SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ย้อนรอยอดีต
         ****โลกหมุนรอบตัวเอง ก็จะทาให้เกิด
ปรากฏการณ์ กลางวันและกลางคืน ประกอบกันเป็น
1วัน และเมื่อท่านลองหมุนรอบตัวเองดูบ้าง พร้อม
กับนึกถึงวันคืนที่โลกหมุนไปแล้ว กี่รอบครั้ง ก็จะ
เห็นความเปลี่ยนแปลงมากมาย พูดภาษาพระ ก็ต้อง
บอกว่า มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับ
ไป ก็เช่นเดียวกัน กรมการทหารสื่อสาร ตั้งขึ้น
มาแล้ว ตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2467
                                                           กล้องถ่ายภาพนิ่ง SPEED GRAPHIC
มาถึงวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552นี้ โลกก็หมุน ใช้ฟิล์มชนิดแผ่น ขนาด 3 x 5 นิ้ว เล็นส์สามารถพับเก็บได้
มาแล้ว 31,025 รอบ และมีการเปลี่ยนแปลง
มากมาย ทั้งสถานที่ บุคคล ตลอดจน เครื่องมือ
เครืองใช้ ซึ่งมีความทันสมัยขึ้น มาเป็นลาดับ
    ่
         กองการภาพ กรมการทหารสื่อสาร ก็นับได้ว่า
ในวันที่ 15พ.ย.52 นี้ โลกก็จะหมุนมาแล้ว
20,075 รอบ ความเปลี่ยนแปลงที่มองเห็นได้ก็คือ                เริ่มมีใช้ในกองทัพบกสหรัฐ สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
จากแรกเริ่ม มีที่ตั้งอยู่ภายใน กรมการทหารสื่อสาร         บรรจุในกองทัพบกไทย สมัย ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์

บริเวณ อาคารกีฬาในปัจจุบัน เครื่องมือ และภารกิจ
ในสมัยนั้นก็จะเป็นการบันทึกภาพนิ่งเป็นส่วนใหญ่
กล้องที่ใช้ก็จะเป็นกล้อง ขนาดใหญ่ที่มีชื่อว่า SPEED
GRAPHIC ( สปีดกราฟฟิกส์ )นาเข้าบรรจุอยู่ในอัตรา

ของกองทัพบกสหรัฐ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
และบรรจุในกองทัพบกไทย สมัย ฯพณฯ จอมพล
สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก                                   ภาพที่บันทึกโดยแผ่นฟิล์มขนาด 3x5นิ้ว
         มีความยุ่งยากมาก ไม่สะดวก สบาย เหมือน                      ด้วยกล้อง SPEED GRAPHIC

สมัยนี้ ฟิล์มที่ใช้ เป็นฟิล์มแผ่น ขนาด 3 นิ้ว มีทั้งเป็น
แผ่นกระจก และแผ่นฟิล์มแบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
หนึ่งแผ่นฟิล์มต่อหนึ่งภาพ ก่อนจะไปถ่ายภาพ ต้องนา
ฟิล์มบรรจุลงในแม็กกะซีน(ฟังดูเหมือนใส่ลูกปืนเลย)
ซึ่งจะต้องทาในห้องมืด ก่อนจะถ่ายภาพ ก็นาแม็กฯ
ใส่ไว้หลังกล้อง แล้วดึง แผ่นกันแสงออก เพื่อพร้อม
                                                                       กล้อง SPEED GRAPHIC
ถ่ายภาพ เวลาถ่ายภาพเสร็จ ก็ต้องนาแผ่นกันแสงปิด ที่ยังอยู่ในการดูแลรักษาของแผนกภาพนิ่ง กองการภาพ สส.
แม็กฯ แล้วจึงถอดแม็กฯฟิล์มออก ถึงจะเปลี่ยนแม็ก
ฯฟิล์มแผ่นใหม่แทน อย่างมากก็สามารถพกพา
แผ่นฟิล์มพร้อมแม็กฯไปได้ไม่ถึง 10 แผ่นฟิล์ม....
ลองคิดดู ว่า ช่างภาพสมัยก่อน ต้องมีความสามารถ
เป็นอย่างมาก เพื่อเก็บภาพที่สมบูรณ์ที่สุด ไม่สามารถ
ถ่ายทิ้งถ่ายขว้างเหมือนสมัยนี้ ถ่ายไป 36 ภาพ ใช้ได้
ไม่กี่ภาพ เลนส์ก็ไม่มีซูม แต่มีรูรับแสงที่สามารถปรับ
ได้ สปีดชัทเตอร์ก็มีเพียงสองสปีด ไฟแวบถ่ายภาพ
หรือที่เราๆ เรียกกันว่า แฟลท เป็นระบบหนึ่งหลอด
หนึ่งภาพ คือถ่ายเสร็จก็ ปลดหลอดทิ้งเลย ดังนั้นเวลา       กล้องถ่ายภาพนิ่ง SPEED GRAPHIC
                                                         ประกอบกับไฟถ่ายภาพชนิดหลอด หนึงหลอดต่อหนึ่งภาพ
                                                                                       ่
ถ่ายภาพกลางคืนก็ต้องพกหลอดไฟเป็นกระเป๋าเลย
เมื่อช่างถ่ายภาพเสร็จภารกิจ ก็จะนาแม็กฯทั้งหมด ส่ง
ต่อให้กับเจ้าหน้าที่ล้างอัดขยาย เพื่อทาการล้างอัดภาพ
ตามขนาดที่ต้องการเพื่อเผยแพร่ หรือส่งให้กับ
ผู้บังคับบัญชาต่อไป นี่แค่กล้องถ่ายภาพทั่วไปใน
สมัยก่อนน๊ะครับ
          ยังมีกล้องพิเศษอีก ที่เราเรียกกันสมัยนี้ว่า
กล้องหมุน หรือที่เรียกตามภาษาราชการว่า กล้อง
ถ่ายภาพมุมกว้าง สมัยก่อนกองการภาพก็มีใช้ ทันสมัย
ที่สุดในสมัยต้นๆนั้น เป็นกล้องที่ใช้ไขลาน ตัวเลนส์
จะทาหน้าที่หมุนเมื่อดันเลนส์ไปที่จุดเริ่มต้น ก็เท่ากับ
เป็นการไขลาน และเมื่อกดชัทเตอร์ เลนส์ก็จะหมุม
กลับมาที่เดิมพร้อมกับเปิดหน้ากล้องไปด้วย ไม่
เหมือนสมัยนี้ที่ใช้ตัวกล้องทั้งตัวเป็นตัวหมุน มุมที
                                                               กล้องถ่ายมุมกว้างใช้ฟิล์มขนาด 120 มม.
