SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 32
ความหมายของ
    โปรแกรมคอมพิว เตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิว เตอร์
      โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำาสั่งหรือชุดคำาสั่ง ที่เขียน
ขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานตามที่เราต้องการ เรา
จะให้คอมพิวเตอร์ทำาอะไรก็เขียนเป็นคำาสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอน
และแต่ละขั้นตอนต้องทำาอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็น
งานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม" ซอฟต์แวร์จะแบ่ง
ออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ
          1.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
          1.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

ขั้น ตอนที่ 1 : รับ ข้อ มูล เข้า (Input)
       เริ่มต้นด้วยการนำาข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถ
ผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป
เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อ
พิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้
เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกา
ชนิดพิเศษสำาหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้าน
ควบคุม (Joystick) สำาหรับเคลื่อนตำาแหน่งของการเล่นบนจอภาพ
เป็นต้น

ขั้น ตอนที่ 2 : ประมวลผลข้อ มูล (Process)
       เมื่อนำาข้อมูลเมาแล้ว เครื่องจะดำาเนินการกับข้อมูลตามคำาสั่ง
ที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ การประมวลผลอาจจะ
มีได้หลายอย่าง เช่น นำาข้อมูลมาหาผลรวม นำาข้อมูลมาจัดกลุ่ม
นำาข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด หรือน้อยที่สดเป็นต้น
                                          ุ

ขั้น ตอนที่ 3 : แสดงผลลัพ ธ์ (Output)
      เป็นการนำาผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทาง
อุปกรณ์ที่กำาหนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ หรือเรียก
กันโดยทั่วไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูล
ออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้




ภาษาโปรแกรมมิ่ง (Programming Language)
     ภาษาโปรแกรมมิ่ง หมาย ถึง ภาษาใดๆ ที่ถูกออกแบบ
โครงสร้างขึ้นมา เพื่อใช้ในการเขียนคำาสั่งหรือชุดคำาสั่ง ส่วนใหญ่
เป็นภาษาอังกฤษที่มนุษย์เข้าใจ ประกอบด้วยโครงสร้างของภาษา
(Structure) รูปแบบไวยากรณ์ (Syntax) และคำาศัพท์ต่าง
ๆ (Vocabulary หรือ Keyword) เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทำางานตามที่เราต้องการ ในงานเขียนโปรแกรมจะต้องมีการเตรี
ยมงานเกี่ยวกับการเขียนโปแกรมอย่างเป็นขั้นตอน เรียกขั้นตอน
เหล่านี้ว่า “ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม ” ดังนี้

ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม
1. การวิเ คราะห์ป ัญ หา
การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
   1.1 กำาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรม
ต้องทำาการประมวลผลอะไรบ้าง
   1.2 พิจารณาข้อมูลนำาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนำาข้อมูล
อะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมีคุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึง
ลักษณะและรูปแบบของข้อมูลที่จะนำาเข้า
   1.3 พิจารณาการประมวลผล ให้ทราบว่าโปรแกรมมีขั้นตอน
การประมวลผลอย่างไร มีเงื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง
   1.4 พิจารณาข้อสนเทศนำาออก เพื่อให้ทราบว่ามีข้อสนเทศ
อะไรที่จะแสดง รูปแบบและสื่อที่จะใช้ในการแสดงผล

2. การออกแบบโปรแกรม
      การออกแบบขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมเป็นขั้นตอนที่
ใช้เป็นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม ผู้ออกแบบขั้นตอนการ
ทำางานของโปรแกรมอาจใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วยในการออกแบบ
อาทิเช่น คำาสั่งลำาลอง (Pseudo code) หรือ ผังงาน (Flow
chart) การออกแบบโปรแกรมนั้นไม่ต้องพะวงกับรูปแบบคำาสั่ง
ภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ให้มุ่งความสนใจไปที่ลำาดับขั้นตอนในการ
ประมวลผลของโปรแกรมเท่านั้น

3. การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษาคอมพิว เตอร์
      การเขียนโปรแกรมเป็นการนำาเอาผลลัพธ์ของการออกแบบ
โปรแกรม มาเปลี่ยนเป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใด
ภาษาหนึ่ง ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรูปแบบคำาสั่ง
และกฎเกณฑ์ของภาษาที่ใช้เพื่อให้การประมวลผลเป็นไปตาม
ผลลัพธ์ที่ได้ออกแบบไว้ นอกจากนั้นผู้เขียนโปรแกรมควรแทรก
คำาอธิบายการทำางานต่างๆ ลงในโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมนั้นมี
ความกระจ่างชัดและง่ายต่อการตรวจสอบและโปรแกรมนี้ยังใช้
เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบ

4. การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม
   การทดสอบโปรแกรมเป็นการนำาโปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้า
คอมพิวเตอร์ เพื่อตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผล
การทำางานของโปรแกรมนั้น ถ้าพบว่ายังไม่ถูกก็แก้ไขให้ถูกต้อง
ต่อไป ขันตอนการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม อาจแบ่งได้
          ้
เป็น 3 ขั้น
   4.1 สร้างแฟ้มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่นิยมนำาโปรแกรม
เข้าผ่านทางแป้นพิมพ์โดยใช้โปรแกรมประมวลคำา
   4.2 ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แปลโปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็น
ภาษาเครื่อง โดยระหว่างการแปลจะมีการตรวจสอบความถูกต้อง
ของรูปแบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ถ้าคำาสั่งใดมีรูปแบบไม่
ถูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมาเพื่อให้ผู้เขียนนำาไปแก้ไขต่อ
ไป ถ้าไม่มีข้อผิดพลาด เราจะได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สามารถ
ให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้
   4.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผลของโปรแกรม
โปรแกรมที่ถูกต้องตามรูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้
ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรม
จำาเป็นต้องตรวจสอบว่าโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตามต้องการ
หรือไม่ วิธีการหนึ่งก็คือ สมมติขอมูลตัวแทนจากข้อมูลจริงนำาไป
                                ้
ให้โปรแกรมประมวลผลแล้วตรวจสอบผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่
ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ต้องดำาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การ
สมมติขอมูลตัวแทนเพื่อการทดสอบเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญเป็น
        ้
อย่างมาก ลักษณะของข้อมูลตัวแทนที่ดีควรจะสมมติทั้งข้อมูลที่ถูก
ต้องและข้อมูลที่ผดพลาด เพื่อทดสอบว่าโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น
                 ิ
สามารถครอบคลุมการปฏิบัติงานในเงื่อนไขต่างๆ ได้ครบถ้วน
นอกจากนี้อาจตรวจสอบการทำางานของโปรแกรมด้วยการสมมติ
ตัวเองเป็นคอมพิวเตอร์ทีจะประมวลผล แล้วทำาตามคำาสั่งทีละคำาสั่ง
ของโปรแกรมนั้นๆ วิธีการนี้อาจทำาได้ยากถ้าโปรแกรมมีขนาด
ใหญ่ หรือมีการประมวลผลที่ซับซ้อน

5. การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม
      การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สำาคัญของการ
พัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรม
เข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจน
ผลลัพธ์ที่จะได้จากโปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควร
ต้องทำาเอกสารกำากับ เพื่อใช้สำาหรับการอ้างอิงเมื่อจะใช้งาน
โปรแกรมและเมื่อต้องการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรม เอกสาร
ประกอบโปรแกรมที่จัดทำา ควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
      1. วัตถุประสงค์
      2. ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ใช้ใน
      โปรแกรม
      3. วิธีการใช้โปรแกรม
      4. แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม
      5. รายละเอียดโปรแกรม
      6. ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ
      7. ผลลัพธ์ของการทดสอบ

6. การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม
        เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว
และถู ก นำา มาให้ผู้ใช้ ได้ ใ ช้ ง าน ในช่ ว งแรกผู้ ใช้ อ าจจะยั ง ไม่ คุ้ น
เคยก็อาจทำาให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุม
ดู แลและคอยตรวจสอบการทำา งาน การบำา รุ ง รั ก ษาโปรแกรมจึ ง
เป็นขั้นตอนที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหาข้อผิดพลาด
ของโปรแกรมในระหว่ า งที่ ผู้ ใ ช้ ใ ช้ ง านโปรแกรม และปรั บ ปรุ ง
โปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือในการใช้งานโปรแกรมไป
นานๆ ผู้ใช้อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทำางานของระบบงานเดิม
เพื่ อ ให้ เ หมาะกั บ เหตุ ก ารณ์ นั ก เขี ย นโปรแกรมก็ จ ะต้ อ งคอย
ปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลง
ไปนั่นเอง
การพัฒนาโปรแกรมจะดำานเนินการตามขั้นตอนที่ 1-6 ซึ่ง
แต่ละขั้นตอน สามารถย้อนกลับไปทำาในขั้นตอนก่อนหน้านี้ได้
เมื่อเกิดความผิดพลาด หรือพัฒนาโปรแกรมไม่ครบถ้วน หรือไม่
ตรงตามความต้องการของู้ใช้ในทุกขั้นตอน ซึ่งการดำาเนนการต่ง
ๆ ของขั้นตอนที่ 1-6 เราจะต้องมีการดำาเนินการทำาเอกสาร
ประกอบโปรแกรม ควบคู่กับการดำาเนนการพัฒนาโปรแกรมตลอด
เมื่อเกิดารแก้ไขเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลอะไรก็ตามในโปรแกรม
จะต้องทำาการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมในอนาคต สำาหรับผู้พัฒนา
ที่จะต้องมาดูแลการใช้งานโปรแกรม และเมื่อพัฒนาโปรแกรม
เสร็จแล้ว ก็จะต้องดำาเนินการทำาเอกสารประกอบการใช้งานให้กับ
ผู้ใช้ เพื่อที่จะสามารถใช้โปรแกรมได้ครบถ้วน และถูกต้อง


ภาษาคอมพิว เตอร์ (Computer
Programming Language)
ชนิด ของภาษาคอมพิว เตอร์          ภาษาคอมพิวเตอร์เริ่มมา
จากในมหาวิทยาลัย หรือในหน่วยงานของรัฐบาลที่ต้องการ
ทำางานบางอย่าง นอกจากนี้ บางภาษาเกิดขึ้นเพราะความต้องการ
ด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ อีกมากมาย ทำาให้มี
ภาษาเกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก

จากการที่มีภาษาจำานวนมากมายนั้น ทำาให้ต้องกำาหนดระดับของ
ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการแบ่งประเภทของภาษาเหล่านั้น
การกำาหนดว่าเป็นภาษาระดับตำ่าหนือภาษาระดับสูง จะขึ้นอยู่กับ
ภาษานั้นใกล้เคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ
1 เรียกว่า ภาษาระดับตำ่า) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้
(ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ เรียกว่า ภาษาระดับสูง)

ภาษาเครื่อ ง (Machine Language) ก่อนปีค.ศ. 1952
มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่อง
(Machine Language) ซึ่งเป็นภาษาระดับตำ่าที่สุด เพราะใช้เลข
ฐานสองแทนข้อมูล และคำาสั่งต่าง ๆ ทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่
กับชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ นั่นคือ
ปต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคำาสั่งเฉพาะของตนเอง ซึ่งนัก
คำานวณและนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องรู้จักวิธีที่จะรวม
ตัวเลขเพื่อแทนคำาสั่งต่า ๆ ทำาให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก
นักคอมพิวเตอร์จึงได้พัฒนาภาษาแอสเซมบลีขึ้นมาเพื่อให้
สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น

ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ต่อมาใน
ปีค.ศ. 1952 ได้มีการพัฒนาโปรแกรมภาษาระดับตำ่าตัวใหม่ ชื่อ
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) โดยที่ภาษาแอส
เซมบลีใช้รหัสเป็นคำาแทนคำาสั่งภาษาเครื่อง ทำาให้นักเขียน
โปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้ว่าการเขียน
โปรแกรมจะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่น ๆ ใน
สมัยนี้ แต่ถ้าเปรียบเทียบในสมัยนั้นก็ถือว่าเป็นการพัฒนาไปสู่ยุค
ของการเขียนโปรแกรมแบบใหม่ คือใช้สัญลักษณ์แทนเลข 0 และ
1 ของภาษาเครื่อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะเป็นคำาสั่งสั้น ๆ ที่จะได้
ง่าย เรียกว่า นิมอนิกโคด (mnemonic code) เช่น

             สัญ ลัก ษณ์น ิว มอ
                                    ความหมาย
                  นิก โคด
                                   การบวก (Add)
                                   การเปรียบเทียบ
                    A
                                    (Compare)
                    C
                                  การคูณ (Muliply)
                    MP
                                   การเก็บข้อมูลใน
                   STO
                                    หน่วยความจำา
                                      (Store)

                    ตัว อย่า งนิว มอนิก โคด



       ถึงแม้ว่านิวมอนิกโคดที่ใช้จะไม่ใช้คำาในภาษาอังกฤษ แต่ก็
เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความหมายให้ผู้ใช้สามารถจดจำาได้ง่ายกว่า
สัญลักษณ์เลข 0 และ 1 ผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลียัง
สามารถกำาหนดชื่อของที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำาเป็นคำาใน
ภาษาอังกฤษ แทนที่จะเป็นเลขที่ตำาแหน่งในหน่วยความจำา เช่น
TOTAL , INCOME เป็นต้น แต่ข้อจำากัดของภาษาภาษาแอส
เซมบลี คือ จะแตกต่างกันไปในแต่ละเครื่องเช่นเดียวกับภาษา
เครื่อง
ผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีต้องใช้ แอสเซมเบลอ
(Assembler) แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทำางานตามต้องการ

ภาษาระดับ สูง (High Level Language)
      ในปีค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับสูง (High
Level Language) ขึน ภาษาระดับสูงจะใช้คำาในภาษาอังกฤษ
                      ้
แทนคำาสั่งต่าง ๆ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ด้วย
ทำาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทาง
แก้ปัญหาเท่านั้น ไม่ต้องเป็นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทำางาน
อย่างไรอีกต่อไป

        ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็น ภาษายุคที่สาม (third-
generation language) ซึ่งทำาให้เกิดการประมวลผลข้อมูลเพิ่ม
มากขึ้นอย่างมหาศาลระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และ
มีผู้หันมาใช้คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น โดยสังเกตได้จามเครื่อง
เมนเฟรมจากจำานวนร้อยเครื่องเพิ่มขึ้นเป็นหมื่นเครื่อง อย่างไร
ก็ตาม ภาษาระดับสูงก็ยังคงต้องการตัวแปลภาษาให้เป็นภาษา
เครื่องเพื่อสั่งให้เครื่องทำางานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้งานกัน
โดยทั่วไปจะเป็นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์
ไม่เหมือนกัน รวมทั้งคอมไพเลอร์แต่ละตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่อง
แต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา COBOL บนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้องเลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL
ที่ทำางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเขียนโปรแกรม
ภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่องที่ต่างกันอาจจะแตกต่างกันได้ เพราะ
คอมไพเลอร์ที่ใช้ต่างกันนั่นเอง

