว่า “เทศบาลเมือง”
ส่วนที่ ๔ คาประสมคือคาว่า “นาฬิกาแดด”
๑๐. ข้อใดมีคาประสมทุกคา
๑. คาขาด คาคม คาราม ๒. เดินแต้ม เดินรถ เดินสะพัด
๓. น้าป่า น้าไหล น้ามือ ๔. ติดลม ติดใจ ติดขัด
เฉลย ข้อ ๒
ข้อ ๑ คาว่า “คาราม” เป็น คามูล
ข้อ ๓ คาว่า “น้าไหล” เป็น กลุ่มคา
ข้อ ๔ คาว่า “ติดขัด” เป็น คาซ้อน
๑๑. ข้อใดไม่มีคาสมาส
๑. วิสุทธโยธามาตย์เจ้า กรมขวา
๒. หนึ่งชื่อราชโยธา เทพซ้าย
๓. ตาแหน่งศักดิ์ยศถา เสถียรที่
๔. คุมพยุหยาตราย้าย ย่างเข้าตามสถาน
เฉลยข้อ 3
เหตุผล ข้อ 3 ไม่มีคาสมาส คาว่า “ศักดิ์ยศถา” ดูคล้ายคาสมาส แต่ไม่ใช่ เป็นการเรียงคา
เท่านั้น
ข้อ 1 “โยธามาตย์” เป็นคาสมาส
ข้อ 2 “ราชโยธา” เป็นคาสมาส
ข้อ 4 “พยุหยาตรา” เป็นคาสมาส
๑๒. ข้อใดมีคาสมาสที่มีการสร้างคาต่างกับข้ออื่น
๑. ขับคเชนทร์สาวก้าว ส่ายเสื้องเทาทาง
๒. สถานที่พุทธบาทสร้าง สืบไว้แสวงบุญ
๓. สุธารสรับพระเต้า เครื่องต้นไปตาม
๔. โดยเสด็จดาเนินแคล้ว คลาดคล้อยบทจร
เฉลยข้อ 1
เหตุผล ข้อ 1 คาว่า “คเชนทร์” เป็นคาสมาสแบบมีสนธิซึ่งต่างกับข้ออื่น
ข้อ 2 “พุทธบาท” เป็นคาสมาสแบบไม่มีสนธิ
ข้อ 3 “สุธารส” เป็นคาสมาสแบบไม่มีสนธิ
ข้อ 4 “บทจร” เป็นคาสมาสแบบไม่มีสนธิ
๑๓. ข้อใดสะกดถูกทุกคา
๑. เขากินอาหารมังสวิรัตทุกวันพุธมาสามปีแล้ว
๒. ที่ปากทางเข้าหมู่บ้านมียามรักษาการอยู่ตลอดเวลา
๓. คนที่ซื้อทองรูปพรรณต้องจ่ายเงินค่ากาเหน็จด้วย
๔. เพื่อนเห็นเขานั่งหลับจึงถามว่าเข้าฌานถึงชั้นไหนแล้ว
เฉลยข้อ 3
เหตุผล ข้อ 3 คาว่า “กาเหน็จ” สะกดถูกต้อง หมายถึง ค่าจ้างทาเครื่องเงินหรือทองรูปพรรณ
ข้อ 1 คาว่า “มังสวิรัต” สะกดผิด ที่ถูกคือ “มังสวิรัติ” เพราะ วิรัติ หมายถึงงดเว้น,เลิก
ข้อ 2 คาว่า “รักษาการ” สะกดผิด ที่ถูกคือ “รักษาการณ์” หมายถึง เฝ้ าดูแลเหตุการณ์
ข้อ 4 คาว่า “เข้าฌาณ” สะกดผิด ที่ถูกคือ “เข้าฌาน” ฌาน หมายถึงภาวะที่จิตสงบแน่วแน่
๑๔. ข้อใดมีคาสะกดผิด
๑. ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืดเรียกว่าดาวประกายพรึก
๒. ในสวนสาธารณะมีคนมาออกกาลังกายกันอยู่ประปราย
๓. กระบะที่ลงรักแบบญี่ปุ่นและจีนเรียกว่าเครื่องกามะลอ
๔. ในภาวะเศรษฐกิจตกต่าทุกครอบครัวต้องกระเบียดกระเสียน
เฉลยข้อ 4
เหตุผล ข้อ 4 คาว่า “กระเบียดกระเสียน” สะกดผิด ที่ถูกคือ “กระเบียดกระเสียร”
หมายถึง พยายามใช้อย่างจากัดจาเขี่ย
ใช้ข้อความในพจนานุกรมต่อไปนี้ตอบคาถาม ข้อ ๑๕-๑๖
๑๕. มีคาที่เป็นคาตั้งหรือแม่คากี่คา
๑. ๓ คา ๒. ๔ คา ๓. ๕ คา ๔. ๖ คา
เฉลยข้อ3
เหตุผล ข้อ 3 มีคาตั้ง หรือ แมค่ ำา 5 คา คอื จวัก จอ1 จอ2 จ่อ 1 จ่อ 2 คาตั้ง หมายถึงคาที่ยกขึ้นตั้งเพื่อนิยาม
ความหมาย ในการทาพจนานุกรม
๑๖. มีคาที่ระบุว่าใช้เฉพาะแห่งกี่คา