หมุนก็ได้กว้างกว่า และยังมีเครื่องอานวยความสะดวก           ทางานด้วยการไขลาน ใช้ ภารกิจในการถ่ายภาพหมู่
มากกว่า กล้องเก่านี้ ทามุมได้ 140 องศา สมัยใหม่              ภาพมุมกว้างไม่เกิน 140 องศา จากซ้ายไปขวา
                                                              บรรจุในกองการภาพ ประมาณปี พ.ศ. 2510
สามารถหมุนได้ 360 องศา
ส่วนกล้องถ่ายภาพบุคคลที่ใช้ในสถานที่หรือ
ที่เรียกว่ากล้องสตูดิโอ ก็จะเป็นกล้องแบบร้านถ่ายภาพ
ทั่วไป ใช้ฟิล์มแผ่นขนาด 3 นิ้ว บรรจุใส่กล่องไม้ การ
ทางานคล้ายกับกล้อง SPEED GRAPHIC สามารถ
ถ่ายภาพได้ทั้งขาวดาและสี ตัวกล้องทาด้วยไม้ ใช้ลูก
ยางปั๊มลมเป็นตัวเปิดปิดชัทเตอร์ สามารถมองเห็นได้
จากหลังกล้อง ซึ่งจะเป็นภาพสะท้อนหัวกลับ เวลา
ถ่ายภาพต้องใช้ผ้าคลุมด้านหลังเพื่อการมองเห็นจะได้
ชัดเจน สามารถแบ่งเฟรมทีละครึ่งของแผ่นฟิล์ม
ดังนั้นเมื่อมีใครมาถ่ายภาพครึ่งตัว ก็ต้องรอให้มีมาถ่าย
อีกคน จึงจะนาฟิล์มออกมาล้างได้ เพื่อเป็นการ
ประหยัด ตอนนี้ กองการภาพก็ได้รักษาไว้ ซึ่งใน
อนาคต กาลังจะทาเป็นห้องแสดงวิวัฒนาการของ                       กล้องถ่ายภาพบุคคล แบบประจาที่ใช้ฟิล์มชนิดแผ่น
กองการภาพ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้มาศึกษา ต่อไป                 ขนาด 3 x 5 นิ้ว ตัวกล้องทาด้วยไม้ ใช้ลูกยางลมในการ
                                                                กดชัทเตอร์ถ่ายภาพ เริ่มใช้ประมาณปี พ.ศ. 2510

         สาหรับทางด้านงานภาพยนตร์ ในสมัยก่อน
กองการภาพได้มีการปฏิบัติหน้าที่อย่างมากมาย มีการ
ถ่ายทาภาพยนตร์แทบไม่ได้หยุดหย่อน ยิ่งช่วงที่มี
ความคิดแตกแยกทางการปกครอง ทาให้ต้องมีการ
จัดทาภาพยนตร์ประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่องทั้งแนว
ข่าว สารคดี และละคร เพื่อให้เกิดความรักชาติ รัก
                                                                กองถ่ายทาภาพยนตร์ ของกองการภาพในสมัยก่อน
แผ่นดิน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการต่อต้านระบอบคอมมิวนิสต์
เรียกว่าเป็นการทางานแบบเบ็ดเสร็จเลยก็ว่าได้ ในกอง
ถ่ายทา มีทั้งผู้กากับ เจ้าหน้าที่สร้างเรื่อง เจ้าหน้าที่ไฟ
เรียกว่าสีแสงเสียงเพียบ ตามแบบกองถ่ายทาภาพยนตร์
ทั่วไป เมื่อถ่ายทาจนสมบูรณ์เรียบร้อย ผ่านกระบวน
การผลิตอย่างพิถีพิถัน ตลอดจน ผ่านการตรวจสอบ
กองการภาพก็จะนาภาพยนตร์นั้นๆ ไปฉายยังพื้นที่
                                                             พ.อ.ทวี วุฒิยานันท์ ใช้กล้องใหม่ในสมัยสงครามเวียดนาม
เป้าหมายอีกด้วย
ในยุคต้นๆ ก็ใช้กล้องถ่ายภาพยนตร์แบบไม่
บันทึกเสียง ยี่ห้อ Bell & Howell 70 DR
เป็นแบบไขลาน ไขลานครั้งหนึ่งก็ถ่ายภาพยนตร์ได้
ประมาณ 10 ถึง 15 ฟิต ฟิล์มที่ใช้ก็เป็นมาตราฐาน
ขนาด 16 มม. ความยาว 100 ฟิต ถ้าคิดเป็นเวลาก็
ได้ ประมาณ 3นาที ก็ลองคิดดูแล้วกัน ถ้าจะถ่ายหนัง               กล้องถ่ายภาพยนตร์แบบไม่บันทึกเสียง ยี่ห้อ
สารคดีสักเรื่อง ต้องการความยาว 15 นาที ก็ต้องใช้                    Bell & Howell 70 DR

ฟิล์ม 5 ม้วน เผื่อเสีย เผื่อหัวท้ายม้วนด้วย อย่างน้อย ก็
ต้อง สัก 10 ม้วนฟิล์ม เมื่อถ่ายทาเสร็จ ก็จะเป็น
ขั้นตอนการผลิตให้ได้ชมกัน เริ่มตั้งแต่การล้างฟิล์ม
ภาพยนตร์ ซึ่งกองการภาพ เราก็มีเครื่องล้างฟิล์ม
ภาพยนตร์ขาวดา                ครั้งแรก ก็ได้มาจากสานัก
                                                                กล้องและเครื่องตัดต่อฟิล์มขนาด 16 มม.
