SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน เปลี่ยนคนเดิม เป็นคนใหม่ ห่างไกลโรคอ้วน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว สุภาพร พรมมา เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1. นางสาว สุภาพร พรมมา เลขที่ 10
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เปลี่ยนคนเดิม เป็นคนใหม่ ห่างไกลโรคอ้วน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Change people be new people far obesity
ประเภทโครงงาน
พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สุภาพร พรมมา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
1 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การมองปัญหาความอ้วนในภาพใหญ่ก็คงจะมีภาพที่ชัดเจนของของปัญหาที่เกิดขึ้นกับคนไทยทุกวันนี้ เรา
อาจเห็นระดับความรุนแรงของปัญหาในสังคมโดยภาพที่เห็นก็คือ หญิงอ้วน ชายอ้วน โรคหัวใจ โรคไขมันอุดตัน โรค
เส้นเลือดในสมอง ฯลฯ บางทีเราก็มองข้างบางสิ่งไป ปัญหาความอ้วน น้าหนักที่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ไม่ได้เสกให้สาว
วัยทางานอ้วนในฉับพลันเพียงอย่างเดียว หรือการอ้วนแบบกะทันหันปัจจุบันทันด่วนของหนุ่มอ้วนจะเกิดด้วยเหตุผล
ของการบริโภคยามดึกเท่านั้น ผู้ป่วยในโรคอ้วนจานวนมากจะมีอาการสะสมและจุดเริ่มจากความอ้วนตั้งแต่ในวัยเด็ก
และช่วงวัยรุ่น การลดความอ้วนด้วยการออกกาลังกายในทุกวันนี้ วัยรุ่นส่วยใหญ่มักจะมองข้ามวิธีการลดน้านักด้วย
การออกกาลังกาย เพราะการลดน้านักแบบการออกกาลังกายเป็นการลดน้านักที่ใช้เวลานาน ยุ่งยาก และก็เหนื่อย
วัยรุ่นสวนมากเปลี่ยนจากการออกกาลังกาย ไปกินยาลดความอ้วนแทน ทุกวันนี้ยาลดความอ้วนมีมากมายหลายแบบ
นอกจากนี้ยังมี การลดความอ้วนทางสื่อต่างๆที่มานาเสนอให้วัยรุ่นรู้จักกันแพร่หลายมากขึ้น เช่น กาแฟลดความอ้วน
เครื่องรัดเอวลดความอ้วน ฯลฯ การลดความอ้วนแบบเหล่านี้อาจทาให้เกิดอันตรายตนเองได้ ลดความอ้วนด้วยการ
ออกกาลังกายแทนการใช้ยา เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และ สามารถใช่ได้กับทุกวัยไม่ว่าจะวัยเด็ก
วัยรุ่น วัยชรา ลดความอ้วนด้วยการออกกาลังกายนี้ ยังเป็นส่วยหนึ่งของโครงการคนไทยไร้พุงอีกด้วย ดังนั้น ในปี
2553 โครงการคนไทยไร้พุงมีแนวคิดการขับเคลื่อนงานต่อเนื่อง ตามประเด็นยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลง
พุงของกรมอนามัย คือ ประชาชนได้รับการส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง เป้าหมายของโครงการคน
ไทยไร้พุง ปี พ.ศ.2553 คือ ประชาชนอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกาลังกายที่
3
เหมาะสมตามกลุ่มวัย ปัจจุบันทั่วโลกกาลังเร่งรณรงค์ต่อสู้กับปัญหาภาวะอ้วน และโรคอ้วนลงพุง เพื่อลดภาวะความ
รุนแรงของโรควิถีชีวิต อันได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และภาวะไต
วายเรื้อรัง เป็นต้น “โรคอ้วน” ถือเป็นภัยคุกคามที่กาลังระบาดในกลุ่มคนไทย โดยวัดจากอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่ม
สูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้ผู้ที่ผู้ที่สนใจอยากจะลดความอ้วนมีระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง ระดับความดัน
โลหิต ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว และรอบสะโพกลดลง ภายหลังการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปร้อยละ 70
2. เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง ระดับความดันโลหิต
ดัชนีมวลกายเส้นรอบเอว และรอบสะโพก ภายหลังออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปของกลุ่มที่เต้นด้วยกันที่โรงพยาบาลและ