๑. ๑ คา ๒. ๒ คา ๓. ๓ คา ๔. ๔ คา
เฉลยข้อ 2
เหตุผล ข้อ 2 มี 2 คา คือ จ่อคิว (ปาก) และจ่อ2 (ถิ่น-อีสาน) เพราะ (ปาก) และ
(ถิ่น) ในพจนานุกรมระบุว่าเป็นคาบอกลักษณะของคาที่ใช้เฉพาะแห่ง
๑๗. คาภาษาอังกฤษในข้อใดใช้คาไทยแทนไม่ได้
๑. จินดาทาข้อสอบหลายวิชาจนรู้สึกเบลอร์ไปหมด
๒. จิตราเป็นดีไซเนอร์ประจาห้องเสื้อที่มีชื่อเสียง
๓. จินตนาไปหาหมอเพื่อใช้แสงเลเซอร์รักษาผิวหน้า
๔. จิตรลดาเป็นวิสัญญีแพทย์ระดับอินเตอร์ของโรงพยาบาลนี้
เฉลยข้อ 3
เหตุผล ข้อ 3 คาว่า “เลเซอร์” ไม่มีคาไทยใช้
ข้อ 1 คาว่า “เบลอร์” ใช้คาว่า งุนงง แทนได้
ข้อ 2 คาว่า “ดีไซเนอร์” ใช้คาว่า นักออกแบบ แทนได้
ข้อ 4 คาว่า “อินเตอร์” ใช้คาว่า สากล แทนได้
๑๘. ข้อใดเป็นคาศัพท์บัญญัติจากคาภาษาอังกฤษทุกคา
๑. จุลทรรศน์ จุลินทรีย์ จุลกฐิน ๒. สังคม สังเคราะห์ สังโยค
๓. สมมาตร สมมุติฐาน สมเพช ๔. วิกฤตการณ์ วิจัย วิสัยทัศน์
เฉลยข้อ 4
เหตุผล ข้อ 4 คาว่า “วิกฤตการณ์” บัญญัติศัพท์มาจาก crisis “วิจัย” บัญญัติมา
จาก research “วิสัยทัศน์” บัญญัติศัพท์มาจาก vision
ข้อ 1 คาว่า “จุลกฐิน” ไม่ใช่คาที่มาจากภาษาอังกฤษ เป็นคาสมาส
ข้อ 2 คาว่า “สังโยค” ไม่ใช่คาที่มาจากภาษาอังกฤษเป็นคาที่มาจาก
ภาษาบาลี-สันสกฤต
ข้อ 3 คาว่า”สมเพช” ไม่ใช่คาที่มาจากภาษาอังกฤษเป็นคาที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
๑๙. ข้อใดไม่มีคายืมภาษาบาลีสันสกฤต
ก. วันจะจรจากน้องสิบสองค่า
ข. พอจวนย่ารุ่งเร่งออกจากท่า
ค. ราลึกถึงดวงจันทร์ครรไลลา
ง. พี่ตั้งตาแลแลตามแพราย
๑. ข้อ ก และ ข ๒. ข้อ ก และ ค
๓. ข้อ ข และ ง ๔. ข้อ ค และ ง
เฉลยข้อ 3
เหตุผล ข้อ 3 เพราะข้อ ข และ ง ทุกคาเป็นคาไทย
ข้อ 1 ข้อ ก มีคาว่า “จร” เป็นคายืม
ข้อ 2 ข้อ ก มีคาว่า “จร” เป็นคายืม ข้อ ค มีคาว่า “จันทร์” เป็นคายืม
ข้อ 4 ข้อ ค มีคาว่า “จันทร์” เป็นคายืม
๒๐. ข้อใดใช้คาลักษณนามไม่ถูกต้อง
๑. เขาสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของหน่วยงานได้ครบทุกข้อ
๒. นักวิชาการเสนอข้อคิดเห็นไว้ในบทสรุปของรายงานหลายประการ
๓. รัฐบาลมีปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไขหลายเรื่อง
๔. คณะกรรมการกาลังพิจารณาคาขวัญที่ส่งเข้าประกวด ๕๐ บท
เฉลยข้อ 4
เหตุผล ข้อ 4 คาขวัญ ต้องใช้ลักษณะนามว่า “คาขวัญ”ตามข้อกาหนดของราชบัณฑิตยสถาน
ข้อ 1 เงื่อนไข ใช้ลักษณะนามว่า “ข้อ” ถูกต้อง
ข้อ 2 ข้อคิดเห็น ใช้ลักษณะนามว่า “ประการ” ถูกต้อง
ข้อ 3 ปัญหา ใช้ลักษณะนามว่า “เรื่อง” ถูกต้อง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพพัน พัน
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 