นายกรัฐมนตรี สมัยฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์
เป็นผบ.ทบ.และนายกรัฐมนตรี และเครื่องที่เห็นใน
ภาพเป็นเครื่องที่ 2 โดยเริ่มติดตั้ง พร้อมกับอาคาร
ใหม่ในพื้นที่บางเขน ปัจจุบันเสื่อมสภาพหมดแล้ว
         เครื่องล้างฟิล์มภาพยนตร์นี้ เป็นแบบอัตโนมัติ
ล้างได้เฉพาะฟิล์มขาวดา มีน้ายาหลายอย่าง จนถึง              ในสมัยแรกๆ ที่บางเขน กองการภาพมีกาลังพลมากมาย
                                                                 เหมือนกับ บ.ถ่ายทาภาพยนตร์ดังๆ เลย
ระบบอบฟิล์ม พูดง่ายๆ ล้างเสร็จฉายได้เลย ดังนั้น
สมัยที่ ททบ.7 (ขาวดา)หรือ ททบ.5 ในปัจจุบัน
กองการภาพได้บันทึกภาพยนตร์ทั้งภารกิจ
ผู้บังคับบัญชา และภารกิจของกองทัพบก ดาเนินการ
ส่งภาพยนตร์พร้อมบทบรรยาย เพื่องานข่าวและ
ประชาสัมพันธ์มาโดยตลอด ทางานกันจนขนาดเปิด
                                                              เครื่องล้างฟิล์มภาพยนตร์ขาวดาแบบอัตโนมัต
บริษัทถ่ายทาภาพยนตร์กันเลย เช่น บ.รัชฟิล์ม ก็เป็น
ของนายทหารจากกองการภาพ ตากล้องและอีก
หลายๆคน ก็ได้ทางานพิเศษกัน แต่ไม่ได้หมายความว่า
เอาของหลวงไปทาน๊ะ เอาแรงกันอย่างเดียว ใครว่างก็
ไปช่วยกัน จึงทาให้กองการภาพมีบุคลากรที่มีคุณภาพ
มากมาย เป็นการเปิดโลกทัศน์กันอีกแบบ เมื่อผ่าน
กระบวนการล้างเสร็จก็ต้องมาตัดต่อ การตัดต่อก็ไม่
                                                           เจ้าหน้าที่ตัดต่อกาลังดาเนินการตัดต่อฟิล์มภาพยนตร์
ค่อยยุ่งยากมากนัก แต่ต้องใช้สายตาอย่างมาก                                     ตามบทบรรยาย
ปกติฟิล์มภาพยนตร์จะเทียบกับเวลาได้ก็คือ 24 เฟรม
ต่อ 1วินาที ดังนั้นที่บอกว่าต้องใช้สายตาก็คือต้อง
มองให้ดี เวลามีภาพเสียอาจเสียเพียง 1เฟรม ก็จะต้อง
หาให้เจอ ซึ่งอาจทาให้ภาพยนตร์กระตุก ยิ่งถ้าใช้
กล้องที่สมัยใหม่หน่อย เดินกล้องด้วยไฟฟ้า มักจะเกิด
ช่องว่างระหว่างคัท มักจะเป็นเฟรมที่มีแสงสว่างมาก                   เจ้าหน้าที่เสียงกาลังบันทึกเสียง
และเมื่อทาการตัดต่อได้ภาพตามบทบรรยายแล้ว ก็จะ                       เพื่อบันทึกลงฟิล์มภาพยนตร์

เป็นขั้นตอนการบันทึกเสียง โดยบันทึกเสียงคา
บรรยายเปล่าๆมาหนึ่งม้วนเทป ซึ่งอาจใช้เวลาน้อย
กว่าเวลาของภาพยนตร์ เจ้าหน้าที่เสียงก็จะฉาย
ภาพยนตร์พร้อมกับเปิดเทปเสียงไป เวลาเดียวกันก็
อัดเสียงใหม่อีกม้วนหนึ่ง ช่วงไหนไม่มีคาบรรยาย ก็จะ
เปิดแผ่นเสียง เพลงบรรเลงเบาๆ ให้เข้ากับบรรยากาศ        เจ้าหน้าที่สาเนาฟิล์มภาพยนตร์ กาลังใช้เครื่องสาเนาฟิล์ม
ของภาพยนตร์ ทาจนได้เวลาของเทปเสียงเท่ากับ                   เพื่อการแจกจ่าย หรือทาฟิล์มภาพยนตร์ต้นฉบับ

ความยาวของภาพยนตร์ เจ้าหน้าที่เสียง ก็จะทาการ
บันทึกเสียงลงม้วนภาพยนตร์ที่สามารถบันทึกเสียงได้
ม้วนฟิล์มภาพยนตร์แบบบันทึกเสียงได้นี้ จะเป็นฟิล์ม
ภาพยนตร์ที่มี ร่องหนามเตยเพียงด้านเดียว เป็นม้วน
ภาพยนตร์เปล่าที่ยังไม่มีการบันทึกภาพ โดยใช้
เครื่องมือพิเศษในการบันทึก ใช้เสียงจากม้วนเทป
แปลงสัญญาณเป็นเส้นแสงฉายไปที่แถบเสียง ก็คือ
ส่วนที่ไม่มีหนามเตยนั้นเอง
         จากนั้นเจ้าหน้าที่พิมพ์ฟิล์ม ก็จะรับไป
ดาเนินการต่อ ขั้นตอนนี้ต้องทาในห้องมืดเท่านั้น เริ่ม            เครื่องสาเนาฟิล์มภาพยนตร์ 16 มม.