     ภาษาคอมพิวเตอร์บางภาษาได้ถูออแบบมาให้ใช้แก้ปัญหา
งานเฉพาะบางอย่าง เช่น การควบคุมหุ่นยนต์ การสร้างภาพ
กราฟฟิก เป็นต้น แต่ภาษาคอมพิวเตอร์โดยมากจะมีความยืดหยุ่น
ให้ใช้งานทั่ว ๆ ไปได้ เช่น ภาษา BASIC ภาษา COBOL หรือ
ภาษา FORTRAN เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีภาษา C ที่ได้รับ
ความนิยมมากเช่นกัน
ภาษาระดับ สูง มาก (Very high-level Language)
เป็นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรือ 4GLs
จะเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้สั้นกว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การ
ทำางานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านั้น ใน
ขณะที่ถ้าเขียนด้วยภาษา อาจต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้น
ฐานแล้ว ภาษาในยุคที่ 4 นี้มีคุณสมบัติที่แยกจากภาษาในยุคก่อน
ๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อนนั้นใช้หลักการของ การ
เขียนโปรแกรมแบบโพรซีเยอร์ (procedurl language) ใน
ขณะที่ภาษาในยุคที่ 4 จะเป็นแบบ ไม่ใช้โพรซีเยอร์
(nonprocedurl language) ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่กำาหนด
ว่าต้องการให้โปรแกรมทำาอะไรบ้างก็สามารถเขียนโปรแกรมได้
ทันที โดยไม่ต้องทราบว่าทำาได้อย่างไร ทำาให้การเขียนโปรแกรม
สามารถทำาได้ง่ายและรวดเร็ว

มีนักเขียนโปรแกรมกล่าวว่า ถ้าใช้ภาษาในยุคที่ 4 นี้เขียน
โปรแกรมจะทำาให้ได้งานที่เพิ่มขึ้นถึงสิบเท่าตัว ตัวอย่างเช่น ถ้า
ต้องการพิมพ์รายงานแสดงจำานวนรายการสินค้าที่ขายให้ลูกค้า
แต่ละคนในหนึ่งเดือน โดยให้แสดงยอดรวมของลูกค้าแต่ละคน
และให้ขึ้นหน้าใหม่สำาหรับการพิมพ์รายงานลูกค้าแต่ละคน จะ
เขียนโดยใช้ภาษาในยุคที่ 4 ได้ดังนี้

       TABLE FILE SALES
       SUM UNIT BY MONTH BY CUSTOMER BY
       PROJECT
       ON CUSTOMER SUBTOTAL PAGE BREAK
       END



จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่าเป็นงานที่ซับซ้อน ซึ่งถ้าใข้ภาษา
COBOL เขียนอาจจะต้องใช้ถึง 500 คำาสั่ง แต่ถ้าใช้ภาษาในยุค
ที่ 4 นี้จะเป็นสิ่งที่ทำาได้ไม่ยากเลย



ข้อ ดีข องภาษาในยุค ที่ 4
   การเขียนโปรแกรมจะเน้นที่ผลของงานว่า
                       ต้องการอะไร ไม่สนใจว่าจะทำาได้อย่างไร
                      ช่วยพัฒนาเนื้องาน เพราะเขียนและแก้ไข
                       โปรแกรมได้ง่าย
                      ไม่ต้องเสียเวลาอบรมผู้เขียนโปรแกรมมาก
                       นัก ไม่ว่าผู้ที่จะมาเขียนโปรแกรมนั้นมี
                       ความรู้ด้านการเขียนโปรแกรมหรือไม่
                      ผู้เขียนโปรแกรมไม่ต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์
                       ของเครื่องและโครงสร้างโปรแกรม

ภาษาในยุคที่ 4 นี้ยังมีภาษาที่ใช้สำาหรับเรียกดูข้อมูลจากฐาน
ข้อมูลได้ เรียกว่า ภาษาเรียกค้นข้อมูล (query language) โดย
ปกติแล้วการเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูล และการแสดงรายงานจาก
ฐานข้อมูล จะต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า แต่บางครั้งอาจมีการ
เรียกดูข้อมูลพิเศษที่ไม่ได้มีการวางแผนไว้ ถ้าผู้ใช้เรียนรู้ภาษา
เรียกค้นข้อมูลก็จะขอดูรายงานต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้มีการ
วางแผนไว้ได้โดยใช้เวลาไม่มากนัก ภาษาเรียกค้นข้อมูลที่เป็น
มาตรฐานเรียกว่า SQL (Structured Query Language) และ
นอกจากนี้ยังมีภาษา Query Bu Example หรือ QBE ที่ได้รับ
ความนิยมการใช้งานมากเช่นกัน

ภาษาธรรมชาติ (Nature Language) เป็น ภาษายุคที่
5 (fifth generation language) หรือ 5GLs ธรรมชาติหมาย
ถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่ต้องสนใจถึงคำาสั่งหรือลำาดับของ
ข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นคำาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ ซึ่งจะทำาให้มีรูป
แบบของคำาสั่งหรือประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้มากมาย เพราะ
ผู้ใช้แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คำาศัพท์ต่างกัน หรือแม้
กระทั่งบางคนอาจจะใช้ศัพท์แสลงก็ได้ คอมพิวเตอร์จะพยายาม
แปลคำาหรือประโยคเหล่านั้นตามคำาสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้
เข้าใจได้ ก็จะมีคำาถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง
ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู้ (knowledge base
system) ช่วยในการแปลความหมายของคำาสั่งต่าง ๆ

การเลือ กใช้ค อมพิว เตอร์ เนื่องจากในปัจจุบันทุก ๆ ปีจะมี
ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และภาษาต่าง ๆ จะมีจุดดีและ
จุดด้อยแตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจำาเป็นต้องทำาการคัดเลือกภาษาที่จะ
นำามาใช้งานอย่างระมัดระวัง เนื่องจากเมื่อศึกษาและพัฒนา
ซอฟต์แวร์ด้วยภาษาใดภาษาหนึ่งแล้ว การเปลี่ยนไปใช้ภาษาอื่น
ในภายหลังจะเป็นเรื่องที่ยากลำาบากอย่างยิ่ง ทั้งในเรื่องของค่าใช้
จ่ายและเวลาที่ต้องสูญเสียไป รวมทั้งปัญหาของบุคลากรที่ต้อง
ศึกษาหาความชำานาญใหม่อีกด้วย

ในการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะนำามาใช้ สิ่งที่ควรพิจารณาคือ

     - ในหน่วยงานหนึ่ง ๆ ควรจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษา
เดียวกัน เพราะการดูแลรักษาซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น ตลอดจนการ
จัดหาบุคลากรจะกระทำาให้ง่ายกว่า

    - ในการเลือกภาษาควรเลือกโดยดูจากคุณสมบัติหรือข้อดี
ของภาษานั้น ๆ เป็นหลัก

      - ถ้าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นต้องนำาไปทำางานบนเครื่องต่าง
ๆ กัน ควรเลือกภาษาที่สามารถใช้งานได้บนทุกเครื่อง เพราะจะ
ทำาให้เขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียวเท่านั้น

    - ผู้ใช้ควรจำากัดภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ ไม่ควรติดตั้งตัว
แปลภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษาบนเครื่องทุกเครื่อง

    - ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ จะถูกจำากัดโดยนักเขียน
โปรแกรมที่มีอยู่ เพราะควรใช้ภาษาที่มีผู้รู้อยู่บ้าง

      - บางครั้งในงานที่ไม่ยุ่งยากนัก อาจใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
พื้นฐาน เช่น ภาษา BASIC เพราะเขียนโปรแกรมได้ง่ายและ
รวดเร็ว รวมทั้งมีติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากอยู่
แล้ว

        ภาษาคอมพิวเตอร์                 การใช้งาน
    BASIC (Beginner's All-
                                สำาหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียน
    purpose Symbolic
                                โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
    Instruction Code)
    COBOL (Common
                                นิยมใช้ในงานธุรกิจบน
    Business Oriented
                                เครื่องขนาดใหญ่
    Language)
ใช้สำาหรับงานด้าน
FORTRAN (FORmula
                       คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
TRANslator)
                       วิศวกรรมศาสตร์
Pascal (ชื่อของ Blaise ใช้ในวิทยาลัย และ
Pascal)                มหาวิทยาลัย
                       สำาหรับนักเขียนโปรแกรม
C                      และใช้ในวิทยาลัย
                       มหาวิทยาลัย
C++                    สำาหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์
                       เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้
                       เป็นภาษาสำาหรับงานทาง
ALGOL (ALGOrithmic
                       วิทยาศาสตร์ และต่อมามี
Language)
                       การพัฒนาต่อเป็นภาษา
                       PL/I และ Pascal
                       ออกแบบโดยบริษัท IBM ใน
                       ปีค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่
APL (A Programming โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะ
Language)              สำาหรับจัดการกับกลุ่มของ
                       ข้อมูลทีสัมพันธ์กันในรูป
                                ่
                       แบบตาราง
                       ถูกออกแบบมาให้ใช้กับ
                       ข้อมูลที่ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอาจ
                       เป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัว
LISP (LIST Processing)
                       อักษรก็ได้ นิยมใช้ในด้าน
                       ปัญญาประดิษฐ์ (Artifical
                       Inelligence)
                       นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อ
LOGO                   สอนทักษะการแก้ปัญหาให้
                       กับนักเรียน
                       ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงาน
PL/I (Programming
                       ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์
Language One)
                       และธุรกิจ
PROLOG                 นิยมใช้มากในงานด้าน
(PROgramming LOGIC) ปัญญาประดิษฐ์ จัดเป็น
ภาษาธรรมชาติภาษาหนึ่ง
                               ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงาน
    RPG (Report Program        ทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติใน
    Generator)                 การสร้างโปรแกรมสำาหรับ
                               พิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก

             ภาษาคอมพิว เตอร์ก ับ การใช้ง าน



ตัว อย่า งภาษาคอมพิว เตอร์
     ปัจจุบันนี้มีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมายหลาย
ภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานด้านต่าง ๆ กัน
ตัวอย่างเช่น บางภาษาก็ออกแบบมาให้ใช้แก้ปัญหาทางธุรกิจ
บางภาษาก็ใช้ในการคำานวณที่ซับซ้อน ซึ่งจะกล่าวโดยสรุปถึง
การใช้งานของแต่ละภาษาดังนี้

- ภาษา BASIC

       เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ส่วนมาก ใช้สำาหรับผู้เริ่มต้นศึกษาการเขียนโปรแกรม
และผู้ที่เขียนโปรแกรมเป็นงานอดิเรก นิยมใช้ในการเขียน
โปรแกรมสั้น ๆ ภาษา BASIC รุ่นแรกใช้ interpreter เป็นตัว
แปลภาษา ทำาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้
อย่างง่ายดาย แต่ก็ทำางานได้ช้า ทำาให้ผู้ที่เขียนโปรแกรม
เชี่ยวชาญแล้วไม่นิยมใช้งาน แต่ปัจจุบันนี้มีภาษา BASIC รุ่นใหม่
ออกมาซึ่งใช้ conplier เป็นตัวแปลภาษา ทำาให้ทำางานได้คล่อ่ง
ตัวขึ้น เช่น Microsoft's Quick BASIC และ Visual Basic
เป็นต้น




- ภาษา COBOL
เป็นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 นิยมใช้
สำาหรับการแก้ปัญหาทางด้านธุรกิจ เช่น การจัดเก็บ เรียกใช้ และ
ประมวลผลทางด้านบัญชี ตลอดจนทำางานด้านการควบคุมสินค้า
คงคลัง การรับและจ่ายเงิน เป็นต้น

คำาสั่งของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษาอังกฤษทำาให้สามารถ
อ่านและเขียนโปรแกรมได้ไม่ยากนัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL
จะได้รับความนิยมบนเครื่องระดับเมนเฟรม แต่ปัจจุบันนี้จะมีตัว
แปลภาษา COBOL ที่ใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย รวมทั้ง
มีภาษา COBOL ที่ได้รับการออกแบบตามแนวทางเชิงวัตถุ
(Object Oriented) เรียกว่า Visual COBOL ซึ่งช่วยให้
โปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายขึ้น และสามารถนำาโปรแกรมที่เขียน
ไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ อีก

- ภาษา Fortran

     เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท IBM ตั้งแต่
ปีค.ศ. 1957 ย่อมาจากคำาว่า FORmula TRANslator ซึ่งถือว่า
เป็นการกำาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้สำาหรับงานที่มี
การคำานวณมาก ๆ เช่น งานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น

- ภาษา Pascal

     เป็นภาษาระดับสูงที่เอื้ออำานวยให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียน
โปรแกรมได้อย่างมีโครงสร้าง และเขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่า
ภาษาอื่น นิยมใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นภาษาสำาหรับ
การเรียนการสอน และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษา
ปาสคาลมีตัวแปลภาษาทั้งที่เป็น interpreter และ Compiler
โดยจะมีโปรแกรมเทอร์โบปาสคาล (Turbo Pascal) ที่ได้รับ
ความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการศึกษาและธุรกิจ เนื่องจากได้รับ
การปรับปรุงให้ตัวข้อเสียของภาษาปาสคาลรุ่นแรก ๆ ออก

- ภาษา C และ C++

     ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปีค.ศ. 1972 ที่หองปฏิบัติ
                                              ้
การเบลล์ของบริษัท AT&T เป็นภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการ
UNIX ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมคู่กับภาษาซี และมี
การใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ

       ภาษา เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นักเขียน
โปรแกรมเป็นอย่างมาก เนื่องจากภาษา จะเป็นภาษาที่รวมเอก
ข้อดีของภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่นและไวยากรณ์ที่
ง่ายต่อการเข้าใจ กับข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่องของ
ประสิทธิภาพและความเร็วในการทำางานทำาให้โปรแกรมที่พัฒนา
ด้วยภาษาซีทำางานได้เร็วกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง
อื่น ๆ ในขณะที่การพัฒนาและแก้ไขโปรแกรมสามารถทำาได้ง่าย
เช่นเดียวกันภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ภาษา C ยังได้มี
การพัฒนาก้าวหน้าขึ้นไปอีก โดยทำาการประยุกต์แนวความคิด
ของการโปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทำาให้เกิดเป็นภาษา
ใหม่คือ C++ (++ ในความหมายของภาษาซีคือการเพิ่มขึ้นอีก
หนึ่งนั่นเอง) ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้งานพัฒนา
โปรแกรมอย่างมาก

- ภาษาโปรแกรมเชิง วัต ถุ (Object-Oriented
Programming Language)

     นักเขียนโปรแกรมบางคนคิดว่าการเขียนโปรแกรมขนาด
ใหญ่นั้น บางครั้งก็เป็นงานที่หนักและเสียเวลามาก จึงได้พยายาม
คิดหาวิธีที่จะทำาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้น และสามารถ
เขียนได้อย่าวรวดเร็ว ทำาให้เกิดเทคนิค การโปรแกรมเชิงวัตถุ
(Object-Oriented Programming) หรือ OOP เพื่อช่วยลด
ความยุ่งยากของการเขียนโปรแกรม

     Object-Oriented Programming ต่างจากการเขียน
โปรแกรมโดยทั่ว ๆ ไป โดยการเขียนโปรแกรมตามปกตินั้น ผู้
เขียนโปรแกรมจะพิจารณาถึงขั้นตอนการแก้ปัญหาของโปรแกรม
เหล่านั้น แต่เทคนิคของ OOP จะมองเป็น วัตถุ (object) เช่น
กล่องโต้ตอบ (dialog box) หรือไอคอนบนจอภาพ เป็นต้น โด
ยออบเจ็คใดออบเจ็คหนึ่งจะทำางานเฉพาะที่แน่นอน ถ้าผู้ใช้
ต้องการทำางานชนิดนั้นก็สามารถคัดลอกไปใช้ในโปรแกรมที่
ต้องการได้ทันที
โปรแกรมเดลไฟ



       หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุได้รับการพัฒนามาเป็นเวลา
นานแล้ว โดยภาษาเริ่มแรกคือ Simula-67 ได้รับการพัฒนาขึ้น
ตั้งแต่ปี 1967 และต่อมาก็มีภาษา smalltalk ซึ่งเป็นภาษาเชิง
วัตถุเต็มรูปแบบ นอกจากนี้ หลักการของ OOP ยังได้รับการนไป
เสริมเข้ากับภาษาโปรแกรมในยุคที่ 3 คือ C จนเกิดเป็นภาษาใหม่
คือ C++ รวมทั้งยังมีการเสริมเข้ากับ การโปรแกรมแบบภาพ
(visual programming) ทำาให้เกิด Visual Basic ซึ่งมีรากฐาน
มาจาก BASIC และ Delphi ซึ่งมีรากฐานมาจาก Pascal
นอกจากนี้ ในปัจจุบันจะมีภาษาที่ใช้หลักการโปรแกรมเชิงวัตถุตัว
ใหม่ล่าสุดซึ่งกำาลังมาแรงและมีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมสูงคู่
กันอินเตอร์เน็ต นั่นคือภาษา JAVA

- ภาษาที่อ อกแบบมาสำา หรับ OOP

     การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่มี การติดต่อกับผู้ใช้แบบ
กราฟฟิก (Graphical User Interface หรือ GUI) เช่น
Microsoft Windows และ World Wide Web จะสามารถ
ทำาได้ง่าย รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายไม่มากนัก ด้วยเครื่องมือใน
การพัฒนาที่ใช้หลักการของ OOP ซึ่งในปัจจุบันจะมีเครื่องมือ
ประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมอย่างมากอยู่ 2 ภาษา คือ Visual
Basic และ JAVA
- Visual Basic

       ภาษา Visual Basic พัฒนาโดย Prof. Kemeny และ
Kurtz ที่เมือง Dartmouth ในปีค.ศ. 1960 โดยมีจุดประสงค์
สำาหรับใช้สอนในห้องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการพัฒนาเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ขึ้นในยุคแรก ๆ จะมีหน่วยความจำาไม่เพียงพอที่จะ
ทำางานกับโปรแกรมภาษาอื่น เช่น FORTRAN และ COBOL
เพราะขนาดของตัวแปรภาษาซึ่งต้องใช้หน่วยความจำาสูงมาก แต่
เครื่องเหล่านั้นสามารถใช้ภาษา BASIC ได้ เพราะภาษา BASIC
ใช้ตัวแปลภาษาที่มีขนาดเล็ก และตัวแปลภาษานั้นไม่ต้องเก็บอยู่
ในหน่วยความจำาทั้งหมดก็สามารถทำางานได้ เป็นเหตุให้ภาษา
BASIC ได้รับความนิยมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์จะได้รับการพัฒนาสูงขึ้นในเรื่องของความเร็ว
และหน่วยความจำาเท่าใดก็ตาม แต่ภาษา Visual Basic จะแตก
ต่างจากภาษา BASIC โดยสิ้นเชิง ทั้งในแง่ของหน่วยความจำาที่
ต้องการ และวิธีการพัฒนาโปรแกรม




                   โปรแกรมวิช วลเบสิค



      ภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบและพัฒนาโดย
บริษัท Microsoft มีจุดประสงค์ในการใช้เป็นเครื่องมือพัฒนา
โปรแกรมที่มีการติดต่อับผู้ใช้เป็นแบบกราฟฟิก โดยจะมีเครื่องมื่อ
ต่าง ๆ ที่ช่วยในการพัฒนาโปรแกรมอย่างรวดเร็ว หรือที่นิยมเรียก
ว่า RAD (Repid Application Development) ปัจจุบันนี้มีผู้
ใช้งานภาษา Visual Basic เป็นจำานวนมาก โดยภาษา Visual
Basic ได้รับการออกแบบให้ทำางานบนระบบวินโดว์เวอร์ชั่นต่าง ๆ
จากไมโครซอฟต์ เช่น Visual Basic 3 ทำางานบนระบบวินโดว์
3.11 ส่วน Visual Basic 4 และ 5 ทำางานบนระบบวินโดว์ 95
เป็นต้น

- JAVA

       ภาษาใหม่ที่มาแรงที่สุดในปัจจุบัน คงจะไม่มีภาษาไหนที่
เทียบได้รับภาษาจาวาซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นโดยบริษัทซันไมโคร
ซิสเตมส์ ในปี 1991 โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างผลิตภัณฑ์อิเลค
ทรอนิกส์สำาหรับผู้บริโภคที่ง่ายต่อการใช้ง่าย มีค่าใช้จ่ายตำ่า ไม่มี
ข้อผิดพลาด และสามารถใช้กับเครื่องใด ๆ ก็ได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็ได้
กลายเป็นข้อดีของจาวาที่เหนือกว่าภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การที่โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นด้วยจาวาสามารถนำาไปใช้กับเครื่อง
ต่าง ๆ โดยไม่ต้องทำาการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ทำาให้ไม่จำากัด
อยู่กับเครื่องหรือโอเอสตัวใดตัวหนึ่ง แม้ว่าการใช้งานจาวาในช่วง
แรกจะจำากัดอยู่กับ World Wide Web (WWW) และ Internet
แต่ในปัจจุบันได้มีการนำาจาวาไปประยุกต์ใช้กับงานด้าน
ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ อย่างมากมาย ตั้งแต่ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์
(Utility) ไปจนกระทั่งซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น โปรแกรมชุด
จากบริษัท Corel ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมหลัก ๆ คือ โปรแกรม
เวิร์โปรเซสซิ่ง สเปรดซีต พรีเซนเตชั่น ที่เขียนขึ้นด้วยจาวา
ทั้งหมด

      จาวายังสามารถนำาไปใช้เป็นภาษาสำาหรับอุปกรณ์แบบฝัง
ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ และอุปกรณ์ขนาดมือถือแบบต่าง ๆ เป็นต้น
รวมทั้งยังได้รับความนิยมนำาไปใช้กับอุปกรณ์ที่ใช้สำาหรับเข้าสู่
อินเตอร์เน็ตโดยไม่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้แล้ว จาวายัง
เป็นภาษาที่ถูกใช้งานในคอมพิวเตอร์แบบเอ็นซี (NC) ซึ่งเป็น
คอมพิวเตอร์แบบใหม่ล่าสุด ที่เน้นการทำางานเป็นเครือข่ายว่า
แอพเพลต (applet) ที่ต้องการใช้งานขณะนั้นมาจากเครื่องแม่
ทำาให้การติดต่อสื่อสารสารผ่านเครือข่ายใช้ช่องทางการสื่อสาร
น้อยกว่าการดึงมาทั้งโปรแกรมเป็นอย่างมาก
การเลือ กใช้ภ าษาคอมพิว เตอร์
     ในการเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้ ก็
จะมีดารพิจารณาหลายอย่าง
   ด้วยกัน ดังที่จะกล่าวดังต่อไปนี้

           -ในบางครั้งซึ่งในงานที่ไม่ยุ่งยากนักก็อาจใช้ภาษา
คอมพิวเตอร์พื้นฐานอย่างเช่น ภาษา Basic เพราะเขียนโปรแกรม
ได้ง่าย รวดเร็ว และก็ยังมีติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
ส่วนมากอยู่ด้วย
           - ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ก็จะถูกจำากัดโดยนัก
เขียนโปรแกรม เพราะว่าเราควรใช้ภาษา ที่มีผู้รอยู่บ้าง
                                                 ู้
           - ผู้ใช้ก็ควรที่จะกำาจัดภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ด้วย
ไม่ควรติดตั้งตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
   ทุกภาษาบนเครื่อง
           -ในการเลือกภาษาในการเขียนโปรแกรม เราก็ควร
เลือกโดยการดูจากคุณสมบัติหรือข้อดีของ ภาษานั้น ๆ เป็นหลัก
ด้วย

ลัก ษณะของภาษา html
องค์ประกอบของภาษา HTML สามารถแบ่งออกเป็น 2
ส่วน คือ
1) ส่วนที่เป็นข้อความทั่วๆไป
2) ส่วนที่เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดรูปแบบของข้อความที่แสดง
ซึ่งเราเรียกคำาสั่งนี้ว่า แท็ก
(Tag) โดยแท็กคำาสั่งของ HTML จะอยู่ในเครื่องหมาย < และ >
ซึ่งมีหลักในการเขียน คือ
ส่วนเริ่มต้นของแท็ก เรียกว่า “แท็กเปิด” และส่วนจบของแท็ก
เรียกว่า “แท็กปิด” โดยส่วนของ
แท็กปิดจะต้องมีเครื่องหมาย Slash (/) ดังนี้
ในกรณีที่ใช้แท็กซ้อนกันมากกว่า 1 แท็ก เราจะต้องใช้แท็กปิด
ปิดแท็กในสุดก่อน แล้วจึงไล่ปิด
แท็กอื่นๆ ตามลำาดับ เช่น
- บางแท็กไม่ต้องมีแท็กปิดก็สามารถใช้งานได้ คือ <br> , <hr>
- สามารถพิมพ์แท็กเป็นตัวเล็ก หรือตัวใหญ่ก็ได้ แต่ควรจะเลือก
ใช้เพียงแบบเดียว
- บางแท็กจะมีตัวกำาหนดคุณสมบัติ เรียกว่า แอททริบิวท์
(Attribute) และค่าที่ถูกกำาหนดให้
ใช้แท็ก (Value) โดยจะเขียนไว้หลังแท็ก
เช่น <hr width=600 size=5>
แท็ก <hr> เป็นการกำาหนดเส้นขั้นทางแนวนอน
แอททริบิวท์ width กำาหนดความยาวของเส้น
ค่าที่ใช้กำาหนด 60 ค่าความยาวของเส้น

หลัก การเขีย นภาษา HTML
1. รู้จ ัก กับ ภาษา HTML (HTML Introduction)
      HTML ย่อมาจาก HyperText Markup Language เป็น
หนึ่งในภาษาคอมพิวเตอร์ ที่มี
ลักษณะเป็นภาษาในเชิงการบรรยายเอกสารไฮเปอร์มีเดีย
(Hypermedia Document Description
Language) เพื่อเผยแพร่เอกสารในระบบเครือข่าย WWW
(World Wide Web) มีโครงสร้างภาษา
โดยใช้ตัวกำากับ (Markup Tags) เพื่อทำาหน้าที่ควบคุมการแสดง
ผลข้อมูล รูปภาพ และวัตถุอื่น ๆ
ผ่านทางโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ซึ่งในแต่ละ Tag จะมีส่วนขยาย
(Attribute) เพื่อควบคุมการ
แสดงผล ซึ่งเป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย World Wide Web
Consortium (W3C) ซึ่งมีแม่แบบคือ
ภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language)
การสร้างไฟล์ HTML จะต้องอาศัยโปรแกรมที่มีคุณสมบัติเป็น
เท็กซ์เอดิเตอร์ (Text
Editor) โดยใช้สำาหรับเขียนคำาสั่งต่าง ๆ ที่ต้องการแสดงผลทาง
จอภาพ และเก็บเป็นไฟล์ โดยมี
นามสกุล .html หรือ .htm

1.1 เริ่ม ต้น เขีย นภาษา HTML
        การเริ่มต้นเขียนภาษา HTML สามารถทำาได้โดยง่าย ถ้าใช้
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์
(Windows) ให้เปิดโปรแกรม Notepad
พิมพ์คำาสั่งตามตัวอย่างต่อไปนี้
<html>
<head>
<title>Title of page</title>
</head>
<body>
This is my first homepage. <b>This text is bold</b>
</body>
</html>
บันทึกไฟล์ โดยตั้งชื่อ ”mypage.htm” หรือ ”mypage.html”
เปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เลือก ”Open” ในเมนู File และ
ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์จะแสดงผลจากคำาสั่งออกทางจอภาพ
Tag แรกในเอกสาร HTML คือ <html> ซึ่งเป็น Tag ที่บอกให้
เว็บบราวเซอร์รู้ว่าเป็น
จุดเริ่มต้นของเอกสาร HTML และ Tag สุดท้ายในเอกสาร ก็คือ
</html> ซึ่งเป็น Tag ที่บอกเว็บ
บราวเซอร์ว่านี่คือจุดสิ้นสุดของเอกสาร HTML
ตัวอักษรระหว่าง <head> และ </head> เป็น Tag ส่วนหัว
เอกสารที่ใช้บอกข้อมูล ต่าง
ๆ (Header Information) จะไม่แสดงข้อมูลที่อยู่ภายใน Tag นี้
ออกทางจอภาพ
ตัวอักษรที่อยู่ระหว่าง <title> เป็น Tag ที่แสดงชื่อของเอกสาร
ซึ่ง Tag <title> จะแสดง
ข้อมูลในเว็บบราวเซอร์ตรง Title bar
ตัวอักษรที่อยู่ระหว่าง <body> จะเป็น Tag ที่ใช้แสดงตัวอักษร
ภายในเว็บบราวเซอร์
ตัวอักษรระหว่าง <b> และ </b> จะทำาให้ตัวอักษรที่แสดงเป็น
ตัวหนา
1.2 ควรเลือ กระหว่า ง HTM และ HTML
       เมื่อทำาการบันทึกเอกสาร HTML สามารถทำาการเลือกบันทึก
ได้ทั้ง .htm หรือ .html ใน
ตัวอย่างนี้ได้ใช้การบันทึกแบบ .htm ซึ่งควรที่จะทำาการบันทึก
เป็นนามสกุล .htm ให้ตดเป็นนิสัย
                          ิ
เนื่องจากในอดีตที่ผ่านมายังมีบางโปรแกรมที่อนุญาตให้เปิดได้
เฉพาะสามตัวอักษร หมายความว่า
จะทำาให้เปิดได้เฉพาะเอกสาร .htm เท่านั้น แต่ในซอฟต์แวร์
เวอร์ชันใหม่ เราก็สามารถที่จะทำาการ
บันทึกเอกสารให้เป็น .html ได้เช่นกัน

1.3 HTML Editors
      ปัจจุบันนี้สามารถที่จะทำาการสร้างเอกสาร HTML ได้อย่าง
ง่ายดาย โดยใช้ WYSIWYG
(what you see is what you get) ซึ่งผลลัพธ์ของโปรแกรมที่
เห็นจะเหมือนกับหน้าจอที่ได้ทำาการ
สร้างขึ้นมา เช่นโปรแกรม FrontPage, Adobe Photoshop,
Macromedia Dreamweaver
แต่ถ้าต้องการที่จะเพิ่มทักษะความสามารถในการพัฒนาเว็บ ก็ควร
ที่จะทำาการเรียนรู้คำาสั่ง
และสร้างเอกสาร HTML ด้วยตัวเอง

2. องค์ป ระกอบของ HTML (HTML Elements)
     เอกสาร HTML ก็คือไฟล์เอกสาร (Text File) ที่สร้างขึ้น
โดยมีองค์ประกอบของ HTML ซึ่ง
องค์ประกอบของ HTML ก็คือ Tag ต่าง ๆ นั่นเอง

2.1 HTML Tags
     HTML Tags จะประกอบด้วยเครื่องหมาย < และ > โดย
ปกติทั่วไปแล้ว HTML Tag
จะต้องมีหนึ่งคู่กัน เช่น <b> และ </b> โดยจะมี Tag เริ่มต้น
(Start Tag) และ Tag สิ้นสุด (End
Tag) ซึ่งตัวอักษรที่อยู่ระหว่าง Tag เริ่มต้น และ Tag สิ้นสุด จะ
เรียกว่าองค์ประกอบ โดยทั่วไป
แล้ว HTML Tag สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ (Not Case
Sensitive) เช่น <b> จะมีความหมาย
เหมือนกับ <B>

2.2 HTML Elements
จากตัวอย่างต่อไปนี้
<html>
<head>
<title>Title of page</title>
</head>
<body>
This is my first homepage. <b>This text is bold</b>
</body>
</html>
HTML Element ก็คือ
<b> This text is bold </b>
HTML Element เริ่มต้นที่ Tag เริ่มต้น ก็คือ: <b>
ภายใน HTML Element จะมีส่วนประกอบ ก็คือ: This text is
bold
HTML Element สิ้นสุดที่ Tag สิ้นสุด ก็คือ: </b>
จุดประสงค์ของ Tag <b> ก็คือการกำาหนดให้แสดงตัวอักษรเป็น
ตัวหนา