La actualidad más candente (20)

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 

Destacado

งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Destacado (7)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar a เฉลยข้อสอบ O net

ข้อสอบ O net2553 thai
ข้อสอบ O net2553 thaiข้อสอบ O net2553 thai
ข้อสอบ O net2553 thaiNikif Niyo
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒Manas Panjai
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 

Similar a เฉลยข้อสอบ O net (20)

ข้อสอบ O net2553 thai
ข้อสอบ O net2553 thaiข้อสอบ O net2553 thai
ข้อสอบ O net2553 thai
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

Más de Nuttarika Kornkeaw

Más de Nuttarika Kornkeaw (19)

Math o-net-m6-48
Math o-net-m6-48Math o-net-m6-48
Math o-net-m6-48
 
2552
25522552
2552
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ปี2550
ปี2550ปี2550
ปี2550
 
2550
25502550
2550
 
o-net 2553
o-net 2553o-net 2553
o-net 2553
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ประว ต
ประว ต ประว ต
ประว ต
 
ใบงานที่9 ใบงานที่16
ใบงานที่9  ใบงานที่16ใบงานที่9  ใบงานที่16
ใบงานที่9 ใบงานที่16
 
ใบงาน10
ใบงาน10ใบงาน10
ใบงาน10
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9
 
004 socail a-net
004 socail a-net004 socail a-net
004 socail a-net
 
002 eng a-net
002 eng a-net002 eng a-net
002 eng a-net
 
008 math a-net
008 math a-net008 math a-net
008 math a-net
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
บทความ สายพันธ์แมวไทย
บทความ สายพันธ์แมวไทยบทความ สายพันธ์แมวไทย
บทความ สายพันธ์แมวไทย
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้วใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้ว
 
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้วใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้ว
 