จากนาฟิล์มภาพยนตร์ที่ถูกบันทึกเสียงด้วยแสง แต่ยัง          สามารถสาเนาฟิล์มความยาวได้ถึง 1,600 ฟิต
                                                             หรือความยาวภาพยนตร์ประมาณ 45 นาที
ไม่ได้ล้าง และฟิล์มภาพยนตร์ที่ล้างแล้ว มาทาการ
สาเนาลงม้วนที่บันทึกเสียงแล้ว เรียกว่าก๊อปปี้ เฟลม
ต่อเฟลมเลยทีเดียว จากนั้น ก็จะนาฟิล์มที่ได้ทั้งภาพ
และเสียงนี้ ไปล้าง จนเสร็จกระบวนการ เราก็จะได้
ภาพยนตร์ที่พร้อมฉายได้
เป็นไงครับฟังดูแล้วยุ่งยากมากๆ แต่ท่านทราบ
หรือไม่ว่า ภาพยนตร์ที่ได้กล่าวมานี้ ได้ทาไว้ เมื่อกว่า
50 ปีที่แล้ว เรายังสามารถนามาฉายได้ดีอยู่เลย
          มาถึงช่วงสุดท้ายแล้ว ในโลกแห่งเทคโนโลยี
ที่ทันสมัย การบันทึกเรื่องราว ด้วยวัสดุหรืออุปกรณ์
ใดๆที่เป็นระบบดิจิตอล สักวันหนึ่ง จะเกิดการสูญ
หาย ไม่สามารถหาชมได้อีก ดังนั้นประวัติศาสตร์ที่
เป็นดิจิตอล ก็จะถูกลบเลือนไปได้เช่นกัน
          ผู้เขียนเองก็มีฟิล์มภาพยนตร์ 16 มม.ที่เรียกว่า
เป็นอนาลอกแท้ๆ สมัยการสู้รบที่เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์              พ.อ.สมจริง สิงหเสนี ที่ปรึกษา กอ.รมน.ภาค 3
                                                                    ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรฐ จ.พิษณุโลก
(ยุทธการผาเมืองเผด็จศึก) เรียกว่าเป็นภาพยนตร์                  (ผู้บันทึกภาพยนตร์ ยุทธการผาเมืองเผด็จศึก)
ต้นฉบับเลยก็ว่าได้ ขณะนี้ได้ดาเนินการจัดทาเป็นวีดิ
ทัศน์ และบันทึกไว้ในรูปแบบแผ่นวีซีดี ตามคาร้องขอ
ของเจ้าของฟิล์มภาพยนตร์ เพื่อให้การรับชมเป็นไป
ด้วยความสะดวกยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการรักษาฟิล์ม
ภาพยนตร์ จากผู้ที่ถ่ายทามา ด้วยความยากลาบาก และ
เสี่ยงอันตราย โดยในไม่นานนี้จะได้นาภาพยนตร์
ดังกล่าวไปเก็บไว้ที่ หอภาพยนตร์แห่งชาติ ถ้าผู้ใดหรือ
หน่วยงานใดสนใจที่จะได้ไว้เพื่อการศึกษา ติดต่อได้ที่
พ.อ.สมจริง สิงหเสนี ที่ปรึกษา กอ.รมน.ภาค 3 ค่าย
สมเด็จพระเอกาทศรฐ จ.พิษณุโลก
        ต้องกราบขอบพระคุณผู้ที่ให้ข้อมูล ทั้งหมด แต่อาจจะ
มีความคลาดเคลื่อนไปบ้าง เนื่องจากผู้เล่าให้ฟังท่านก็อายุมาก
ทั้งสองท่านแล้ว คือ
   พ.อ.ทวี วุฒิยานันท์ ช่างถ่ายภาพยนตร์ กภ.สส.(คุณพ่อ)
   ส.ต.หญิงน้อย วุฒิยานันท์ ช่างถ่ายภาพ กภ.สส.(คุณแม่)
                 แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าน๊ะครับ
              พ.ต.นิวัฒน์ วุฒิยานันท์ ช่างถ่ายภาพ กภ.สส.