2.3 ทำา ไมถึง ต้อ งใช้ Tag ที่เ ป็น ตัว อัก ษรพิม พ์เ ล็ก
(Lowercase)
      ก่อนหน้านี้ได้กล่าวถึง HTML Tag ว่าสามารถเขียนได้ 2
รูปแบบ: <B> จะมีความหมาย
เช่นเดียวกับ <b> แต่จากตัวอย่างที่ผ่านมาได้ใช้ Tag ที่เป็นตัว
อักษรพิมพ์เล็ก เนื่องจากว่าใน
อนาคตข้างหน้าภาษา HTML จะถูกกำาหนดให้ใช้ Tag ที่เป็นตัว
อักษรพิมพ์เล็ก โดยที่ World
Wide Web Consortium (W3c) ได้มีขอกำาหนดให้ใช้ Tag ที่
                                           ้
เป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กใน HTML 4
และ XHTML

2.4 Tag Attributes
      Tag สามารถที่จะกำาหนดให้มีคุณสมบัติ (Attribute) เพิ่ม
เติม ซึ่งคุณสมบัติต่าง ๆ เหล่านั้น
สามารถเพิ่มเติมได้ในส่วนของ HTML Element
Tag ที่ใช้ในการกำาหนดองค์ประกอบของตัวเอกสาร HTML:
<body> สามารถที่จะเพิ่มเติม
คุณสมบัติ bgcolor ซึ่งคำาสั่ง bgcolor จะทำาให้เว็บบราวเซอร์
เปลี่ยนสีพื้นหลังของเอกสาร HTML
เช่น <body bgcolor = ”red”> หมายถึงการกำาหนดพื้นหลัง
ของเอกสาร HTML ให้เป็นสีแดง
Tag ที่ใช้สร้างตาราง: <table> สามารถทำาการปรับเปลี่ยน
คุณสมบัติของเส้นขอบ
(Border) ได้โดยใช้คำาสั่ง <table border = ”0”> หมายถึง
กำาหนดให้ตารางนั้นไม่มีเส้นขอบ
Attribute จะต้องประกอบด้วย ชื่อ และค่า: name = ”value”
โดยทั่วไปแล้ว Attribute จะ
เพิ่มลงในส่วนของ Tag เริ่มต้นของ HTML Element




3. พื้น ฐาน HTML Tags
วิธีการที่จะเรียนรู้ภาษา HTML ที่ดีที่สุดก็คือการลงมือปฏิบัติ

3.1 Headings
       Heading เป็นการกำาหนดหัวข้อ โดยใช้ Tag <h1> ถึง
<h6> โดยที่ <h1> เป็นการกำาหนด
หัวข้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุด <h6> เป็นการกำาหนดหัวข้อที่มขนาด
                                                      ี
เล็กที่สุด
โดยทั่วไปแล้ว HTML จะทำาการเพิ่มบรรทัดว่างก่อน และหลัง
Heading เสมอ

3.2 Paragraphs
     Paragraphs เป็นการกำาหนดย่อหน้า โดยใช้ Tag <p>
<p>This is a paragraph</p>
<p>This is another paragraph</p>
โดยทั่วไปแล้ว HTML จะทำาการเพิ่มบรรทัดว่างก่อน และหลัง
Paragraph เสมอ

3.3 Line Breaks
     Tag <br> ใช้สำาหรับต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ แต่ไม่ได้
เป็นการเริ่ม paragraph ใหม่
<p>This is a paragraph <br> with line breaks</p>
Tag <br> จะมีไม่ Tag ปิด

3.4 Comments in HTML
     Comment ใช้สำาหรับแทรกคำาแนะนำาลงในเอกสาร HTML
แต่ comment จะไม่ถูกนำาไป
แสดงในเว็บบราวเซอร์ สามารถใช้ comment ในการอธิบาย
code ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถเข้าใจ
และสามารถแก้ไข code ได้ภายหลัง

4. HTML Character Entities
     บางกรณีตัวอักษรพิเศษเช่น © หรือ ® ถ้าต้องการที่จะแสดง
ผลในเว็บบราวเซอร์ จะต้อง
ใช้ Character Entity เพื่อที่จะทำาให้ตัวอักษรพิเศษเหล่านั้น
แสดงผลได้ทางเว็บบราวเซอร์

5. HTML Links
       HTML ใช้ Hyperlink เพื่อทำาการเชื่อมโยงไปยังเอกสาร
อื่น ๆ ที่อยู่ในเว็บ

5.1 The Anchor Tag and the Href Attribute
      HTML ใช้ Tag <a> (anchor) เพื่อทำาการเชื่อมโยงไปยัง
เอกสารอื่น ๆ โดยสามารถที่จะ
เชื่อมโยงไปยังเอกสาร HTML, รูปภาพ, เสียง และอื่น ๆ
รูปแบบที่ใช้ในการสร้าง anchor

5.2 The Target Attribute
        ในส่วนของเป้าหมาย (Target Attribute) สามารถกำาหนด
พื้นที่ในการเปิดเอกสาร จาก
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการกำาหนดการเปิดเอกสารในหน้าต่างเว็บ
บราวเซอร์ใหม่

5.3 The Anchor Tag and the Name Attribute
     Name Attribute ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อของ anchor
(Name anchor) เมื่อใช้ชื่อของ anchor
สามารถที่จะทำาการกระโดดไปยังจุดที่ต้องการในเว็บเพจเดียวกัน
ได้
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นโครงสร้างของการกำาหนดชื่อของ anchor

6. HTML Frames
    Frames สามารถทำาให้แสดงเว็บเพจได้มากกว่า 1 หน้า
ภายในหนึ่งหน้าวินโดวส์

6.1 The Frameset Tag
      Tag <frameset> เป็นการแบ่งหน้าวินโดวส์ โดยสามารถ
กำาหนดได้ทั้ง แถว และคอลัมน์
ค่า (values) ของแถว/คอลัมน์ จะเป็นค่าที่ใช้กำาหนดขนาดของ
จอภาพ

6.2 The Frame Tag
      Tag <frame> ใช้กำาหนดชื่อเอกสาร HTML ที่ตองการ
                                                   ้
แสดงในแต่ละคอลัมน์ หรือแถว
จากตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการกำาหนดให้มี 2 คอลัมน์ ในคอลัมน์
แรกกำาหนดให้มีขนาด 25%
ของความกว้างของหน้าจอวินโดวส์ คอลัมน์ที่สองกำาหนดให้มี
ขนาด 75% ของความกว้างของ
หน้าจอวินโดวส์ เอกสาร HTML ”frame_a.htm” จะถูกแสดงผล
ที่คอลัมน์แรก และเอกสาร
HTML ”frame_b.htm” จะถูกแสดงผลคอลัมน์ที่สอง

7. HTML Tables
     Tables จะถูกกำาหนดโดย Tag <table> Table จะถูกแบ่ง
ออกเป็นแถว (Tag <tr>) ในแต่
ละแถวจะแบ่งเป็นเซลล์ข้อมูล (Data Cells) (Tag <td>) ซึ่งใน
เซลล์ข้อมูลนั้นสามารถที่จะเป็นได้
ทั้งข้อความ รูปภาพ ฟอร์ม (Form) ตาราง และอื่น ๆ

7.1 Tables และ Border Attribute
     โดยทั่วไปแล้วถ้า Table ไม่มีการกำาหนด Border เว็บ
บราวเซอร์จะไม่แสดงขอบของ
ตารางออกทางหน้าจอ ดังนั้นเพื่อให้เว็บบราวเซอร์ทำาการแสดง
ขอบของตาราง จะต้องเพิ่ม
Border Attribute ลงไป

7.2 Headings in a Table
     หัวของตารางกำาหนดโดย Tag <th>

8. HTML Lists
      HTML จะประกอบด้วย Ordered Lists และ Unordered
Lists

8.1 Unordered Lists
       Unordered List คือรายการ (items) ซึ่งจะแสดงเป็น
เครื่องหมาย โดย Unordered List
เริ่มต้นด้วย Tag <ul> และในแต่ละรายการจะเริ่มต้นด้วย Tag
<li>

8.2 Ordered Lists
    Ordered List ก็คือรายการ แต่จะแสดงด้วย โดย
Ordered List จะเริ่มต้อนด้วย Tag <ol>
และในแต่ละข้อจะเริ่มต้นด้วย Tag <li>

9. HTML Images
     HTML สามารถที่จะแสดงรูปภาพในเอกสาร HTML

9.1 Image Tag และ Src Attribute
     ใน HTML ถ้าต้องการที่จะแทรกรูปภาพลงในเอกสารจะใช้
Tag <img> โดย <img>
ประกอบไปด้วย Attribute และจะไม่มี Tag ปิด โดยทำาหน้าที่
แสดงรูปภาพในเว็บบราวเซอร์ ใน
Tag <img> จะต้องประกอบไปด้วย Attribute src ซึ่ง src
เปรียบเสมือนแหล่งที่เก็บรูปภาพ
(Source) ซึ่งค่าที่อยู่ใน src ก็คือ URL ของรูปภาพที่ต้องการ
แสดงในเว็บบราวเซอร์นั่นเอง
โครงสร้างของ Tag <img> มีดังนี้
<img src = ”url”>
URL จะเป็นตัวที่บอกถึงสถานที่จัดเก็บรูปภาพ เช่นถ้ารูปภาพมีชื่อ
ว่า "boat.gif" จัดเก็บ
ไว้ในไดเรกทอรี่ ”image” ซึ่งอยู่ใน ”www.it.msu.ac.th” จะมี
URL ดังนี้
http://www.it.msu.ac.th/image/images/boat.gif

9.2 Alt Attribute
     alt attribute ใช้แสดงข้อความ (alternate text) ใน
แต่ละรูปภาพ แสดงดังตัวอย่างต่อไปนี้
<img src = ”boat.gif” alt = ”Big Boat”>
alt attribute ใช้บอกผู้อ่านเมื่อเว็บบราวเซอร์ไม่สามารถทำาการ
แสดงรูปภาพนั้นออกทาง
หน้าจอ ดังนั้นจากตัวอย่างข้างต้น ถ้าไม่สามารถทำาการแสดง
รูปภาพ เว็บบราวเซอร์จะทำาการ
แสดงข้อความ ”Big Boat” แทน

10. HTML Backgrounds
     HTML สามารถที่จะแสดงพื้นหลัง (Background) เป็นสี
และก็สามารถแสดงเป็นรูปภาพ
ได้ Tag <body> จะประกอบด้วย 2 Attribute ซึ่งสามารถ
กำาหนดให้เป็นสี หรือรูปภาพก็ได้

10.1 Bgcolor
bgcolor attribute จะทำาการกำาหนดพื้นหลังของเว็บเพจให้มี
สีสัน โดยค่าของ bgcolor จะ
ประกอบด้วยเลขฐานหก (Hexadecimal Number), ค่าสี RGB
หรือชือของสี
       ่
คำา สั่ง ในภาษา HTML
                        คำา สั่ง พื้น ฐาน
< !– ข้อความ –>คำาสั่ง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผู้
               เขียนโปรแกรม และอื่นๆ
<br>           คำาสั่งขึ้นบรรทัดใหม่
<p> ข้อความ
               คำาสั่งย่อหน้าใหม่
</p>
<hr
width=”50%” คำาสั่ง ตีเส้น, กำาหนดขนาดเส้น
size = “3″>
&nbsp;         คำาสั่ง เพิ่มช่องว่าง
<IMG SRC =
               คำาสั่งแสดงรูปภาพชื่อ Photo.gif
“PHOTO.GIF”>
<CENTER>
ข้อความ        คำาสั่งจัดให้ข้อความอยู่กึ่งกลาง
</CENTER>
<HTML>         คำาสั่ง <HTML> คือคำาสั่งเริ่มต้นในการเขียน
</HTML>        โปรแกรม HTML และมีคำาสั่ง </HTML> เพื่อ
               บอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม
<HEAD>         คำาสั่ง <HEAD> คือคำาสั่งบอกส่วนที่เป็นชื่อ
</HEAD>        เรื่อง โดยมีคำาสั่งย่อย <TITLE> อยู่ภายใน
<TITLE>        คำาสั่ง <TITLE> คือคำาสั่งบอกชื่อเรื่อง จะไป
</TITLE>       ปรากฏที่ Title Bar
<BODY>         คำาสั่ง <BODY> คือคำาสั่งบอกส่วนเนื้อเรื่อง ที่
</BODY>        จะถูกแสดงผลในเวปบราวเซอร์ ประกอบด้วย
รูปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็นต้น




                    รูป แบบตัว อัก ษร
<font size = “3″> ขนาดตัวอักษร
ข้อความ </font>
<font color =
“red”> ข้อความ     สีตัวอักษร
</font>
<font face =
“Arial”> ข้อความ   รูปแบบตัวอักษร
</font>
<besefont size =
“2″> ข้อความ       กำาหนดค่าเริ่มต้นของขนาดตัวอักษร
</font>
<b> ข้อความ </b> ตัวอักษรหนา
<i> ข้อความ </i> ตัวอักษรเอน
<u> ข้อความ </u> ขีดเส้นใต้ตัวอักษร
<tt> ข้อความ </tt> ตัวอักษรแบบพิมพ์ดีด

                   หมายเหตุุ เราสามารถใช้คำาสั่งกำาหนด
                   รูปแบบตัวอักษร หลายๆรูปแบบได้ เช่น
                   <font face = “Arial” size = “3″
                   color = “red”> ข้อความ </font>
                   เป็นต้น
จุด เชื่อ มโยงข้อ มูล
<a href =”#news”> Hot News กำาหนดจุดเชื่อมชื่อ news
</a> ,                           ส่วน “a name” คือ
<a name =”news”>                 ตำาแหน่งที่ลิงค์ไป (เอกสาร
                                 เดียวกัน)
<a href =”news.html”> Hot        สร้างลิงค์ไปยังเอกสารชื่อ
News </a>                        “news.html”
<a href
=”http://www.thai.com”> Thai สร้างลิงค์ไปยังเวปไซท์อื่น
</a>
<a href
                                 สร้างลิงค์ไปยังเวปไซท์อื่น
=”http://www.thai.com”
                                 และเปิดหน้าต่างใหม่
target = “_blank” > Thai </a>
<a href                          สร้างลิงค์โดยใช้รูปภาพชื่อ
=”http://www.thai.com”>          photo.gif เป็นตัวเชื่อม
<img src = “photo.gif”> </a>
<a href
=”mailto:yo@mail.com”>           สร้างลิงค์มายังอีเมล
Email </a>



     การแสดงผลแบบรายการแบบมีห มายเลขกำา กับ
การแสดงผลแบบรายการ
<OL value = “1″ >
                            ใช้คำาสั่ง <OL> เป็นเริ่มและ
<LI> รายการที่ 1
                            ปิดท้ายด้วย </OL> ส่วนคำา
<LI> รายการที่ 2
                            สั่ง <LI> เป็นตำาแหน่งของ
</OL>
                            รายการที่ต้องการนำาเสนอ
                            เราสามารถกำาหนดให้แสดง
                            ผลรายการได้หลายแบบเช่น
                            เรียงลำาดับ 1,2,3… หรือ
                            I,II,III… หรือ A,B,C,… ได้
                            ทั้งนี้จะต้องเพิ่มคำาสั่งเข้าไป
                            ที่ <OL value = “A”>
                            เป็นต้น