เฉลยข้อสอบ O net

  • 1. เฉลยข้อสอบ O-net ภาษาไทย ม.6 อย่างละเอียด ใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถาม ข้อ ๑ – ๕ ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา ค. ท่านกาหนดจดไว้ในตารา ง. มีมาแต่โบราณช้านานครัน ๑. ข้อใดมีเสียงสระประสม ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลย. ข้อ ข. สระประสมตามหลักภาษาศาสตร์ มี 3 เสียง คือ เอีย เอือ อัว ข้อ ข. มีคาว่า “เพียร เรียน” ๒. ข้อใดมีคาที่ออกเสียงอักษรควบ ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลย ข้อ ๔ อักษรควบ คือ คาที่ออกเสียงพยัญชนะต้นควบกับ อักษร “ร, ล, ว” ข้อที่ ๔ คือคาว่า “ครัน” ๓. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ ๕ เสียง ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลย ข้อ ๒ ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ (สามัญ โท สามัญ โท สามัญ เอก เอก)ขาดเสียงตรี และจัตวา
  • 2. ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา(โท เอก เอก โท สามัญ สามัญ ตรี จัตวา) ครบทุกเสียง ค. ท่านกาหนดจดไว้ในตารา(โท สามัญ เอก เอก ตรี สามัญ สามัญ สามัญ) ขาดเสียงจัตวา ง. มีมาแต่โบราณช้านานครัน(สามัญ สามัญ เอก สามัญ สามัญ ตรี สามัญ สามัญ) ขาดเสียงจัตวา ๔. ข้อใดมีอักษรต่าน้อยที่สุด (ไม่นับอักษรที่ซ้ากัน) ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลย ข้อ ๑ ในข้อนี้เขาต้องการถามพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรต่าน้อยที่สุดโดยไม่นับเสียงซ้า วิเคราะห์ได้ดังนี้ ข้อ ๑ ร.ว ข้อ ๒ ร ช ว พ ข้อ ๓ ท น ว ร ข้อ ๔ ม ร ช น ค ๕. ข้อใดมีอักษรนา ๑. ข้อ ก และ ข ๒. ข้อ ข และ ค ๓. ข้อ ค และ ง ๔. ข้อ ง และ ก เฉลยข้อ ๒ ข. มีคาว่า สวัสดิ์ (อักษรสูงนาอักษรต่าเดี่ยว) ค. มีคาว่า ”หนด”(ห. นาอักษรต่าเดี่ยว) ๖. คาในข้อใดมีตัวสะกดมาตราเดียวกับ“เหตุผล” ทุกคา ๑. พุดตานถอดถอนมลพิษ ๒. มดเท็จคิดสั้นจัดการ ๓. ผลัดเวรบทกลอนโทษทัณฑ์ ๔. สวดมนต์จุดอ่อนทรัพย์สิน เฉลย ข้อ ๓ เนื่องจาก “เหตุผล” มีตัวสะกดมาตราแม่ กด และแม่ กน ตามลาดับ ข้อ ๑ คาว่า มลพิษ ไม่ใช่ เพราะสะกดด้วยแม่ กน และแม่กด