                            { อ๊อดวีดีโอ }
                   oodvdo@hotmail.com
วารสารฉบับที่ 3 ย้อนรอยอดีต

More Related Content

Featured

How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellSaba Software
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageSimplilearn
 

Featured (20)

How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming Language
 

วารสารฉบับที่ 3 ย้อนรอยอดีต

  • 1. ย้อนรอยอดีต ****โลกหมุนรอบตัวเอง ก็จะทาให้เกิด ปรากฏการณ์ กลางวันและกลางคืน ประกอบกันเป็น 1วัน และเมื่อท่านลองหมุนรอบตัวเองดูบ้าง พร้อม กับนึกถึงวันคืนที่โลกหมุนไปแล้ว กี่รอบครั้ง ก็จะ เห็นความเปลี่ยนแปลงมากมาย พูดภาษาพระ ก็ต้อง บอกว่า มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับ ไป ก็เช่นเดียวกัน กรมการทหารสื่อสาร ตั้งขึ้น มาแล้ว ตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 กล้องถ่ายภาพนิ่ง SPEED GRAPHIC มาถึงวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552นี้ โลกก็หมุน ใช้ฟิล์มชนิดแผ่น ขนาด 3 x 5 นิ้ว เล็นส์สามารถพับเก็บได้ มาแล้ว 31,025 รอบ และมีการเปลี่ยนแปลง มากมาย ทั้งสถานที่ บุคคล ตลอดจน เครื่องมือ เครืองใช้ ซึ่งมีความทันสมัยขึ้น มาเป็นลาดับ ่ กองการภาพ กรมการทหารสื่อสาร ก็นับได้ว่า ในวันที่ 15พ.ย.52 นี้ โลกก็จะหมุนมาแล้ว 20,075 รอบ ความเปลี่ยนแปลงที่มองเห็นได้ก็คือ เริ่มมีใช้ในกองทัพบกสหรัฐ สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จากแรกเริ่ม มีที่ตั้งอยู่ภายใน กรมการทหารสื่อสาร บรรจุในกองทัพบกไทย สมัย ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ บริเวณ อาคารกีฬาในปัจจุบัน เครื่องมือ และภารกิจ ในสมัยนั้นก็จะเป็นการบันทึกภาพนิ่งเป็นส่วนใหญ่ กล้องที่ใช้ก็จะเป็นกล้อง ขนาดใหญ่ที่มีชื่อว่า SPEED GRAPHIC ( สปีดกราฟฟิกส์ )นาเข้าบรรจุอยู่ในอัตรา ของกองทัพบกสหรัฐ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และบรรจุในกองทัพบกไทย สมัย ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก ภาพที่บันทึกโดยแผ่นฟิล์มขนาด 3x5นิ้ว มีความยุ่งยากมาก ไม่สะดวก สบาย เหมือน ด้วยกล้อง SPEED GRAPHIC สมัยนี้ ฟิล์มที่ใช้ เป็นฟิล์มแผ่น ขนาด 3 นิ้ว มีทั้งเป็น แผ่นกระจก และแผ่นฟิล์มแบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน หนึ่งแผ่นฟิล์มต่อหนึ่งภาพ ก่อนจะไปถ่ายภาพ ต้องนา ฟิล์มบรรจุลงในแม็กกะซีน(ฟังดูเหมือนใส่ลูกปืนเลย) ซึ่งจะต้องทาในห้องมืด ก่อนจะถ่ายภาพ ก็นาแม็กฯ ใส่ไว้หลังกล้อง แล้วดึง แผ่นกันแสงออก เพื่อพร้อม กล้อง SPEED GRAPHIC ถ่ายภาพ เวลาถ่ายภาพเสร็จ ก็ต้องนาแผ่นกันแสงปิด ที่ยังอยู่ในการดูแลรักษาของแผนกภาพนิ่ง กองการภาพ สส.