กลุ่มที่นากลับไปดูแลสุขภาพกันเองในชุมชน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการลดความอ้วนและการควบคุมอาหาร
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ปัจจุบันโรคอ้วนลงพุง หรือที่เรียกว่า Metabolic syndrome เป็นปัญหาสุขภาพที่สาคัญ เกิดขึ้นใน
ประชากรทั่วไปอย่างรวดเร็ว และกาลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก (Eckel, Grundy, & Zimmet, 2005; Reaven, 1988 as
cited in Kim et al., 2010) โดยทั่วโลกพบความชุกของโรคในประชากรผู้ใหญ่ร้อยละ 10-25 (Wild & Byrne,
2005) ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบความชุกของโรคนี้ในประชากรอายุ 20 ปีขึ้นไป ประมาณร้อยละ 25 (ชัยชาญ ดีโร
จนวงศ์, 2551) ในขณะที่ประเทศสิงคโปร์ซึ่งเป็นประเทศทางแถบเอเซียมีอัตราความชุกร้อยละ 17.9 (ชัยชาญ ดีโรจน
วงศ์, 2551) สาหรับในประเทศไทย จากการศึกษาของ International collaborative study of cardiovascular
disease in Asia, 2000 (Thai-Chinese Cooperative Study [InterASIA]) พบว่าความชุกของโรคอ้วนลงพุงใน
ประชากรผู้ใหญ่ สูงถึงร้อยละ 21.9 (ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา, 2550)
โรคอ้วนลงพุง เป็นกลุ่มอาการของความผิดปกติที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย โรค
อ้วนลงพุง มีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น Syndrome X, Insulin resistance syndromeโดย Raven (1988) ได้ให้คา
นิยามกลุ่มอาการ Syndrome X ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างภาวะดื้อต่ออินซูลิน น้าตาลสูง ความดันโลหิตสูง ภาวะ
เอช-ดี-แอลโคเลสเตอรอลในเลือดต่า และไตรกลีเซอไรด์สูง(Pavlic-Renar, Poljicanin, & Metelko, 2007) ซึ่งกลุ่ม
อาการนี้มักมีความผิดปกติหลายประการที่มักเกิดขึ้นร่วมกันและเป็นปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังรวมถึงโรคหลอด
เลือดหัวใจ โดยเชื่อว่ามีสาเหตุมาจากผลของความอ้วนและภาวะดื้ออินซูลิน (ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์, 2549) ซึ่งความ
ผิดปกตินั้นมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ เส้นรอบเอวเกินมาตรฐาน ความดันโลหิตสูง ไตรกลีเซอไรด์สูง ไขมันเอชดีแอลต่า
และระดับน้าตาลในเลือดสูง เห็นได้ว่าความผิดปกติที่พบมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเรื้อรัง ดังนั้นองค์กรที่
เกี่ยวข้องจึงให้ความสนใจศึกษาและกาหนดเกณฑ์การวินิจฉัยกลุ่มอาการเมตาบอลิก โดยกาหนดจากปัจจัยเสี่ยง
ดังกล่าวแต่จะให้ความสาคัญแต่ละปัจจัยต่างกัน เช่น องค์การอนามัยโลก (World health organization: WHO)
เน้นที่ผู้ที่เป็นกลุ่มอาการเมตาบอลิกต้องมีระดับน้าตาลในเลือดสูง (Nation cholesterol education program
adult treatment panel III: NCEP ATP III) กาหนดให้มีปัจจัยเสี่ยง 3 ใน 5 ข้อ โดยไม่เน้นที่เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง
และสหพันธ์เบาหวานระหว่างประเทศ (International Diabetes Federation: IDF) เน้นเกณฑ์การมีเส้นรอบเอว
เกินเป็นสาคัญประกอบกับปัจจัยเสี่ยงอื่นอีก 2 ข้อ (Lin et al., 2009)
สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอ้วนลงพุง เกิดจากโรคอ้วน(Obesity) เป็นสาเหตุหลัก(Haffner, 2006) จาก
การศึกษาความชุกของโรคอ้วนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 14 ประเทศ ในปี พ.ศ.2548 พบว่า ประเทศไทยถูกจัดอยู่
4
อันดับที่ 5 ที่พบความชุกของภาวะน้าหนักเกินและโรคอ้วนถึงร้อยละ 50 และ ในช่วง 18 ปี ที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2529-
2547 ประเทศไทยมีคนอ้วนเพิ่มขึ้นถึง 7.5 เท่า คาดการณ์ว่าปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ที่มีรูปร่างท้วมจนถึงระดับอ้วนถึง