  • 3. ข้อ ๒ คาว่า มดเท็จ ไม่ใช่ เพราะสะกดด้วยแม่ กดทั้งสองพยางค์ ข้อ ๔ คาว่า ทรัพย์สิน ไม่ใช่ เพราะสะกดด้วยแม่ กบ และแม่กน ๗. คาซ้าในข้อใดต้องใช้เป็นคาซ้าเสมอ ๑. คนงานใหม่ขยันเป็นพักๆเอาแน่ไม่ได้ ๒. นักเรียนอนุบาลหกล้มหัวเข่าแตกเลือดไหลซิบๆ ๓. งานนี้ถึงจะได้เงินเดือนน้อยก็ทาไปพลางๆก่อนแล้วกัน ๔. ถ้าเราวางแผนให้ดีตั้งแต่แรกๆโครงการนี้ก็คงสาเร็จไปแล้ว เฉลย ข้อ ๑ เหตุเพราะว่า หากไม่ใช่เป็นคาซ้า จะไม่ได้ความหมาย หรือ ความหมายอาจเปลี่ยนไปก็ได้ วิธีการคิดคือ ให้ ลองอ่านและพิจารณาเอาเครื่องหมายไม้ยมกออกดูว่าได้ความหมายหรือไม่ หรือความหมายเปลี่ยนไปหรือไม่ ๘. ข้อใดเป็นคาซ้อนทุกคา ๑. ซ้าซ้อน ซ่อนรูป ซักฟอก ๒. ถ่องแท้ ถี่ถ้วน ถากถาง ๓. บีบคั้น เบียดเบียน เบาความ ๔. แปรผัน เป่าหู โปรยปราย เฉลย ข้อ ๒ ข้อ ๑ คาว่า “ซ่อนรูป” เป็นคาประสม ข้อ ๓ คาว่า “เบาความ” เป็นคาประสม ข้อ ๔ คาว่า “เป่าหู” เป็นคาประสม ๙. ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดมีคาประสมทั้ง ๒ ส่วน ๑) บริเวณสวนกว้างขวาง / ๒) มีสนามที่ได้รับการดูแลจากเทศบาลเมือง / ๓) มีประติมากรรมเป็นรูปเทพธิดาแสนงาม / ๔) มุมหนึ่งมีนาฬิกาแดดคอย บอกเวลา ๑. ส่วนที่ ๑ และ ๔ ๒. ส่วนที่ ๒ และ ๓ ๓. ส่วนที่ ๑ และ ๓ ๔. ส่วนที่ ๒ และ ๔
  • 4. เฉลย ข้อ ๔ ส่วนที่ ๒ คาประสม คือคาว่า “เทศบาลเมือง” ส่วนที่ ๔ คาประสมคือคาว่า “นาฬิกาแดด” ๑๐. ข้อใดมีคาประสมทุกคา ๑. คาขาด คาคม คาราม ๒. เดินแต้ม เดินรถ เดินสะพัด ๓. น้าป่า น้าไหล น้ามือ ๔. ติดลม ติดใจ ติดขัด เฉลย ข้อ ๒ ข้อ ๑ คาว่า “คาราม” เป็น คามูล ข้อ ๓ คาว่า “น้าไหล” เป็น กลุ่มคา ข้อ ๔ คาว่า “ติดขัด” เป็น คาซ้อน ๑๑. ข้อใดไม่มีคาสมาส ๑. วิสุทธโยธามาตย์เจ้า กรมขวา ๒. หนึ่งชื่อราชโยธา เทพซ้าย ๓. ตาแหน่งศักดิ์ยศถา เสถียรที่ ๔. คุมพยุหยาตราย้าย ย่างเข้าตามสถาน เฉลยข้อ 3 เหตุผล ข้อ 3 ไม่มีคาสมาส คาว่า “ศักดิ์ยศถา” ดูคล้ายคาสมาส แต่ไม่ใช่ เป็นการเรียงคา เท่านั้น ข้อ 1 “โยธามาตย์” เป็นคาสมาส ข้อ 2 “ราชโยธา” เป็นคาสมาส ข้อ 4 “พยุหยาตรา” เป็นคาสมาส ๑๒. ข้อใดมีคาสมาสที่มีการสร้างคาต่างกับข้ออื่น ๑. ขับคเชนทร์สาวก้าว ส่ายเสื้องเทาทาง