  • 2. แม็กฯ แล้วจึงถอดแม็กฯฟิล์มออก ถึงจะเปลี่ยนแม็ก ฯฟิล์มแผ่นใหม่แทน อย่างมากก็สามารถพกพา แผ่นฟิล์มพร้อมแม็กฯไปได้ไม่ถึง 10 แผ่นฟิล์ม.... ลองคิดดู ว่า ช่างภาพสมัยก่อน ต้องมีความสามารถ เป็นอย่างมาก เพื่อเก็บภาพที่สมบูรณ์ที่สุด ไม่สามารถ ถ่ายทิ้งถ่ายขว้างเหมือนสมัยนี้ ถ่ายไป 36 ภาพ ใช้ได้ ไม่กี่ภาพ เลนส์ก็ไม่มีซูม แต่มีรูรับแสงที่สามารถปรับ ได้ สปีดชัทเตอร์ก็มีเพียงสองสปีด ไฟแวบถ่ายภาพ หรือที่เราๆ เรียกกันว่า แฟลท เป็นระบบหนึ่งหลอด หนึ่งภาพ คือถ่ายเสร็จก็ ปลดหลอดทิ้งเลย ดังนั้นเวลา กล้องถ่ายภาพนิ่ง SPEED GRAPHIC ประกอบกับไฟถ่ายภาพชนิดหลอด หนึงหลอดต่อหนึ่งภาพ ่ ถ่ายภาพกลางคืนก็ต้องพกหลอดไฟเป็นกระเป๋าเลย เมื่อช่างถ่ายภาพเสร็จภารกิจ ก็จะนาแม็กฯทั้งหมด ส่ง ต่อให้กับเจ้าหน้าที่ล้างอัดขยาย เพื่อทาการล้างอัดภาพ ตามขนาดที่ต้องการเพื่อเผยแพร่ หรือส่งให้กับ ผู้บังคับบัญชาต่อไป นี่แค่กล้องถ่ายภาพทั่วไปใน สมัยก่อนน๊ะครับ ยังมีกล้องพิเศษอีก ที่เราเรียกกันสมัยนี้ว่า กล้องหมุน หรือที่เรียกตามภาษาราชการว่า กล้อง ถ่ายภาพมุมกว้าง สมัยก่อนกองการภาพก็มีใช้ ทันสมัย ที่สุดในสมัยต้นๆนั้น เป็นกล้องที่ใช้ไขลาน ตัวเลนส์ จะทาหน้าที่หมุนเมื่อดันเลนส์ไปที่จุดเริ่มต้น ก็เท่ากับ เป็นการไขลาน และเมื่อกดชัทเตอร์ เลนส์ก็จะหมุม กลับมาที่เดิมพร้อมกับเปิดหน้ากล้องไปด้วย ไม่ เหมือนสมัยนี้ที่ใช้ตัวกล้องทั้งตัวเป็นตัวหมุน มุมที กล้องถ่ายมุมกว้างใช้ฟิล์มขนาด 120 มม. หมุนก็ได้กว้างกว่า และยังมีเครื่องอานวยความสะดวก ทางานด้วยการไขลาน ใช้ ภารกิจในการถ่ายภาพหมู่ มากกว่า กล้องเก่านี้ ทามุมได้ 140 องศา สมัยใหม่ ภาพมุมกว้างไม่เกิน 140 องศา จากซ้ายไปขวา บรรจุในกองการภาพ ประมาณปี พ.ศ. 2510 สามารถหมุนได้ 360 องศา
  • 3. ส่วนกล้องถ่ายภาพบุคคลที่ใช้ในสถานที่หรือ ที่เรียกว่ากล้องสตูดิโอ ก็จะเป็นกล้องแบบร้านถ่ายภาพ ทั่วไป ใช้ฟิล์มแผ่นขนาด 3 นิ้ว บรรจุใส่กล่องไม้ การ ทางานคล้ายกับกล้อง SPEED GRAPHIC สามารถ ถ่ายภาพได้ทั้งขาวดาและสี ตัวกล้องทาด้วยไม้ ใช้ลูก ยางปั๊มลมเป็นตัวเปิดปิดชัทเตอร์ สามารถมองเห็นได้ จากหลังกล้อง ซึ่งจะเป็นภาพสะท้อนหัวกลับ เวลา ถ่ายภาพต้องใช้ผ้าคลุมด้านหลังเพื่อการมองเห็นจะได้ ชัดเจน สามารถแบ่งเฟรมทีละครึ่งของแผ่นฟิล์ม ดังนั้นเมื่อมีใครมาถ่ายภาพครึ่งตัว ก็ต้องรอให้มีมาถ่าย อีกคน จึงจะนาฟิล์มออกมาล้างได้ เพื่อเป็นการ ประหยัด ตอนนี้ กองการภาพก็ได้รักษาไว้ ซึ่งใน อนาคต กาลังจะทาเป็นห้องแสดงวิวัฒนาการของ กล้องถ่ายภาพบุคคล แบบประจาที่ใช้ฟิล์มชนิดแผ่น กองการภาพ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้มาศึกษา ต่อไป ขนาด 3 x 5 นิ้ว ตัวกล้องทาด้วยไม้ ใช้ลูกยางลมในการ กดชัทเตอร์ถ่ายภาพ เริ่มใช้ประมาณปี พ.ศ. 2510 สาหรับทางด้านงานภาพยนตร์ ในสมัยก่อน กองการภาพได้มีการปฏิบัติหน้าที่อย่างมากมาย มีการ ถ่ายทาภาพยนตร์แทบไม่ได้หยุดหย่อน ยิ่งช่วงที่มี ความคิดแตกแยกทางการปกครอง ทาให้ต้องมีการ จัดทาภาพยนตร์ประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่องทั้งแนว ข่าว สารคดี และละคร เพื่อให้เกิดความรักชาติ รัก กองถ่ายทาภาพยนตร์ ของกองการภาพในสมัยก่อน แผ่นดิน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการต่อต้านระบอบคอมมิวนิสต์ เรียกว่าเป็นการทางานแบบเบ็ดเสร็จเลยก็ว่าได้ ในกอง ถ่ายทา มีทั้งผู้กากับ เจ้าหน้าที่สร้างเรื่อง เจ้าหน้าที่ไฟ เรียกว่าสีแสงเสียงเพียบ ตามแบบกองถ่ายทาภาพยนตร์ ทั่วไป เมื่อถ่ายทาจนสมบูรณ์เรียบร้อย ผ่านกระบวน การผลิตอย่างพิถีพิถัน ตลอดจน ผ่านการตรวจสอบ กองการภาพก็จะนาภาพยนตร์นั้นๆ ไปฉายยังพื้นที่ พ.