    การแสดงผลแบบรายการแบบมีส ัญ ลัก ษณ์ก ำา กับ
<UL type = “square”>   การแสดงผลแบบรายการ
<LI> รายการที่ 1       ใช้คำาสั่ง <UL> เป็นเริ่มและ
<LI> รายการที่ 2       ปิดท้ายด้วย </UL> ส่วนคำา
</UL>                  สั่ง <LI> เป็นตำาแหน่งของ
                       รายการ ที่ตองการนำาเสนอ
                                      ้
                       เราสามารถกำาหนดให้แสดง
                       ผลรายการแบบต่างๆ ดังต่อ
                       ไปนี้
                       - รูปวงกลมทึบ “disc”
                       - รูปวงกลมโปร่ง “circle”
                       - รูปสี่เหลี่ยม “square”
                       ได้ทั้งนี้จะต้องเพิ่มคำาสั่ง
                       เข้าไปที่ <UL type =
                       “square”> เป็นต้น
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorware
pui3327
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
Nicharee Piwjan
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Wityaporn Pleeboot
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
คีตะบลู รักคำภีร์
 
ประมวลผลคำ
ประมวลผลคำประมวลผลคำ
ประมวลผลคำ
Nattariya Nangmor
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010
noismart
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
Kriangx Ch
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Errorrrrr
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
winewic199
 

La actualidad más candente (19)

Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorware
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
ประมวลผลคำ
ประมวลผลคำประมวลผลคำ
ประมวลผลคำ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรมเล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 

Destacado

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
sapol tamgsongcharoen
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
Tay Atcharawan
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Worapod Khomkham
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
tugkrung
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
-
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
jack4212
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
Guntima Pisaidsin
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
Kriangx Ch
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
krunuy5
 
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
dechathon
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
Parith Promwaranon
 
resume罗璐简历
resume罗璐简历resume罗璐简历
resume罗璐简历
Lu Lu
 

Destacado (20)

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
การวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evana
การวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evanaการวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evana
การวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evana
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
resume罗璐简历
resume罗璐简历resume罗璐简历
resume罗璐简历
 

Similar a ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
winewic199
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
Onrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
Onrutai Intanin
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
winewic199
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Chatkal Sutoy
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
Phanupong Chanayut
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
bbgunner47
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
Por Kung
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
thanapon51105
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Aeew Autaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
SubLt Masu
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
ssuser07f67b
 

Similar a ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (20)

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
10 win apps
10 win apps10 win apps
10 win apps
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 

ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  • 1. ความหมายของ โปรแกรมคอมพิว เตอร์ ความหมายของโปรแกรมคอมพิว เตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำาสั่งหรือชุดคำาสั่ง ที่เขียน ขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานตามที่เราต้องการ เรา จะให้คอมพิวเตอร์ทำาอะไรก็เขียนเป็นคำาสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทำาอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็น งานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม" ซอฟต์แวร์จะแบ่ง ออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ 1.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 1.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ขั้น ตอนที่ 1 : รับ ข้อ มูล เข้า (Input) เริ่มต้นด้วยการนำาข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถ ผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อ พิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้ เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกา ชนิดพิเศษสำาหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้าน ควบคุม (Joystick) สำาหรับเคลื่อนตำาแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้น ขั้น ตอนที่ 2 : ประมวลผลข้อ มูล (Process) เมื่อนำาข้อมูลเมาแล้ว เครื่องจะดำาเนินการกับข้อมูลตามคำาสั่ง ที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ การประมวลผลอาจจะ มีได้หลายอย่าง เช่น นำาข้อมูลมาหาผลรวม นำาข้อมูลมาจัดกลุ่ม นำาข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด หรือน้อยที่สดเป็นต้น ุ ขั้น ตอนที่ 3 : แสดงผลลัพ ธ์ (Output) เป็นการนำาผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทาง อุปกรณ์ที่กำาหนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ หรือเรียก
  • 2. กันโดยทั่วไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูล ออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้ ภาษาโปรแกรมมิ่ง (Programming Language) ภาษาโปรแกรมมิ่ง หมาย ถึง ภาษาใดๆ ที่ถูกออกแบบ โครงสร้างขึ้นมา เพื่อใช้ในการเขียนคำาสั่งหรือชุดคำาสั่ง ส่วนใหญ่ เป็นภาษาอังกฤษที่มนุษย์เข้าใจ ประกอบด้วยโครงสร้างของภาษา (Structure) รูปแบบไวยากรณ์ (Syntax) และคำาศัพท์ต่าง ๆ (Vocabulary หรือ Keyword) เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำางานตามที่เราต้องการ ในงานเขียนโปรแกรมจะต้องมีการเตรี ยมงานเกี่ยวกับการเขียนโปแกรมอย่างเป็นขั้นตอน เรียกขั้นตอน เหล่านี้ว่า “ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม ” ดังนี้ ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม 1. การวิเ คราะห์ป ัญ หา การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 1.1 กำาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรม ต้องทำาการประมวลผลอะไรบ้าง 1.2 พิจารณาข้อมูลนำาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนำาข้อมูล อะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมีคุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึง ลักษณะและรูปแบบของข้อมูลที่จะนำาเข้า 1.3 พิจารณาการประมวลผล ให้ทราบว่าโปรแกรมมีขั้นตอน การประมวลผลอย่างไร มีเงื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง 1.4 พิจารณาข้อสนเทศนำาออก เพื่อให้ทราบว่ามีข้อสนเทศ อะไรที่จะแสดง รูปแบบและสื่อที่จะใช้ในการแสดงผล 2. การออกแบบโปรแกรม การออกแบบขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมเป็นขั้นตอนที่ ใช้เป็นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม ผู้ออกแบบขั้นตอนการ ทำางานของโปรแกรมอาจใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วยในการออกแบบ อาทิเช่น คำาสั่งลำาลอง (Pseudo code) หรือ ผังงาน (Flow chart) การออกแบบโปรแกรมนั้นไม่ต้องพะวงกับรูปแบบคำาสั่ง
  • 3. ภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ให้มุ่งความสนใจไปที่ลำาดับขั้นตอนในการ ประมวลผลของโปรแกรมเท่านั้น 3. การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษาคอมพิว เตอร์ การเขียนโปรแกรมเป็นการนำาเอาผลลัพธ์ของการออกแบบ โปรแกรม มาเปลี่ยนเป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใด ภาษาหนึ่ง ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรูปแบบคำาสั่ง และกฎเกณฑ์ของภาษาที่ใช้เพื่อให้การประมวลผลเป็นไปตาม ผลลัพธ์ที่ได้ออกแบบไว้ นอกจากนั้นผู้เขียนโปรแกรมควรแทรก คำาอธิบายการทำางานต่างๆ ลงในโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมนั้นมี ความกระจ่างชัดและง่ายต่อการตรวจสอบและโปรแกรมนี้ยังใช้ เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบ 4. การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม การทดสอบโปรแกรมเป็นการนำาโปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้า คอมพิวเตอร์ เพื่อตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผล การทำางานของโปรแกรมนั้น ถ้าพบว่ายังไม่ถูกก็แก้ไขให้ถูกต้อง ต่อไป ขันตอนการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม อาจแบ่งได้ ้ เป็น 3 ขั้น 4.1 สร้างแฟ้มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่นิยมนำาโปรแกรม เข้าผ่านทางแป้นพิมพ์โดยใช้โปรแกรมประมวลคำา 4.2 ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แปลโปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็น ภาษาเครื่อง โดยระหว่างการแปลจะมีการตรวจสอบความถูกต้อง ของรูปแบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ถ้าคำาสั่งใดมีรูปแบบไม่ ถูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมาเพื่อให้ผู้เขียนนำาไปแก้ไขต่อ ไป ถ้าไม่มีข้อผิดพลาด เราจะได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สามารถ ให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้ 4.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถูกต้องตามรูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้ ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรม จำาเป็นต้องตรวจสอบว่าโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตามต้องการ หรือไม่ วิธีการหนึ่งก็คือ สมมติขอมูลตัวแทนจากข้อมูลจริงนำาไป ้ ให้โปรแกรมประมวลผลแล้วตรวจสอบผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ต้องดำาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การ สมมติขอมูลตัวแทนเพื่อการทดสอบเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญเป็น ้ อย่างมาก ลักษณะของข้อมูลตัวแทนที่ดีควรจะสมมติทั้งข้อมูลที่ถูก ต้องและข้อมูลที่ผดพลาด เพื่อทดสอบว่าโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น ิ
  • 4. สามารถครอบคลุมการปฏิบัติงานในเงื่อนไขต่างๆ ได้ครบถ้วน นอกจากนี้อาจตรวจสอบการทำางานของโปรแกรมด้วยการสมมติ ตัวเองเป็นคอมพิวเตอร์ทีจะประมวลผล แล้วทำาตามคำาสั่งทีละคำาสั่ง ของโปรแกรมนั้นๆ วิธีการนี้อาจทำาได้ยากถ้าโปรแกรมมีขนาด ใหญ่ หรือมีการประมวลผลที่ซับซ้อน 5. การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สำาคัญของการ พัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรม เข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจน ผลลัพธ์ที่จะได้จากโปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควร ต้องทำาเอกสารกำากับ เพื่อใช้สำาหรับการอ้างอิงเมื่อจะใช้งาน โปรแกรมและเมื่อต้องการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรม เอกสาร ประกอบโปรแกรมที่จัดทำา ควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 1. วัตถุประสงค์ 2. ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ใช้ใน โปรแกรม 3. วิธีการใช้โปรแกรม 4. แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม 5. รายละเอียดโปรแกรม 6. ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ 7. ผลลัพธ์ของการทดสอบ 6. การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และถู ก นำา มาให้ผู้ใช้ ได้ ใ ช้ ง าน ในช่ ว งแรกผู้ ใช้ อ าจจะยั ง ไม่ คุ้ น เคยก็อาจทำาให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุม ดู แลและคอยตรวจสอบการทำา งาน การบำา รุ ง รั ก ษาโปรแกรมจึ ง เป็นขั้นตอนที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมในระหว่ า งที่ ผู้ ใ ช้ ใ ช้ ง านโปรแกรม และปรั บ ปรุ ง โปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือในการใช้งานโปรแกรมไป นานๆ ผู้ใช้อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทำางานของระบบงานเดิม เพื่ อ ให้ เ หมาะกั บ เหตุ ก ารณ์ นั ก เขี ย นโปรแกรมก็ จ ะต้ อ งคอย ปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลง ไปนั่นเอง
  • 5. การพัฒนาโปรแกรมจะดำานเนินการตามขั้นตอนที่ 1-6 ซึ่ง แต่ละขั้นตอน สามารถย้อนกลับไปทำาในขั้นตอนก่อนหน้านี้ได้ เมื่อเกิดความผิดพลาด หรือพัฒนาโปรแกรมไม่ครบถ้วน หรือไม่ ตรงตามความต้องการของู้ใช้ในทุกขั้นตอน ซึ่งการดำาเนนการต่ง ๆ ของขั้นตอนที่ 1-6 เราจะต้องมีการดำาเนินการทำาเอกสาร ประกอบโปรแกรม ควบคู่กับการดำาเนนการพัฒนาโปรแกรมตลอด เมื่อเกิดารแก้ไขเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลอะไรก็ตามในโปรแกรม จะต้องทำาการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมในอนาคต สำาหรับผู้พัฒนา ที่จะต้องมาดูแลการใช้งานโปรแกรม และเมื่อพัฒนาโปรแกรม เสร็จแล้ว ก็จะต้องดำาเนินการทำาเอกสารประกอบการใช้งานให้กับ ผู้ใช้ เพื่อที่จะสามารถใช้โปรแกรมได้ครบถ้วน และถูกต้อง ภาษาคอมพิว เตอร์ (Computer Programming Language) ชนิด ของภาษาคอมพิว เตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์เริ่มมา จากในมหาวิทยาลัย หรือในหน่วยงานของรัฐบาลที่ต้องการ ทำางานบางอย่าง นอกจากนี้ บางภาษาเกิดขึ้นเพราะความต้องการ ด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ อีกมากมาย ทำาให้มี ภาษาเกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก จากการที่มีภาษาจำานวนมากมายนั้น ทำาให้ต้องกำาหนดระดับของ ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการแบ่งประเภทของภาษาเหล่านั้น การกำาหนดว่าเป็นภาษาระดับตำ่าหนือภาษาระดับสูง จะขึ้นอยู่กับ ภาษานั้นใกล้เคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ 1 เรียกว่า ภาษาระดับตำ่า) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้ (ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ เรียกว่า ภาษาระดับสูง) ภาษาเครื่อ ง (Machine Language) ก่อนปีค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็นภาษาระดับตำ่าที่สุด เพราะใช้เลข ฐานสองแทนข้อมูล และคำาสั่งต่าง ๆ ทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่ กับชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ นั่นคือ ปต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคำาสั่งเฉพาะของตนเอง ซึ่งนัก คำานวณและนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องรู้จักวิธีที่จะรวม ตัวเลขเพื่อแทนคำาสั่งต่า ๆ ทำาให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก
  • 6. นักคอมพิวเตอร์จึงได้พัฒนาภาษาแอสเซมบลีขึ้นมาเพื่อให้ สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ต่อมาใน ปีค.ศ. 1952 ได้มีการพัฒนาโปรแกรมภาษาระดับตำ่าตัวใหม่ ชื่อ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) โดยที่ภาษาแอส เซมบลีใช้รหัสเป็นคำาแทนคำาสั่งภาษาเครื่อง ทำาให้นักเขียน โปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้ว่าการเขียน โปรแกรมจะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่น ๆ ใน สมัยนี้ แต่ถ้าเปรียบเทียบในสมัยนั้นก็ถือว่าเป็นการพัฒนาไปสู่ยุค ของการเขียนโปรแกรมแบบใหม่ คือใช้สัญลักษณ์แทนเลข 0 และ 1 ของภาษาเครื่อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะเป็นคำาสั่งสั้น ๆ ที่จะได้ ง่าย เรียกว่า นิมอนิกโคด (mnemonic code) เช่น สัญ ลัก ษณ์น ิว มอ ความหมาย นิก โคด การบวก (Add) การเปรียบเทียบ A (Compare) C การคูณ (Muliply) MP การเก็บข้อมูลใน STO หน่วยความจำา (Store) ตัว อย่า งนิว มอนิก โคด ถึงแม้ว่านิวมอนิกโคดที่ใช้จะไม่ใช้คำาในภาษาอังกฤษ แต่ก็ เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความหมายให้ผู้ใช้สามารถจดจำาได้ง่ายกว่า สัญลักษณ์เลข 0 และ 1 ผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลียัง สามารถกำาหนดชื่อของที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำาเป็นคำาใน ภาษาอังกฤษ แทนที่จะเป็นเลขที่ตำาแหน่งในหน่วยความจำา เช่น TOTAL , INCOME เป็นต้น แต่ข้อจำากัดของภาษาภาษาแอส เซมบลี คือ จะแตกต่างกันไปในแต่ละเครื่องเช่นเดียวกับภาษา เครื่อง
  • 7. ผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีต้องใช้ แอสเซมเบลอ (Assembler) แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทำางานตามต้องการ ภาษาระดับ สูง (High Level Language) ในปีค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึน ภาษาระดับสูงจะใช้คำาในภาษาอังกฤษ ้ แทนคำาสั่งต่าง ๆ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ด้วย ทำาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทาง แก้ปัญหาเท่านั้น ไม่ต้องเป็นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทำางาน อย่างไรอีกต่อไป ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็น ภาษายุคที่สาม (third- generation language) ซึ่งทำาให้เกิดการประมวลผลข้อมูลเพิ่ม มากขึ้นอย่างมหาศาลระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และ มีผู้หันมาใช้คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น โดยสังเกตได้จามเครื่อง เมนเฟรมจากจำานวนร้อยเครื่องเพิ่มขึ้นเป็นหมื่นเครื่อง อย่างไร ก็ตาม ภาษาระดับสูงก็ยังคงต้องการตัวแปลภาษาให้เป็นภาษา เครื่องเพื่อสั่งให้เครื่องทำางานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้งานกัน โดยทั่วไปจะเป็นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์ ไม่เหมือนกัน รวมทั้งคอมไพเลอร์แต่ละตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่อง แต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา COBOL บนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้องเลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL ที่ทำางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเขียนโปรแกรม ภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่องที่ต่างกันอาจจะแตกต่างกันได้ เพราะ คอมไพเลอร์ที่ใช้ต่างกันนั่นเอง ภาษาคอมพิวเตอร์บางภาษาได้ถูออแบบมาให้ใช้แก้ปัญหา งานเฉพาะบางอย่าง เช่น การควบคุมหุ่นยนต์ การสร้างภาพ กราฟฟิก เป็นต้น แต่ภาษาคอมพิวเตอร์โดยมากจะมีความยืดหยุ่น ให้ใช้งานทั่ว ๆ ไปได้ เช่น ภาษา BASIC ภาษา COBOL หรือ ภาษา FORTRAN เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีภาษา C ที่ได้รับ ความนิยมมากเช่นกัน
  • 8. ภาษาระดับ สูง มาก (Very high-level Language) เป็นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรือ 4GLs จะเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้สั้นกว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การ ทำางานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านั้น ใน ขณะที่ถ้าเขียนด้วยภาษา อาจต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้น ฐานแล้ว ภาษาในยุคที่ 4 นี้มีคุณสมบัติที่แยกจากภาษาในยุคก่อน ๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อนนั้นใช้หลักการของ การ เขียนโปรแกรมแบบโพรซีเยอร์ (procedurl language) ใน ขณะที่ภาษาในยุคที่ 4 จะเป็นแบบ ไม่ใช้โพรซีเยอร์ (nonprocedurl language) ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่กำาหนด ว่าต้องการให้โปรแกรมทำาอะไรบ้างก็สามารถเขียนโปรแกรมได้ ทันที โดยไม่ต้องทราบว่าทำาได้อย่างไร ทำาให้การเขียนโปรแกรม สามารถทำาได้ง่ายและรวดเร็ว มีนักเขียนโปรแกรมกล่าวว่า ถ้าใช้ภาษาในยุคที่ 4 นี้เขียน โปรแกรมจะทำาให้ได้งานที่เพิ่มขึ้นถึงสิบเท่าตัว ตัวอย่างเช่น ถ้า ต้องการพิมพ์รายงานแสดงจำานวนรายการสินค้าที่ขายให้ลูกค้า แต่ละคนในหนึ่งเดือน โดยให้แสดงยอดรวมของลูกค้าแต่ละคน และให้ขึ้นหน้าใหม่สำาหรับการพิมพ์รายงานลูกค้าแต่ละคน จะ เขียนโดยใช้ภาษาในยุคที่ 4 ได้ดังนี้ TABLE FILE SALES SUM UNIT BY MONTH BY CUSTOMER BY PROJECT ON CUSTOMER SUBTOTAL PAGE BREAK END จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่าเป็นงานที่ซับซ้อน ซึ่งถ้าใข้ภาษา COBOL เขียนอาจจะต้องใช้ถึง 500 คำาสั่ง แต่ถ้าใช้ภาษาในยุค ที่ 4 นี้จะเป็นสิ่งที่ทำาได้ไม่ยากเลย ข้อ ดีข องภาษาในยุค ที่ 4