  • 5. ๒. สถานที่พุทธบาทสร้าง สืบไว้แสวงบุญ ๓. สุธารสรับพระเต้า เครื่องต้นไปตาม ๔. โดยเสด็จดาเนินแคล้ว คลาดคล้อยบทจร เฉลยข้อ 1 เหตุผล ข้อ 1 คาว่า “คเชนทร์” เป็นคาสมาสแบบมีสนธิซึ่งต่างกับข้ออื่น ข้อ 2 “พุทธบาท” เป็นคาสมาสแบบไม่มีสนธิ ข้อ 3 “สุธารส” เป็นคาสมาสแบบไม่มีสนธิ ข้อ 4 “บทจร” เป็นคาสมาสแบบไม่มีสนธิ ๑๓. ข้อใดสะกดถูกทุกคา ๑. เขากินอาหารมังสวิรัตทุกวันพุธมาสามปีแล้ว ๒. ที่ปากทางเข้าหมู่บ้านมียามรักษาการอยู่ตลอดเวลา ๓. คนที่ซื้อทองรูปพรรณต้องจ่ายเงินค่ากาเหน็จด้วย ๔. เพื่อนเห็นเขานั่งหลับจึงถามว่าเข้าฌานถึงชั้นไหนแล้ว เฉลยข้อ 3 เหตุผล ข้อ 3 คาว่า “กาเหน็จ” สะกดถูกต้อง หมายถึง ค่าจ้างทาเครื่องเงินหรือทองรูปพรรณ ข้อ 1 คาว่า “มังสวิรัต” สะกดผิด ที่ถูกคือ “มังสวิรัติ” เพราะ วิรัติ หมายถึงงดเว้น,เลิก ข้อ 2 คาว่า “รักษาการ” สะกดผิด ที่ถูกคือ “รักษาการณ์” หมายถึง เฝ้ าดูแลเหตุการณ์ ข้อ 4 คาว่า “เข้าฌาณ” สะกดผิด ที่ถูกคือ “เข้าฌาน” ฌาน หมายถึงภาวะที่จิตสงบแน่วแน่ ๑๔. ข้อใดมีคาสะกดผิด ๑. ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืดเรียกว่าดาวประกายพรึก ๒. ในสวนสาธารณะมีคนมาออกกาลังกายกันอยู่ประปราย ๓. กระบะที่ลงรักแบบญี่ปุ่นและจีนเรียกว่าเครื่องกามะลอ
  • 6. ๔. ในภาวะเศรษฐกิจตกต่าทุกครอบครัวต้องกระเบียดกระเสียน เฉลยข้อ 4 เหตุผล ข้อ 4 คาว่า “กระเบียดกระเสียน” สะกดผิด ที่ถูกคือ “กระเบียดกระเสียร” หมายถึง พยายามใช้อย่างจากัดจาเขี่ย ใช้ข้อความในพจนานุกรมต่อไปนี้ตอบคาถาม ข้อ ๑๕-๑๖ ๑๕. มีคาที่เป็นคาตั้งหรือแม่คากี่คา ๑. ๓ คา ๒. ๔ คา ๓. ๕ คา ๔. ๖ คา เฉลยข้อ3 เหตุผล ข้อ 3 มีคาตั้ง หรือ แมค่ ำา 5 คา คอื จวัก จอ1 จอ2 จ่อ 1 จ่อ 2 คาตั้ง หมายถึงคาที่ยกขึ้นตั้งเพื่อนิยาม ความหมาย ในการทาพจนานุกรม ๑๖. มีคาที่ระบุว่าใช้เฉพาะแห่งกี่คา ๑. ๑ คา ๒. ๒ คา ๓. ๓ คา ๔. ๔ คา เฉลยข้อ 2 เหตุผล ข้อ 2 มี 2 คา คือ จ่อคิว (ปาก) และจ่อ2 (ถิ่น-อีสาน) เพราะ (ปาก) และ (ถิ่น) ในพจนานุกรมระบุว่าเป็นคาบอกลักษณะของคาที่ใช้เฉพาะแห่ง ๑๗. คาภาษาอังกฤษในข้อใดใช้คาไทยแทนไม่ได้ ๑. จินดาทาข้อสอบหลายวิชาจนรู้สึกเบลอร์ไปหมด ๒. จิตราเป็นดีไซเนอร์ประจาห้องเสื้อที่มีชื่อเสียง ๓. จินตนาไปหาหมอเพื่อใช้แสงเลเซอร์รักษาผิวหน้า ๔. จิตรลดาเป็นวิสัญญีแพทย์ระดับอินเตอร์ของโรงพยาบาลนี้ เฉลยข้อ 3