10 ล้านคน ส่งผลให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาโรคอ้วนและโรคต่างๆที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน(กรมอนามัย
กระทรวงสารณสุข, 2552; Kantachuvessiri, 2005) ที่สาคัญยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสูงที่มีความสัมพันธ์กับการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด และเบาหวานชนิดที่ 2 (Wiklund et al., 2008; Zaliunas et al., 2008; Pare et
al.,2001; Grundy et al., 2004 Wild & Byrne, 2005)
จากสถิติการเสียชีวิตของประชากรไทยในปี 2538-2547 พบว่าโรคที่เป็นสาเหตุการตายที่พบบ่อยเป็นโรคที่มี
ความสัมพันธ์กับกลุ่มอาการโรคอ้วนลงพุง โดยพบว่าเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสูงที่สุด และในปี 2547 พบ
การเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)และความดันโลหิตสูงมากที่สุด ถึง 18.9 ต่อแสนประชากร รองลงมา
เป็นโรคหัวใจและโรคเบาหวาน ตามลาดับ (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2548) และในปัจจุบันยังพบว่า
ประชากรไทยเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดประมาณ 7 คน ต่อชั่วโมง ส่วนคนที่ป่วยและยังไม่เสียชีวิต ก็มี
ภาวะแทรกซ้อน เช่น อัมพฤกษ์ อัมพาต และมีโรคเรื้อรังที่ต้องได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2
ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือดผิดปกติ จะเห็นว่าพบประชากรไทยหลายกลุ่มมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง
และมีโอกาสเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นปัญหาสุขภาพและเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับด้านการบริการ
สุขภาพด้วย
จะเห็นได้ว่าความผิดปกติของโรคอ้วนลงพุงซึ่งเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ และเกิด
ภาวะแทรกซ้อนที่มีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นเป้าหมายในการดูแลรักษา คือการป้องกันการเกิดโรคหลอด
เลือดและหัวใจ การแก้ไขปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ได้แก่โรคอ้วนและภาวะดื้ออินซูลิน โดยการป้องกันและควบคุมความดัน
โลหิตสูง ควบคุมเบาหวาน การลดน้าหนักตัวและที่สาคัญคือควบคุมระดับไขมันในเลือดด้วยการลด ไตรกลีเซอร์ไรด์
แอล-ดี-แอลโคเลสเตอรอล และเพิ่ม เอช-ดี-แอลโคเลสเตอรอลในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนวิถีการ
ดาเนินชีวิต(lifestyle modification) เป็นสิ่งที่ควรทาเป็นอันดับแรกในการดูแลกลุ่มอาการนี้ (Hanefeld &
Schaper, 2005) เช่น การบริโภคอาหารที่เหมาะสม การลดน้าหนัก และการออกกาลังกาย (ธงชัย ปฏิภาณวัตร,
2550; Grundy, Hansen, Smith, Cleeman, & Kahn , 2004; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์, 2551)
การออกกาลังกาย เป็นการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่มีการหด คลายของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อการทางานของ
ระบบต่างๆ ในร่างกาย ประกอบด้วย ระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบต่อม
ไร้ท่อ รวมทั้งปฏิกิริยาในการสร้างพลังงานของเซลล์กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหดตัว โดยการออกกาลังกายต้องมีการ
กาหนดรูปแบบ และวิธีการที่ชัดเจน มีการกระทาซ้าๆ เพื่อเสริมสร้างหรือคงไว้ซึ่งองค์ประกอบของสมรรถภาพทาง
กายให้สมบูรณ์ ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของสมรรถภาพของหัวใจ ความแข็งแรง และกาลังของกล้ามเนื้อ ความสมดุล
ของร่างกาย และความอ่อนตัว (ชาญวิทย์ โคธีรานุรักษ์, 2547; ACSM, 2006) ซึ่งในปัจจุบันการออกกาลังกายนั้นมี