อ.ทวี วุฒิยานันท์ ใช้กล้องใหม่ในสมัยสงครามเวียดนาม เป้าหมายอีกด้วย
  • 4. ในยุคต้นๆ ก็ใช้กล้องถ่ายภาพยนตร์แบบไม่ บันทึกเสียง ยี่ห้อ Bell & Howell 70 DR เป็นแบบไขลาน ไขลานครั้งหนึ่งก็ถ่ายภาพยนตร์ได้ ประมาณ 10 ถึง 15 ฟิต ฟิล์มที่ใช้ก็เป็นมาตราฐาน ขนาด 16 มม. ความยาว 100 ฟิต ถ้าคิดเป็นเวลาก็ ได้ ประมาณ 3นาที ก็ลองคิดดูแล้วกัน ถ้าจะถ่ายหนัง กล้องถ่ายภาพยนตร์แบบไม่บันทึกเสียง ยี่ห้อ สารคดีสักเรื่อง ต้องการความยาว 15 นาที ก็ต้องใช้ Bell & Howell 70 DR ฟิล์ม 5 ม้วน เผื่อเสีย เผื่อหัวท้ายม้วนด้วย อย่างน้อย ก็ ต้อง สัก 10 ม้วนฟิล์ม เมื่อถ่ายทาเสร็จ ก็จะเป็น ขั้นตอนการผลิตให้ได้ชมกัน เริ่มตั้งแต่การล้างฟิล์ม ภาพยนตร์ ซึ่งกองการภาพ เราก็มีเครื่องล้างฟิล์ม ภาพยนตร์ขาวดา ครั้งแรก ก็ได้มาจากสานัก กล้องและเครื่องตัดต่อฟิล์มขนาด 16 มม. นายกรัฐมนตรี สมัยฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผบ.ทบ.และนายกรัฐมนตรี และเครื่องที่เห็นใน ภาพเป็นเครื่องที่ 2 โดยเริ่มติดตั้ง พร้อมกับอาคาร ใหม่ในพื้นที่บางเขน ปัจจุบันเสื่อมสภาพหมดแล้ว เครื่องล้างฟิล์มภาพยนตร์นี้ เป็นแบบอัตโนมัติ ล้างได้เฉพาะฟิล์มขาวดา มีน้ายาหลายอย่าง จนถึง ในสมัยแรกๆ ที่บางเขน กองการภาพมีกาลังพลมากมาย เหมือนกับ บ.ถ่ายทาภาพยนตร์ดังๆ เลย ระบบอบฟิล์ม พูดง่ายๆ ล้างเสร็จฉายได้เลย ดังนั้น สมัยที่ ททบ.7 (ขาวดา)หรือ ททบ.5 ในปัจจุบัน กองการภาพได้บันทึกภาพยนตร์ทั้งภารกิจ ผู้บังคับบัญชา และภารกิจของกองทัพบก ดาเนินการ ส่งภาพยนตร์พร้อมบทบรรยาย เพื่องานข่าวและ ประชาสัมพันธ์มาโดยตลอด ทางานกันจนขนาดเปิด เครื่องล้างฟิล์มภาพยนตร์ขาวดาแบบอัตโนมัต บริษัทถ่ายทาภาพยนตร์กันเลย เช่น บ.รัชฟิล์ม ก็เป็น ของนายทหารจากกองการภาพ ตากล้องและอีก หลายๆคน ก็ได้ทางานพิเศษกัน แต่ไม่ได้หมายความว่า เอาของหลวงไปทาน๊ะ เอาแรงกันอย่างเดียว ใครว่างก็ ไปช่วยกัน จึงทาให้กองการภาพมีบุคลากรที่มีคุณภาพ มากมาย เป็นการเปิดโลกทัศน์กันอีกแบบ เมื่อผ่าน กระบวนการล้างเสร็จก็ต้องมาตัดต่อ การตัดต่อก็ไม่ เจ้าหน้าที่ตัดต่อกาลังดาเนินการตัดต่อฟิล์มภาพยนตร์ ค่อยยุ่งยากมากนัก แต่ต้องใช้สายตาอย่างมาก ตามบทบรรยาย
  • 5. ปกติฟิล์มภาพยนตร์จะเทียบกับเวลาได้ก็คือ 24 เฟรม ต่อ 1วินาที ดังนั้นที่บอกว่าต้องใช้สายตาก็คือต้อง มองให้ดี เวลามีภาพเสียอาจเสียเพียง 1เฟรม ก็จะต้อง หาให้เจอ ซึ่งอาจทาให้ภาพยนตร์กระตุก ยิ่งถ้าใช้ กล้องที่สมัยใหม่หน่อย เดินกล้องด้วยไฟฟ้า มักจะเกิด ช่องว่างระหว่างคัท มักจะเป็นเฟรมที่มีแสงสว่างมาก เจ้าหน้าที่เสียงกาลังบันทึกเสียง และเมื่อทาการตัดต่อได้ภาพตามบทบรรยายแล้ว ก็จะ เพื่อบันทึกลงฟิล์มภาพยนตร์ เป็นขั้นตอนการบันทึกเสียง โดยบันทึกเสียงคา บรรยายเปล่าๆมาหนึ่งม้วนเทป ซึ่งอาจใช้เวลาน้อย กว่าเวลาของภาพยนตร์ เจ้าหน้าที่เสียงก็จะฉาย ภาพยนตร์พร้อมกับเปิดเทปเสียงไป เวลาเดียวกันก็ อัดเสียงใหม่อีกม้วนหนึ่ง ช่วงไหนไม่มีคาบรรยาย ก็จะ เปิดแผ่นเสียง เพลงบรรเลงเบาๆ ให้เข้ากับบรรยากาศ เจ้าหน้าที่สาเนาฟิล์มภาพยนตร์ กาลังใช้เครื่องสาเนาฟิล์ม ของภาพยนตร์ ทาจนได้เวลาของเทปเสียงเท่ากับ เพื่อการแจกจ่าย หรือทาฟิล์มภาพยนตร์ต้นฉบับ ความยาวของภาพยนตร์ เจ้าหน้าที่เสียง ก็จะทาการ บันทึกเสียงลงม้วนภาพยนตร์ที่สามารถบันทึกเสียงได้ ม้วนฟิล์มภาพยนตร์แบบบันทึกเสียงได้นี้ จะเป็นฟิล์ม ภาพยนตร์ที่มี ร่องหนามเตยเพียงด้านเดียว เป็นม้วน ภาพยนตร์เปล่าที่ยังไม่มีการบันทึกภาพ โดยใช้ เครื่องมือพิเศษในการบันทึก ใช้เสียงจากม้วนเทป แปลงสัญญาณเป็นเส้นแสงฉายไปที่แถบเสียง ก็คือ ส่วนที่ไม่มีหนามเตยนั้นเอง จากนั้นเจ้าหน้าที่พิมพ์ฟิล์ม ก็จะรับไป ดาเนินการต่อ ขั้นตอนนี้ต้องทาในห้องมืดเท่านั้น เริ่ม เครื่องสาเนาฟิล์มภาพยนตร์ 16 มม. จากนาฟิล์มภาพยนตร์ที่ถูกบันทึกเสียงด้วยแสง แต่ยัง สามารถสาเนาฟิล์มความยาวได้ถึง 1,600 ฟิต หรือความยาวภาพยนตร์ประมาณ 45 นาที ไม่ได้ล้าง และฟิล์มภาพยนตร์ที่ล้างแล้ว มาทาการ สาเนาลงม้วนที่บันทึกเสียงแล้ว เรียกว่าก๊อปปี้ เฟลม ต่อเฟลมเลยทีเดียว จากนั้น ก็จะนาฟิล์มที่ได้ทั้งภาพ และเสียงนี้ ไปล้าง จนเสร็จกระบวนการ เราก็จะได้ ภาพยนตร์ที่พร้อมฉายได้
  • 6. เป็นไงครับฟังดูแล้วยุ่งยากมากๆ แต่ท่านทราบ หรือไม่ว่า ภาพยนตร์ที่ได้กล่าวมานี้ ได้ทาไว้ เมื่อกว่า 50 ปีที่แล้ว เรายังสามารถนามาฉายได้ดีอยู่เลย มาถึงช่วงสุดท้ายแล้ว ในโลกแห่งเทคโนโลยี ที่ทันสมัย การบันทึกเรื่องราว ด้วยวัสดุหรืออุปกรณ์ ใดๆที่เป็นระบบดิจิตอล สักวันหนึ่ง จะเกิดการสูญ หาย ไม่สามารถหาชมได้อีก ดังนั้นประวัติศาสตร์ที่ เป็นดิจิตอล ก็จะถูกลบเลือนไปได้เช่นกัน ผู้เขียนเองก็มีฟิล์มภาพยนตร์ 16 มม.ที่เรียกว่า เป็นอนาลอกแท้ๆ สมัยการสู้รบที่เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ พ.อ.สมจริง สิงหเสนี ที่ปรึกษา กอ.รมน.ภาค 3 ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรฐ จ.พิษณุโลก (ยุทธการผาเมืองเผด็จศึก) เรียกว่าเป็นภาพยนตร์ (ผู้บันทึกภาพยนตร์ ยุทธการผาเมืองเผด็จศึก) ต้นฉบับเลยก็ว่าได้ ขณะนี้ได้ดาเนินการจัดทาเป็นวีดิ ทัศน์ และบันทึกไว้ในรูปแบบแผ่นวีซีดี ตามคาร้องขอ ของเจ้าของฟิล์มภาพยนตร์ เพื่อให้การรับชมเป็นไป ด้วยความสะดวกยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการรักษาฟิล์ม ภาพยนตร์ จากผู้ที่ถ่ายทามา ด้วยความยากลาบาก และ เสี่ยงอันตราย โดยในไม่นานนี้จะได้นาภาพยนตร์ ดังกล่าวไปเก็บไว้ที่ หอภาพยนตร์แห่งชาติ ถ้าผู้ใดหรือ หน่วยงานใดสนใจที่จะได้ไว้เพื่อการศึกษา ติดต่อได้ที่ พ.อ.สมจริง สิงหเสนี ที่ปรึกษา กอ.รมน.ภาค 3 ค่าย สมเด็จพระเอกาทศรฐ จ.พิษณุโลก ต้องกราบขอบพระคุณผู้ที่ให้ข้อมูล ทั้งหมด แต่อาจจะ มีความคลาดเคลื่อนไปบ้าง เนื่องจากผู้เล่าให้ฟังท่านก็อายุมาก ทั้งสองท่านแล้ว คือ พ.อ.ทวี วุฒิยานันท์ ช่างถ่ายภาพยนตร์ กภ.สส.(คุณพ่อ) ส.ต.หญิงน้อย วุฒิยานันท์ ช่างถ่ายภาพ กภ.สส.(คุณแม่) แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าน๊ะครับ พ.ต.นิวัฒน์ วุฒิยานันท์ ช่างถ่ายภาพ กภ.สส. { อ๊อดวีดีโอ } oodvdo@hotmail.com