  • 7. เหตุผล ข้อ 3 คาว่า “เลเซอร์” ไม่มีคาไทยใช้ ข้อ 1 คาว่า “เบลอร์” ใช้คาว่า งุนงง แทนได้ ข้อ 2 คาว่า “ดีไซเนอร์” ใช้คาว่า นักออกแบบ แทนได้ ข้อ 4 คาว่า “อินเตอร์” ใช้คาว่า สากล แทนได้ ๑๘. ข้อใดเป็นคาศัพท์บัญญัติจากคาภาษาอังกฤษทุกคา ๑. จุลทรรศน์ จุลินทรีย์ จุลกฐิน ๒. สังคม สังเคราะห์ สังโยค ๓. สมมาตร สมมุติฐาน สมเพช ๔. วิกฤตการณ์ วิจัย วิสัยทัศน์ เฉลยข้อ 4 เหตุผล ข้อ 4 คาว่า “วิกฤตการณ์” บัญญัติศัพท์มาจาก crisis “วิจัย” บัญญัติมา จาก research “วิสัยทัศน์” บัญญัติศัพท์มาจาก vision ข้อ 1 คาว่า “จุลกฐิน” ไม่ใช่คาที่มาจากภาษาอังกฤษ เป็นคาสมาส ข้อ 2 คาว่า “สังโยค” ไม่ใช่คาที่มาจากภาษาอังกฤษเป็นคาที่มาจาก ภาษาบาลี-สันสกฤต ข้อ 3 คาว่า”สมเพช” ไม่ใช่คาที่มาจากภาษาอังกฤษเป็นคาที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ๑๙. ข้อใดไม่มีคายืมภาษาบาลีสันสกฤต ก. วันจะจรจากน้องสิบสองค่า ข. พอจวนย่ารุ่งเร่งออกจากท่า ค. ราลึกถึงดวงจันทร์ครรไลลา ง. พี่ตั้งตาแลแลตามแพราย ๑. ข้อ ก และ ข ๒. ข้อ ก และ ค ๓. ข้อ ข และ ง ๔. ข้อ ค และ ง เฉลยข้อ 3 เหตุผล ข้อ 3 เพราะข้อ ข และ ง ทุกคาเป็นคาไทย
  • 8. ข้อ 1 ข้อ ก มีคาว่า “จร” เป็นคายืม ข้อ 2 ข้อ ก มีคาว่า “จร” เป็นคายืม ข้อ ค มีคาว่า “จันทร์” เป็นคายืม ข้อ 4 ข้อ ค มีคาว่า “จันทร์” เป็นคายืม ๒๐. ข้อใดใช้คาลักษณนามไม่ถูกต้อง ๑. เขาสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของหน่วยงานได้ครบทุกข้อ ๒. นักวิชาการเสนอข้อคิดเห็นไว้ในบทสรุปของรายงานหลายประการ ๓. รัฐบาลมีปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไขหลายเรื่อง ๔. คณะกรรมการกาลังพิจารณาคาขวัญที่ส่งเข้าประกวด ๕๐ บท เฉลยข้อ 4 เหตุผล ข้อ 4 คาขวัญ ต้องใช้ลักษณะนามว่า “คาขวัญ”ตามข้อกาหนดของราชบัณฑิตยสถาน ข้อ 1 เงื่อนไข ใช้ลักษณะนามว่า “ข้อ” ถูกต้อง ข้อ 2 ข้อคิดเห็น ใช้ลักษณะนามว่า “ประการ” ถูกต้อง ข้อ 3 ปัญหา ใช้ลักษณะนามว่า “เรื่อง” ถูกต้อง