หลากหลาย แต่ที่นิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลกในขณะนี้ คือการออกกาลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูป ซึ่งกระแสความนิยม
ที่มากขึ้นเนื่องจากนางมิเชล โอบามาภรรยาประธานาธิบดีสหรัฐ ชอบการออกกาลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูปมาก และมี
การเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ และอินเตอร์เนต ทาให้เพิ่มกระแสความนิยมมากขึ้น (Holthusen and John
Porcari 2008 ; ลดาวัลย์ อุ่นประเสริฐพงศ์ นิชโรจน์, 2553) จากการศึกษาของโฮลทูเซน และคณะ ได้ศึกษาผลของ
การเต้นฮูลาฮูป 30 นาที กลุ่มตัวอย่าง จานวน 16 ราย เป็นหญิงที่มีอายุ ระหว่าง 16-59 ปี ซึ่งทุกคนมีความรู้ในการ
เต้น ฮูลาฮูป ในระดับ กลาง ถึง ขั้นสูง โดยใช้ห่วงขนาด ไม่เกิน 4 ปอนด์ การศึกษาครั้งนี้ ใช้เวลาเต้นฮูลาฮูป ครั้งละ
35 นาที และ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ผลพบว่า การเต้นฮูลาฮูปสามารถ เผาผลาญไขมันได้ 7 กิโลแคลอรีต่อนาที นั่นคือ
280 กิโลแคลอรี ต่อ 40 นาที ในขณะที่การออกกาลังกายแบบการเต้นแอร์โรบิค และ โยคะ เผาผลาญ ไขมันได้ 5.9
กิโลแคลอรีต่อนาทีนั่นคือ 236 กิโลแคลอรี ต่อ 40 นาที ในเวลาเดียวกันผู้เข้าโครงการ รู้สึกสนุกสนานมีความสุขกับ
การเต้นฮูลาฮุป สาหรับในประเทศไทยนั้นมีการส่งเสริมการออกกาลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูปในหลายๆ หน่วยงาน เช่น
ปี 2551 กรมอนามัยได้มีการส่งเสริมโดยประกวดการเต้นฮูลาฮูป เพื่อปลุกกระแสให้ประชาชนหันมาออกกาลังกาย
5
มากขึ้น (กองออกกาลังกาย กรมอนามัย, 2551) และมีกลุ่มต่างๆ ผลิตฮูลาฮูปขายแพร่หลาย ทาให้กลุ่มผู้ศึกษา สนใจ
ที่จะนาการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปแบบแอโรบิค มาเป็นกลยุทธในการลดไขมันบริเวณพุง ตลอดจนเส้นรอบเอว
และดัชนีมวลกาย ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุง หรือกลุ่มที่กาลังได้รับการรักษา จานวน 100 คน โดย
แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆละ 50 คน โครงการนี้ มุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความตระหนัก ในความสาคัญของการออก
กาลังกาย โดยการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปนั้นผสมผสานการเต้นฮูลาฮูปตามจังหวะดนตรี ที่สร้างความสนุกสนาน
กระตุ้นให้เกิดความสุขในการออกกาลังกาย (Optimism) โดยผู้รับผิดชอบโครงการ ให้ความรู้ (Positive
reinforcement) เพื่อเปลี่ยนวิธีคิดในการดูแลสุขภาพ ( Result based management ) และเกิดความเชื่อมั่นใน
ความสามารถในการออกาลังกายด้วยฮูลาฮูปอย่างถูกวิธี ( Self efficacy) ตลอดจนสร้างแรงจูงใจในกลุ่ม (
Motivation) เพื่อให้เกิดการแข่งขันกันในการลดความเสี่ยงต่อโรคเมตาโบลิคซินโดม โดยให้รางวัลกับผู้ที่สามารถ
ควบคุมตนเอง ( Self regulation) โดยปรับเปลี่ยนตนเองให้มีสุขภาพ ( Health behavior change ) ดีได้ เช่น
สามารถทาให้ เส้นรอบเอวลดลงได้ มากกว่า 10 เซนติเมตร ในระยะเวลา 3 เดือน เป็นต้น และเน้นให้ความสาคัญ
ในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาระดับความสามารถ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (
Individual or client center ) เกิดความเชื่อมั่น และสัญญากับตนเอง ( Self regulate ) ในการควบคุมพฤติกรรม
การออกกาลังกายแบบฮูลาฮูป ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดเมตา
โบลิคซินโดมต่อไป
วิธีดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
ฮูลาฮูป
งบประมาณ
100-1000 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ขั้นเตรียมการ
1.ประชุมกลุ่มคณะกรรมการโครงการเพื่อจัดทาโครงการ
2.ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง
3. เขียนโครงการ และจัดเตรียมงบประมาณในการดาเนินโครงการ