  • 9. การเขียนโปรแกรมจะเน้นที่ผลของงานว่า ต้องการอะไร ไม่สนใจว่าจะทำาได้อย่างไร  ช่วยพัฒนาเนื้องาน เพราะเขียนและแก้ไข โปรแกรมได้ง่าย  ไม่ต้องเสียเวลาอบรมผู้เขียนโปรแกรมมาก นัก ไม่ว่าผู้ที่จะมาเขียนโปรแกรมนั้นมี ความรู้ด้านการเขียนโปรแกรมหรือไม่  ผู้เขียนโปรแกรมไม่ต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์ ของเครื่องและโครงสร้างโปรแกรม ภาษาในยุคที่ 4 นี้ยังมีภาษาที่ใช้สำาหรับเรียกดูข้อมูลจากฐาน ข้อมูลได้ เรียกว่า ภาษาเรียกค้นข้อมูล (query language) โดย ปกติแล้วการเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูล และการแสดงรายงานจาก ฐานข้อมูล จะต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า แต่บางครั้งอาจมีการ เรียกดูข้อมูลพิเศษที่ไม่ได้มีการวางแผนไว้ ถ้าผู้ใช้เรียนรู้ภาษา เรียกค้นข้อมูลก็จะขอดูรายงานต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้มีการ วางแผนไว้ได้โดยใช้เวลาไม่มากนัก ภาษาเรียกค้นข้อมูลที่เป็น มาตรฐานเรียกว่า SQL (Structured Query Language) และ นอกจากนี้ยังมีภาษา Query Bu Example หรือ QBE ที่ได้รับ ความนิยมการใช้งานมากเช่นกัน ภาษาธรรมชาติ (Nature Language) เป็น ภาษายุคที่ 5 (fifth generation language) หรือ 5GLs ธรรมชาติหมาย ถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่ต้องสนใจถึงคำาสั่งหรือลำาดับของ ข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นคำาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ ซึ่งจะทำาให้มีรูป แบบของคำาสั่งหรือประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้มากมาย เพราะ ผู้ใช้แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คำาศัพท์ต่างกัน หรือแม้ กระทั่งบางคนอาจจะใช้ศัพท์แสลงก็ได้ คอมพิวเตอร์จะพยายาม แปลคำาหรือประโยคเหล่านั้นตามคำาสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้ เข้าใจได้ ก็จะมีคำาถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู้ (knowledge base system) ช่วยในการแปลความหมายของคำาสั่งต่าง ๆ การเลือ กใช้ค อมพิว เตอร์ เนื่องจากในปัจจุบันทุก ๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และภาษาต่าง ๆ จะมีจุดดีและ จุดด้อยแตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจำาเป็นต้องทำาการคัดเลือกภาษาที่จะ
  • 10. นำามาใช้งานอย่างระมัดระวัง เนื่องจากเมื่อศึกษาและพัฒนา ซอฟต์แวร์ด้วยภาษาใดภาษาหนึ่งแล้ว การเปลี่ยนไปใช้ภาษาอื่น ในภายหลังจะเป็นเรื่องที่ยากลำาบากอย่างยิ่ง ทั้งในเรื่องของค่าใช้ จ่ายและเวลาที่ต้องสูญเสียไป รวมทั้งปัญหาของบุคลากรที่ต้อง ศึกษาหาความชำานาญใหม่อีกด้วย ในการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะนำามาใช้ สิ่งที่ควรพิจารณาคือ - ในหน่วยงานหนึ่ง ๆ ควรจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษา เดียวกัน เพราะการดูแลรักษาซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น ตลอดจนการ จัดหาบุคลากรจะกระทำาให้ง่ายกว่า - ในการเลือกภาษาควรเลือกโดยดูจากคุณสมบัติหรือข้อดี ของภาษานั้น ๆ เป็นหลัก - ถ้าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นต้องนำาไปทำางานบนเครื่องต่าง ๆ กัน ควรเลือกภาษาที่สามารถใช้งานได้บนทุกเครื่อง เพราะจะ ทำาให้เขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียวเท่านั้น - ผู้ใช้ควรจำากัดภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ ไม่ควรติดตั้งตัว แปลภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษาบนเครื่องทุกเครื่อง - ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ จะถูกจำากัดโดยนักเขียน โปรแกรมที่มีอยู่ เพราะควรใช้ภาษาที่มีผู้รู้อยู่บ้าง - บางครั้งในงานที่ไม่ยุ่งยากนัก อาจใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ พื้นฐาน เช่น ภาษา BASIC เพราะเขียนโปรแกรมได้ง่ายและ รวดเร็ว รวมทั้งมีติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากอยู่ แล้ว ภาษาคอมพิวเตอร์ การใช้งาน BASIC (Beginner's All- สำาหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียน purpose Symbolic โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ Instruction Code) COBOL (Common นิยมใช้ในงานธุรกิจบน Business Oriented เครื่องขนาดใหญ่ Language)
  • 11. ใช้สำาหรับงานด้าน FORTRAN (FORmula คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ TRANslator) วิศวกรรมศาสตร์ Pascal (ชื่อของ Blaise ใช้ในวิทยาลัย และ Pascal) มหาวิทยาลัย สำาหรับนักเขียนโปรแกรม C และใช้ในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย C++ สำาหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์ เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้ เป็นภาษาสำาหรับงานทาง ALGOL (ALGOrithmic วิทยาศาสตร์ และต่อมามี Language) การพัฒนาต่อเป็นภาษา PL/I และ Pascal ออกแบบโดยบริษัท IBM ใน ปีค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่ APL (A Programming โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะ Language) สำาหรับจัดการกับกลุ่มของ ข้อมูลทีสัมพันธ์กันในรูป ่ แบบตาราง ถูกออกแบบมาให้ใช้กับ ข้อมูลที่ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอาจ เป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัว LISP (LIST Processing) อักษรก็ได้ นิยมใช้ในด้าน ปัญญาประดิษฐ์ (Artifical Inelligence) นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อ LOGO สอนทักษะการแก้ปัญหาให้ กับนักเรียน ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงาน PL/I (Programming ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ Language One) และธุรกิจ PROLOG นิยมใช้มากในงานด้าน (PROgramming LOGIC) ปัญญาประดิษฐ์ จัดเป็น
  • 12. ภาษาธรรมชาติภาษาหนึ่ง ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงาน RPG (Report Program ทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติใน Generator) การสร้างโปรแกรมสำาหรับ พิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก ภาษาคอมพิว เตอร์ก ับ การใช้ง าน ตัว อย่า งภาษาคอมพิว เตอร์ ปัจจุบันนี้มีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมายหลาย ภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานด้านต่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น บางภาษาก็ออกแบบมาให้ใช้แก้ปัญหาทางธุรกิจ บางภาษาก็ใช้ในการคำานวณที่ซับซ้อน ซึ่งจะกล่าวโดยสรุปถึง การใช้งานของแต่ละภาษาดังนี้ - ภาษา BASIC เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ส่วนมาก ใช้สำาหรับผู้เริ่มต้นศึกษาการเขียนโปรแกรม และผู้ที่เขียนโปรแกรมเป็นงานอดิเรก นิยมใช้ในการเขียน โปรแกรมสั้น ๆ ภาษา BASIC รุ่นแรกใช้ interpreter เป็นตัว แปลภาษา ทำาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ อย่างง่ายดาย แต่ก็ทำางานได้ช้า ทำาให้ผู้ที่เขียนโปรแกรม เชี่ยวชาญแล้วไม่นิยมใช้งาน แต่ปัจจุบันนี้มีภาษา BASIC รุ่นใหม่ ออกมาซึ่งใช้ conplier เป็นตัวแปลภาษา ทำาให้ทำางานได้คล่อ่ง ตัวขึ้น เช่น Microsoft's Quick BASIC และ Visual Basic เป็นต้น - ภาษา COBOL
  • 13. เป็นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 นิยมใช้ สำาหรับการแก้ปัญหาทางด้านธุรกิจ เช่น การจัดเก็บ เรียกใช้ และ ประมวลผลทางด้านบัญชี ตลอดจนทำางานด้านการควบคุมสินค้า คงคลัง การรับและจ่ายเงิน เป็นต้น คำาสั่งของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษาอังกฤษทำาให้สามารถ อ่านและเขียนโปรแกรมได้ไม่ยากนัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL จะได้รับความนิยมบนเครื่องระดับเมนเฟรม แต่ปัจจุบันนี้จะมีตัว แปลภาษา COBOL ที่ใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย รวมทั้ง มีภาษา COBOL ที่ได้รับการออกแบบตามแนวทางเชิงวัตถุ (Object Oriented) เรียกว่า Visual COBOL ซึ่งช่วยให้ โปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายขึ้น และสามารถนำาโปรแกรมที่เขียน ไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ อีก - ภาษา Fortran เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท IBM ตั้งแต่ ปีค.ศ. 1957 ย่อมาจากคำาว่า FORmula TRANslator ซึ่งถือว่า เป็นการกำาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้สำาหรับงานที่มี การคำานวณมาก ๆ เช่น งานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น - ภาษา Pascal เป็นภาษาระดับสูงที่เอื้ออำานวยให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียน โปรแกรมได้อย่างมีโครงสร้าง และเขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่า ภาษาอื่น นิยมใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นภาษาสำาหรับ การเรียนการสอน และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษา ปาสคาลมีตัวแปลภาษาทั้งที่เป็น interpreter และ Compiler โดยจะมีโปรแกรมเทอร์โบปาสคาล (Turbo Pascal) ที่ได้รับ ความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการศึกษาและธุรกิจ เนื่องจากได้รับ การปรับปรุงให้ตัวข้อเสียของภาษาปาสคาลรุ่นแรก ๆ ออก - ภาษา C และ C++ ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปีค.ศ. 1972 ที่หองปฏิบัติ ้ การเบลล์ของบริษัท AT&T เป็นภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการ
  • 14. UNIX ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมคู่กับภาษาซี และมี การใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ ภาษา เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นักเขียน โปรแกรมเป็นอย่างมาก เนื่องจากภาษา จะเป็นภาษาที่รวมเอก ข้อดีของภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่นและไวยากรณ์ที่ ง่ายต่อการเข้าใจ กับข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่องของ ประสิทธิภาพและความเร็วในการทำางานทำาให้โปรแกรมที่พัฒนา ด้วยภาษาซีทำางานได้เร็วกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง อื่น ๆ ในขณะที่การพัฒนาและแก้ไขโปรแกรมสามารถทำาได้ง่าย เช่นเดียวกันภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ภาษา C ยังได้มี การพัฒนาก้าวหน้าขึ้นไปอีก โดยทำาการประยุกต์แนวความคิด ของการโปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทำาให้เกิดเป็นภาษา ใหม่คือ C++ (++ ในความหมายของภาษาซีคือการเพิ่มขึ้นอีก หนึ่งนั่นเอง) ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้งานพัฒนา โปรแกรมอย่างมาก - ภาษาโปรแกรมเชิง วัต ถุ (Object-Oriented Programming Language) นักเขียนโปรแกรมบางคนคิดว่าการเขียนโปรแกรมขนาด ใหญ่นั้น บางครั้งก็เป็นงานที่หนักและเสียเวลามาก จึงได้พยายาม คิดหาวิธีที่จะทำาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้น และสามารถ เขียนได้อย่าวรวดเร็ว ทำาให้เกิดเทคนิค การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) หรือ OOP เพื่อช่วยลด ความยุ่งยากของการเขียนโปรแกรม Object-Oriented Programming ต่างจากการเขียน โปรแกรมโดยทั่ว ๆ ไป โดยการเขียนโปรแกรมตามปกตินั้น ผู้ เขียนโปรแกรมจะพิจารณาถึงขั้นตอนการแก้ปัญหาของโปรแกรม เหล่านั้น แต่เทคนิคของ OOP จะมองเป็น วัตถุ (object) เช่น กล่องโต้ตอบ (dialog box) หรือไอคอนบนจอภาพ เป็นต้น โด ยออบเจ็คใดออบเจ็คหนึ่งจะทำางานเฉพาะที่แน่นอน ถ้าผู้ใช้ ต้องการทำางานชนิดนั้นก็สามารถคัดลอกไปใช้ในโปรแกรมที่ ต้องการได้ทันที
  • 15. โปรแกรมเดลไฟ หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุได้รับการพัฒนามาเป็นเวลา นานแล้ว โดยภาษาเริ่มแรกคือ Simula-67 ได้รับการพัฒนาขึ้น ตั้งแต่ปี 1967 และต่อมาก็มีภาษา smalltalk ซึ่งเป็นภาษาเชิง วัตถุเต็มรูปแบบ นอกจากนี้ หลักการของ OOP ยังได้รับการนไป เสริมเข้ากับภาษาโปรแกรมในยุคที่ 3 คือ C จนเกิดเป็นภาษาใหม่ คือ C++ รวมทั้งยังมีการเสริมเข้ากับ การโปรแกรมแบบภาพ (visual programming) ทำาให้เกิด Visual Basic ซึ่งมีรากฐาน มาจาก BASIC และ Delphi ซึ่งมีรากฐานมาจาก Pascal นอกจากนี้ ในปัจจุบันจะมีภาษาที่ใช้หลักการโปรแกรมเชิงวัตถุตัว ใหม่ล่าสุดซึ่งกำาลังมาแรงและมีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมสูงคู่ กันอินเตอร์เน็ต นั่นคือภาษา JAVA - ภาษาที่อ อกแบบมาสำา หรับ OOP การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่มี การติดต่อกับผู้ใช้แบบ กราฟฟิก (Graphical User Interface หรือ GUI) เช่น Microsoft Windows และ World Wide Web จะสามารถ ทำาได้ง่าย รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายไม่มากนัก ด้วยเครื่องมือใน การพัฒนาที่ใช้หลักการของ OOP ซึ่งในปัจจุบันจะมีเครื่องมือ ประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมอย่างมากอยู่ 2 ภาษา คือ Visual Basic และ JAVA
  • 16. - Visual Basic ภาษา Visual Basic พัฒนาโดย Prof. Kemeny และ Kurtz ที่เมือง Dartmouth ในปีค.ศ. 1960 โดยมีจุดประสงค์ สำาหรับใช้สอนในห้องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการพัฒนาเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ขึ้นในยุคแรก ๆ จะมีหน่วยความจำาไม่เพียงพอที่จะ ทำางานกับโปรแกรมภาษาอื่น เช่น FORTRAN และ COBOL เพราะขนาดของตัวแปรภาษาซึ่งต้องใช้หน่วยความจำาสูงมาก แต่ เครื่องเหล่านั้นสามารถใช้ภาษา BASIC ได้ เพราะภาษา BASIC ใช้ตัวแปลภาษาที่มีขนาดเล็ก และตัวแปลภาษานั้นไม่ต้องเก็บอยู่ ในหน่วยความจำาทั้งหมดก็สามารถทำางานได้ เป็นเหตุให้ภาษา BASIC ได้รับความนิยมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์จะได้รับการพัฒนาสูงขึ้นในเรื่องของความเร็ว และหน่วยความจำาเท่าใดก็ตาม แต่ภาษา Visual Basic จะแตก ต่างจากภาษา BASIC โดยสิ้นเชิง ทั้งในแง่ของหน่วยความจำาที่ ต้องการ และวิธีการพัฒนาโปรแกรม โปรแกรมวิช วลเบสิค ภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบและพัฒนาโดย บริษัท Microsoft มีจุดประสงค์ในการใช้เป็นเครื่องมือพัฒนา โปรแกรมที่มีการติดต่อับผู้ใช้เป็นแบบกราฟฟิก โดยจะมีเครื่องมื่อ ต่าง ๆ ที่ช่วยในการพัฒนาโปรแกรมอย่างรวดเร็ว หรือที่นิยมเรียก
  • 17. ว่า RAD (Repid Application Development) ปัจจุบันนี้มีผู้ ใช้งานภาษา Visual Basic เป็นจำานวนมาก โดยภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบให้ทำางานบนระบบวินโดว์เวอร์ชั่นต่าง ๆ จากไมโครซอฟต์ เช่น Visual Basic 3 ทำางานบนระบบวินโดว์ 3.11 ส่วน Visual Basic 4 และ 5 ทำางานบนระบบวินโดว์ 95 เป็นต้น - JAVA ภาษาใหม่ที่มาแรงที่สุดในปัจจุบัน คงจะไม่มีภาษาไหนที่ เทียบได้รับภาษาจาวาซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นโดยบริษัทซันไมโคร ซิสเตมส์ ในปี 1991 โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างผลิตภัณฑ์อิเลค ทรอนิกส์สำาหรับผู้บริโภคที่ง่ายต่อการใช้ง่าย มีค่าใช้จ่ายตำ่า ไม่มี ข้อผิดพลาด และสามารถใช้กับเครื่องใด ๆ ก็ได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็ได้ กลายเป็นข้อดีของจาวาที่เหนือกว่าภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นด้วยจาวาสามารถนำาไปใช้กับเครื่อง ต่าง ๆ โดยไม่ต้องทำาการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ทำาให้ไม่จำากัด อยู่กับเครื่องหรือโอเอสตัวใดตัวหนึ่ง แม้ว่าการใช้งานจาวาในช่วง แรกจะจำากัดอยู่กับ World Wide Web (WWW) และ Internet แต่ในปัจจุบันได้มีการนำาจาวาไปประยุกต์ใช้กับงานด้าน ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ อย่างมากมาย ตั้งแต่ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility) ไปจนกระทั่งซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น โปรแกรมชุด จากบริษัท Corel ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมหลัก ๆ คือ โปรแกรม เวิร์โปรเซสซิ่ง สเปรดซีต พรีเซนเตชั่น ที่เขียนขึ้นด้วยจาวา ทั้งหมด จาวายังสามารถนำาไปใช้เป็นภาษาสำาหรับอุปกรณ์แบบฝัง ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ และอุปกรณ์ขนาดมือถือแบบต่าง ๆ เป็นต้น รวมทั้งยังได้รับความนิยมนำาไปใช้กับอุปกรณ์ที่ใช้สำาหรับเข้าสู่ อินเตอร์เน็ตโดยไม่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้แล้ว จาวายัง เป็นภาษาที่ถูกใช้งานในคอมพิวเตอร์แบบเอ็นซี (NC) ซึ่งเป็น คอมพิวเตอร์แบบใหม่ล่าสุด ที่เน้นการทำางานเป็นเครือข่ายว่า แอพเพลต (applet) ที่ต้องการใช้งานขณะนั้นมาจากเครื่องแม่ ทำาให้การติดต่อสื่อสารสารผ่านเครือข่ายใช้ช่องทางการสื่อสาร น้อยกว่าการดึงมาทั้งโปรแกรมเป็นอย่างมาก
  • 18. การเลือ กใช้ภ าษาคอมพิว เตอร์ ในการเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้ ก็ จะมีดารพิจารณาหลายอย่าง ด้วยกัน ดังที่จะกล่าวดังต่อไปนี้ -ในบางครั้งซึ่งในงานที่ไม่ยุ่งยากนักก็อาจใช้ภาษา คอมพิวเตอร์พื้นฐานอย่างเช่น ภาษา Basic เพราะเขียนโปรแกรม ได้ง่าย รวดเร็ว และก็ยังมีติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ส่วนมากอยู่ด้วย - ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ก็จะถูกจำากัดโดยนัก เขียนโปรแกรม เพราะว่าเราควรใช้ภาษา ที่มีผู้รอยู่บ้าง ู้ - ผู้ใช้ก็ควรที่จะกำาจัดภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ด้วย ไม่ควรติดตั้งตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ทุกภาษาบนเครื่อง -ในการเลือกภาษาในการเขียนโปรแกรม เราก็ควร เลือกโดยการดูจากคุณสมบัติหรือข้อดีของ ภาษานั้น ๆ เป็นหลัก ด้วย ลัก ษณะของภาษา html องค์ประกอบของภาษา HTML สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
  • 19. 1) ส่วนที่เป็นข้อความทั่วๆไป 2) ส่วนที่เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดรูปแบบของข้อความที่แสดง ซึ่งเราเรียกคำาสั่งนี้ว่า แท็ก (Tag) โดยแท็กคำาสั่งของ HTML จะอยู่ในเครื่องหมาย < และ > ซึ่งมีหลักในการเขียน คือ ส่วนเริ่มต้นของแท็ก เรียกว่า “แท็กเปิด” และส่วนจบของแท็ก เรียกว่า “แท็กปิด” โดยส่วนของ แท็กปิดจะต้องมีเครื่องหมาย Slash (/) ดังนี้ ในกรณีที่ใช้แท็กซ้อนกันมากกว่า 1 แท็ก เราจะต้องใช้แท็กปิด ปิดแท็กในสุดก่อน แล้วจึงไล่ปิด แท็กอื่นๆ ตามลำาดับ เช่น - บางแท็กไม่ต้องมีแท็กปิดก็สามารถใช้งานได้ คือ <br> , <hr> - สามารถพิมพ์แท็กเป็นตัวเล็ก หรือตัวใหญ่ก็ได้ แต่ควรจะเลือก ใช้เพียงแบบเดียว - บางแท็กจะมีตัวกำาหนดคุณสมบัติ เรียกว่า แอททริบิวท์ (Attribute) และค่าที่ถูกกำาหนดให้ ใช้แท็ก (Value) โดยจะเขียนไว้หลังแท็ก เช่น <hr width=600 size=5> แท็ก <hr> เป็นการกำาหนดเส้นขั้นทางแนวนอน แอททริบิวท์ width กำาหนดความยาวของเส้น ค่าที่ใช้กำาหนด 60 ค่าความยาวของเส้น หลัก การเขีย นภาษา HTML 1. รู้จ ัก กับ ภาษา HTML (HTML Introduction) HTML ย่อมาจาก HyperText Markup Language เป็น หนึ่งในภาษาคอมพิวเตอร์ ที่มี ลักษณะเป็นภาษาในเชิงการบรรยายเอกสารไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia Document Description Language) เพื่อเผยแพร่เอกสารในระบบเครือข่าย WWW (World Wide Web) มีโครงสร้างภาษา โดยใช้ตัวกำากับ (Markup Tags) เพื่อทำาหน้าที่ควบคุมการแสดง ผลข้อมูล รูปภาพ และวัตถุอื่น ๆ ผ่านทางโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ซึ่งในแต่ละ Tag จะมีส่วนขยาย (Attribute) เพื่อควบคุมการ
  • 20. แสดงผล ซึ่งเป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย World Wide Web Consortium (W3C) ซึ่งมีแม่แบบคือ ภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language) การสร้างไฟล์ HTML จะต้องอาศัยโปรแกรมที่มีคุณสมบัติเป็น เท็กซ์เอดิเตอร์ (Text Editor) โดยใช้สำาหรับเขียนคำาสั่งต่าง ๆ ที่ต้องการแสดงผลทาง จอภาพ และเก็บเป็นไฟล์ โดยมี นามสกุล .html หรือ .htm 1.1 เริ่ม ต้น เขีย นภาษา HTML การเริ่มต้นเขียนภาษา HTML สามารถทำาได้โดยง่าย ถ้าใช้ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) ให้เปิดโปรแกรม Notepad พิมพ์คำาสั่งตามตัวอย่างต่อไปนี้ <html> <head> <title>Title of page</title> </head> <body> This is my first homepage. <b>This text is bold</b> </body> </html> บันทึกไฟล์ โดยตั้งชื่อ ”mypage.htm” หรือ ”mypage.html” เปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เลือก ”Open” ในเมนู File และ ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ โปรแกรมเว็บบราวเซอร์จะแสดงผลจากคำาสั่งออกทางจอภาพ Tag แรกในเอกสาร HTML คือ <html> ซึ่งเป็น Tag ที่บอกให้ เว็บบราวเซอร์รู้ว่าเป็น จุดเริ่มต้นของเอกสาร HTML และ Tag สุดท้ายในเอกสาร ก็คือ </html> ซึ่งเป็น Tag ที่บอกเว็บ บราวเซอร์ว่านี่คือจุดสิ้นสุดของเอกสาร HTML ตัวอักษรระหว่าง <head> และ </head> เป็น Tag ส่วนหัว เอกสารที่ใช้บอกข้อมูล ต่าง ๆ (Header Information) จะไม่แสดงข้อมูลที่อยู่ภายใน Tag นี้ ออกทางจอภาพ ตัวอักษรที่อยู่ระหว่าง <title> เป็น Tag ที่แสดงชื่อของเอกสาร ซึ่ง Tag <title> จะแสดง
  • 21. ข้อมูลในเว็บบราวเซอร์ตรง Title bar ตัวอักษรที่อยู่ระหว่าง <body> จะเป็น Tag ที่ใช้แสดงตัวอักษร ภายในเว็บบราวเซอร์ ตัวอักษรระหว่าง <b> และ </b> จะทำาให้ตัวอักษรที่แสดงเป็น ตัวหนา 1.2 ควรเลือ กระหว่า ง HTM และ HTML เมื่อทำาการบันทึกเอกสาร HTML สามารถทำาการเลือกบันทึก ได้ทั้ง .htm หรือ .html ใน ตัวอย่างนี้ได้ใช้การบันทึกแบบ .htm ซึ่งควรที่จะทำาการบันทึก เป็นนามสกุล .htm ให้ตดเป็นนิสัย ิ เนื่องจากในอดีตที่ผ่านมายังมีบางโปรแกรมที่อนุญาตให้เปิดได้ เฉพาะสามตัวอักษร หมายความว่า จะทำาให้เปิดได้เฉพาะเอกสาร .htm เท่านั้น แต่ในซอฟต์แวร์ เวอร์ชันใหม่ เราก็สามารถที่จะทำาการ บันทึกเอกสารให้เป็น .html ได้เช่นกัน 1.3 HTML Editors ปัจจุบันนี้สามารถที่จะทำาการสร้างเอกสาร HTML ได้อย่าง ง่ายดาย โดยใช้ WYSIWYG (what you see is what you get) ซึ่งผลลัพธ์ของโปรแกรมที่ เห็นจะเหมือนกับหน้าจอที่ได้ทำาการ สร้างขึ้นมา เช่นโปรแกรม FrontPage, Adobe Photoshop, Macromedia Dreamweaver แต่ถ้าต้องการที่จะเพิ่มทักษะความสามารถในการพัฒนาเว็บ ก็ควร ที่จะทำาการเรียนรู้คำาสั่ง และสร้างเอกสาร HTML ด้วยตัวเอง 2. องค์ป ระกอบของ HTML (HTML Elements) เอกสาร HTML ก็คือไฟล์เอกสาร (Text File) ที่สร้างขึ้น โดยมีองค์ประกอบของ HTML ซึ่ง องค์ประกอบของ HTML ก็คือ Tag ต่าง ๆ นั่นเอง 2.1 HTML Tags HTML Tags จะประกอบด้วยเครื่องหมาย < และ > โดย ปกติทั่วไปแล้ว HTML Tag
  • 22. จะต้องมีหนึ่งคู่กัน เช่น <b> และ </b> โดยจะมี Tag เริ่มต้น (Start Tag) และ Tag สิ้นสุด (End Tag) ซึ่งตัวอักษรที่อยู่ระหว่าง Tag เริ่มต้น และ Tag สิ้นสุด จะ เรียกว่าองค์ประกอบ โดยทั่วไป แล้ว HTML Tag สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ (Not Case Sensitive) เช่น <b> จะมีความหมาย เหมือนกับ <B> 2.2 HTML Elements จากตัวอย่างต่อไปนี้ <html> <head> <title>Title of page</title> </head> <body> This is my first homepage. <b>This text is bold</b> </body> </html> HTML Element ก็คือ <b> This text is bold </b> HTML Element เริ่มต้นที่ Tag เริ่มต้น ก็คือ: <b> ภายใน HTML Element จะมีส่วนประกอบ ก็คือ: This text is bold HTML Element สิ้นสุดที่ Tag สิ้นสุด ก็คือ: </b> จุดประสงค์ของ Tag <b> ก็คือการกำาหนดให้แสดงตัวอักษรเป็น ตัวหนา 2.3 ทำา ไมถึง ต้อ งใช้ Tag ที่เ ป็น ตัว อัก ษรพิม พ์เ ล็ก (Lowercase) ก่อนหน้านี้ได้กล่าวถึง HTML Tag ว่าสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ: <B> จะมีความหมาย เช่นเดียวกับ <b> แต่จากตัวอย่างที่ผ่านมาได้ใช้ Tag ที่เป็นตัว อักษรพิมพ์เล็ก เนื่องจากว่าใน อนาคตข้างหน้าภาษา HTML จะถูกกำาหนดให้ใช้ Tag ที่เป็นตัว อักษรพิมพ์เล็ก โดยที่ World Wide Web Consortium (W3c) ได้มีขอกำาหนดให้ใช้ Tag ที่ ้ เป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กใน HTML 4
  • 23. และ XHTML 2.4 Tag Attributes Tag สามารถที่จะกำาหนดให้มีคุณสมบัติ (Attribute) เพิ่ม เติม ซึ่งคุณสมบัติต่าง ๆ เหล่านั้น สามารถเพิ่มเติมได้ในส่วนของ HTML Element Tag ที่ใช้ในการกำาหนดองค์ประกอบของตัวเอกสาร HTML: <body> สามารถที่จะเพิ่มเติม คุณสมบัติ bgcolor ซึ่งคำาสั่ง bgcolor จะทำาให้เว็บบราวเซอร์ เปลี่ยนสีพื้นหลังของเอกสาร HTML เช่น <body bgcolor = ”red”> หมายถึงการกำาหนดพื้นหลัง ของเอกสาร HTML ให้เป็นสีแดง Tag ที่ใช้สร้างตาราง: <table> สามารถทำาการปรับเปลี่ยน คุณสมบัติของเส้นขอบ (Border) ได้โดยใช้คำาสั่ง <table border = ”0”> หมายถึง กำาหนดให้ตารางนั้นไม่มีเส้นขอบ Attribute จะต้องประกอบด้วย ชื่อ และค่า: name = ”value” โดยทั่วไปแล้ว Attribute จะ เพิ่มลงในส่วนของ Tag เริ่มต้นของ HTML Element 3. พื้น ฐาน HTML Tags วิธีการที่จะเรียนรู้ภาษา HTML ที่ดีที่สุดก็คือการลงมือปฏิบัติ 3.1 Headings Heading เป็นการกำาหนดหัวข้อ โดยใช้ Tag <h1> ถึง <h6> โดยที่ <h1> เป็นการกำาหนด หัวข้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุด <h6> เป็นการกำาหนดหัวข้อที่มขนาด ี เล็กที่สุด โดยทั่วไปแล้ว HTML จะทำาการเพิ่มบรรทัดว่างก่อน และหลัง Heading เสมอ 3.2 Paragraphs Paragraphs เป็นการกำาหนดย่อหน้า โดยใช้ Tag <p> <p>This is a paragraph</p>
  • 24. <p>This is another paragraph</p> โดยทั่วไปแล้ว HTML จะทำาการเพิ่มบรรทัดว่างก่อน และหลัง Paragraph เสมอ 3.3 Line Breaks Tag <br> ใช้สำาหรับต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ แต่ไม่ได้ เป็นการเริ่ม paragraph ใหม่ <p>This is a paragraph <br> with line breaks</p> Tag <br> จะมีไม่ Tag ปิด 3.4 Comments in HTML Comment ใช้สำาหรับแทรกคำาแนะนำาลงในเอกสาร HTML แต่ comment จะไม่ถูกนำาไป แสดงในเว็บบราวเซอร์ สามารถใช้ comment ในการอธิบาย code ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถเข้าใจ และสามารถแก้ไข code ได้ภายหลัง 4. HTML Character Entities บางกรณีตัวอักษรพิเศษเช่น © หรือ ® ถ้าต้องการที่จะแสดง ผลในเว็บบราวเซอร์ จะต้อง ใช้ Character Entity เพื่อที่จะทำาให้ตัวอักษรพิเศษเหล่านั้น แสดงผลได้ทางเว็บบราวเซอร์ 5. HTML Links HTML ใช้ Hyperlink เพื่อทำาการเชื่อมโยงไปยังเอกสาร อื่น ๆ ที่อยู่ในเว็บ 5.1 The Anchor Tag and the Href Attribute HTML ใช้ Tag <a> (anchor) เพื่อทำาการเชื่อมโยงไปยัง เอกสารอื่น ๆ โดยสามารถที่จะ เชื่อมโยงไปยังเอกสาร HTML, รูปภาพ, เสียง และอื่น ๆ รูปแบบที่ใช้ในการสร้าง anchor 5.2 The Target Attribute ในส่วนของเป้าหมาย (Target Attribute) สามารถกำาหนด พื้นที่ในการเปิดเอกสาร จาก
  • 25. ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการกำาหนดการเปิดเอกสารในหน้าต่างเว็บ บราวเซอร์ใหม่ 5.3 The Anchor Tag and the Name Attribute Name Attribute ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อของ anchor (Name anchor) เมื่อใช้ชื่อของ anchor สามารถที่จะทำาการกระโดดไปยังจุดที่ต้องการในเว็บเพจเดียวกัน ได้ ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นโครงสร้างของการกำาหนดชื่อของ anchor 6. HTML Frames Frames สามารถทำาให้แสดงเว็บเพจได้มากกว่า 1 หน้า ภายในหนึ่งหน้าวินโดวส์ 6.1 The Frameset Tag Tag <frameset> เป็นการแบ่งหน้าวินโดวส์ โดยสามารถ กำาหนดได้ทั้ง แถว และคอลัมน์ ค่า (values) ของแถว/คอลัมน์ จะเป็นค่าที่ใช้กำาหนดขนาดของ จอภาพ 6.2 The Frame Tag Tag <frame> ใช้กำาหนดชื่อเอกสาร HTML ที่ตองการ ้ แสดงในแต่ละคอลัมน์ หรือแถว จากตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการกำาหนดให้มี 2 คอลัมน์ ในคอลัมน์ แรกกำาหนดให้มีขนาด 25% ของความกว้างของหน้าจอวินโดวส์ คอลัมน์ที่สองกำาหนดให้มี ขนาด 75% ของความกว้างของ หน้าจอวินโดวส์ เอกสาร HTML ”frame_a.htm” จะถูกแสดงผล ที่คอลัมน์แรก และเอกสาร HTML ”frame_b.htm” จะถูกแสดงผลคอลัมน์ที่สอง 7. HTML Tables Tables จะถูกกำาหนดโดย Tag <table> Table จะถูกแบ่ง ออกเป็นแถว (Tag <tr>) ในแต่ ละแถวจะแบ่งเป็นเซลล์ข้อมูล (Data Cells) (Tag <td>) ซึ่งใน เซลล์ข้อมูลนั้นสามารถที่จะเป็นได้
  • 26. ทั้งข้อความ รูปภาพ ฟอร์ม (Form) ตาราง และอื่น ๆ 7.1 Tables และ Border Attribute โดยทั่วไปแล้วถ้า Table ไม่มีการกำาหนด Border เว็บ บราวเซอร์จะไม่แสดงขอบของ ตารางออกทางหน้าจอ ดังนั้นเพื่อให้เว็บบราวเซอร์ทำาการแสดง ขอบของตาราง จะต้องเพิ่ม Border Attribute ลงไป 7.2 Headings in a Table หัวของตารางกำาหนดโดย Tag <th> 8. HTML Lists HTML จะประกอบด้วย Ordered Lists และ Unordered Lists 8.1 Unordered Lists Unordered List คือรายการ (items) ซึ่งจะแสดงเป็น เครื่องหมาย โดย Unordered List เริ่มต้นด้วย Tag <ul> และในแต่ละรายการจะเริ่มต้นด้วย Tag <li> 8.2 Ordered Lists Ordered List ก็คือรายการ แต่จะแสดงด้วย โดย Ordered List จะเริ่มต้อนด้วย Tag <ol> และในแต่ละข้อจะเริ่มต้นด้วย Tag <li> 9. HTML Images HTML สามารถที่จะแสดงรูปภาพในเอกสาร HTML 9.1 Image Tag และ Src Attribute ใน HTML ถ้าต้องการที่จะแทรกรูปภาพลงในเอกสารจะใช้ Tag <img> โดย <img> ประกอบไปด้วย Attribute และจะไม่มี Tag ปิด โดยทำาหน้าที่ แสดงรูปภาพในเว็บบราวเซอร์ ใน
  • 27. Tag <img> จะต้องประกอบไปด้วย Attribute src ซึ่ง src เปรียบเสมือนแหล่งที่เก็บรูปภาพ (Source) ซึ่งค่าที่อยู่ใน src ก็คือ URL ของรูปภาพที่ต้องการ แสดงในเว็บบราวเซอร์นั่นเอง โครงสร้างของ Tag <img> มีดังนี้ <img src = ”url”> URL จะเป็นตัวที่บอกถึงสถานที่จัดเก็บรูปภาพ เช่นถ้ารูปภาพมีชื่อ ว่า "boat.gif" จัดเก็บ ไว้ในไดเรกทอรี่ ”image” ซึ่งอยู่ใน ”www.it.msu.ac.th” จะมี URL ดังนี้ http://www.it.msu.ac.th/image/images/boat.gif 9.2 Alt Attribute alt attribute ใช้แสดงข้อความ (alternate text) ใน แต่ละรูปภาพ แสดงดังตัวอย่างต่อไปนี้ <img src = ”boat.gif” alt = ”Big Boat”> alt attribute ใช้บอกผู้อ่านเมื่อเว็บบราวเซอร์ไม่สามารถทำาการ แสดงรูปภาพนั้นออกทาง หน้าจอ ดังนั้นจากตัวอย่างข้างต้น ถ้าไม่สามารถทำาการแสดง รูปภาพ เว็บบราวเซอร์จะทำาการ แสดงข้อความ ”Big Boat” แทน 10. HTML Backgrounds HTML สามารถที่จะแสดงพื้นหลัง (Background) เป็นสี และก็สามารถแสดงเป็นรูปภาพ ได้ Tag <body> จะประกอบด้วย 2 Attribute ซึ่งสามารถ กำาหนดให้เป็นสี หรือรูปภาพก็ได้ 10.1 Bgcolor bgcolor attribute จะทำาการกำาหนดพื้นหลังของเว็บเพจให้มี สีสัน โดยค่าของ bgcolor จะ ประกอบด้วยเลขฐานหก (Hexadecimal Number), ค่าสี RGB หรือชือของสี ่
  • 28. คำา สั่ง ในภาษา HTML คำา สั่ง พื้น ฐาน < !– ข้อความ –>คำาสั่ง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผู้ เขียนโปรแกรม และอื่นๆ <br> คำาสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <p> ข้อความ คำาสั่งย่อหน้าใหม่ </p> <hr width=”50%” คำาสั่ง ตีเส้น, กำาหนดขนาดเส้น size = “3″> &nbsp; คำาสั่ง เพิ่มช่องว่าง <IMG SRC = คำาสั่งแสดงรูปภาพชื่อ Photo.gif “PHOTO.GIF”> <CENTER> ข้อความ คำาสั่งจัดให้ข้อความอยู่กึ่งกลาง </CENTER> <HTML> คำาสั่ง <HTML> คือคำาสั่งเริ่มต้นในการเขียน </HTML> โปรแกรม HTML และมีคำาสั่ง </HTML> เพื่อ บอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม <HEAD> คำาสั่ง <HEAD> คือคำาสั่งบอกส่วนที่เป็นชื่อ </HEAD> เรื่อง โดยมีคำาสั่งย่อย <TITLE> อยู่ภายใน <TITLE> คำาสั่ง <TITLE> คือคำาสั่งบอกชื่อเรื่อง จะไป </TITLE> ปรากฏที่ Title Bar <BODY> คำาสั่ง <BODY> คือคำาสั่งบอกส่วนเนื้อเรื่อง ที่ </BODY> จะถูกแสดงผลในเวปบราวเซอร์ ประกอบด้วย
  • 29. รูปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็นต้น รูป แบบตัว อัก ษร <font size = “3″> ขนาดตัวอักษร ข้อความ </font> <font color = “red”> ข้อความ สีตัวอักษร </font> <font face = “Arial”> ข้อความ รูปแบบตัวอักษร </font> <besefont size = “2″> ข้อความ กำาหนดค่าเริ่มต้นของขนาดตัวอักษร </font> <b> ข้อความ </b> ตัวอักษรหนา <i> ข้อความ </i> ตัวอักษรเอน <u> ข้อความ </u> ขีดเส้นใต้ตัวอักษร <tt> ข้อความ </tt> ตัวอักษรแบบพิมพ์ดีด หมายเหตุุ เราสามารถใช้คำาสั่งกำาหนด รูปแบบตัวอักษร หลายๆรูปแบบได้ เช่น <font face = “Arial” size = “3″ color = “red”> ข้อความ </font> เป็นต้น
  • 30. จุด เชื่อ มโยงข้อ มูล <a href =”#news”> Hot News กำาหนดจุดเชื่อมชื่อ news </a> , ส่วน “a name” คือ <a name =”news”> ตำาแหน่งที่ลิงค์ไป (เอกสาร เดียวกัน) <a href =”news.html”> Hot สร้างลิงค์ไปยังเอกสารชื่อ News </a> “news.html” <a href =”http://www.thai.com”> Thai สร้างลิงค์ไปยังเวปไซท์อื่น </a> <a href สร้างลิงค์ไปยังเวปไซท์อื่น =”http://www.thai.com” และเปิดหน้าต่างใหม่ target = “_blank” > Thai </a> <a href สร้างลิงค์โดยใช้รูปภาพชื่อ =”http://www.thai.com”> photo.gif เป็นตัวเชื่อม <img src = “photo.gif”> </a> <a href =”mailto:yo@mail.com”> สร้างลิงค์มายังอีเมล Email </a> การแสดงผลแบบรายการแบบมีห มายเลขกำา กับ
  • 31. การแสดงผลแบบรายการ <OL value = “1″ > ใช้คำาสั่ง <OL> เป็นเริ่มและ <LI> รายการที่ 1 ปิดท้ายด้วย </OL> ส่วนคำา <LI> รายการที่ 2 สั่ง <LI> เป็นตำาแหน่งของ </OL> รายการที่ต้องการนำาเสนอ เราสามารถกำาหนดให้แสดง ผลรายการได้หลายแบบเช่น เรียงลำาดับ 1,2,3… หรือ I,II,III… หรือ A,B,C,… ได้ ทั้งนี้จะต้องเพิ่มคำาสั่งเข้าไป ที่ <OL value = “A”> เป็นต้น การแสดงผลแบบรายการแบบมีส ัญ ลัก ษณ์ก ำา กับ <UL type = “square”> การแสดงผลแบบรายการ <LI> รายการที่ 1 ใช้คำาสั่ง <UL> เป็นเริ่มและ <LI> รายการที่ 2 ปิดท้ายด้วย </UL> ส่วนคำา </UL> สั่ง <LI> เป็นตำาแหน่งของ รายการ ที่ตองการนำาเสนอ ้ เราสามารถกำาหนดให้แสดง ผลรายการแบบต่างๆ ดังต่อ ไปนี้ - รูปวงกลมทึบ “disc” - รูปวงกลมโปร่ง “circle” - รูปสี่เหลี่ยม “square” ได้ทั้งนี้จะต้องเพิ่มคำาสั่ง เข้าไปที่ <UL type = “square”> เป็นต้น