4.ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่
5. ประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับผู้เข้าร่วมโครงการ ที่ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า เพื่อเตรียม
ความพร้อมในการดาเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเตรียมผู้นาการออกกาลังกายด้วยวิธีฮูลาฮูป
ขั้นดาเนินการ
1. คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กาหนดดังนี้ เป็นกลุ่มที่มี
1.1 เส้นรอบเอวมากกว่า 90 เซนติเมตรในชาย หรือ 80 เซนติเมตรในหญิง หรือมีค่าดัชนีมวลกาย
มากกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
1.2 นัดตรวจหาระดับไขมันในร่างกาย ระดับความดันโลหิต ดัชนีมวลกาย ทั้งกลุ่มรามาและกลุ่ม
ชุมชน เพื่อเป็นมาตรฐานก่อนเริ่มโครงการ
2. เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการ
เต้นฮูลาฮูป การวัดความพึงพอใจ ความสนุกสนาน และการมีพันธสัญญากับตนเองในการเต้นฮูลาฮูปทั้งก่อนและ
6
หลังการดาเนินการของโครงการ และประเมินสภาวะร่างกายโดยวัดสัญญาณชีพ การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง ดัชนีมวล
กาย วัดขนาดเส้นรอบเอว วัดไขมันในร่างกาย และ Visceral fat
3. ประชุมชี้แจงผู้เข้าร่วมโครงการ ขอความร่วมมือ ในการปฏิบัติตัวที่จะต้องออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูป
ทั้งผู้ที่ออกกาลังกายเป็นกลุ่มที่โรงพยาบาลและออกกาลังกายเองที่ชุมชน และบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้าหนัก
เพื่อให้ได้ผลการศึกษาตามความเป็นจริง
4.ให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารในการควบคุมน้าหนักและแจกเอกสาร โรคอ้วนลงพุง ภัยเงียบ
ที่คุณคาดไม่ถึง ของสานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
5. บรรยาย อภิปราย ถึงประโยชน์ ข้อพึงปฏิบัติ และข้อพึงระวังในการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูป
ตลอดจนนาตัวแม่แบบเข้าร่วมอภิปรายเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เห็นแบบอย่างและสาธิตการเล่นฮูลาฮูปจากตัว
แบบ และผู้นา
6. ฝึกทักษะการเล่นฮูลาฮูปเพื่อให้เล่นได้อย่างถูกวิธี ทั้งกลุ่มรามาธิบดีและกลุ่มในชุมชน จากตัวแบบ
และผู้นา พร้อมกับเปิดวีดีโอการเล่นฮูลาฮูปขั้นพื้นฐานสลับกับการฝึกเล่น ให้โอกาสผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาส
ฝึกฝนการเต้นฮูลาฮูปเป็นเวลา 5 วัน ก่อนเข้าโครงการจริง
7. ทากลุ่มเพื่อกระตุ้นให้เกิดกาลังใจในการออกกาลังกายและการควบคุมอาหาร และให้รางวัลสาหรับ
กลุ่มที่ชนะเลิศ
8. จัดให้มีกลุ่ม Buddy เพื่อช่วยกระตุ้นเตือนซึ่งกันและกัน
หมายเหตุ: การดาเนินการขั้นตอนที่ 1-8 ดาเนินการก่อนการทดลอง
9. การดาเนินการของโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ในการส่งเสริมการออกกาลังกายและการดูแลสุขภาพของประชาชนเพื่อ
ป้องกันโรคอ้วนลงพุงได้
2.เป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและจิต ในการลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุง
3.เป็นการพัฒนาระดับความสามารถในการดูแลสุขภาพ ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเมตาโบลิคใน
บุคคลากรโรงพยาบาลรามาธิบดี และในชุมชน ให้มีสุขภาพที่ดี
4. มีโครงการพัฒนาที่ต่อเนื่องในโครงการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูป เพื่อพฤติกรรมสุขภาพที่ยั่งยืนให้กับ
บุคคลากรรามาธิบดีต่อไปในอนาคต ลดการใช้ยาที่เกินความจาเป็น
สถานที่ดาเนินการ
ที่ไหนก็ได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=4&cad=rja&uact=8&ved=0CDoQFjADahUKEwjy8vWp4ZjIAhWHB
I4KHabnDQo&url=http%3A%2F%2Fbsris.swu.ac.th%2Fhealth%2Fdoc%2Fproject_list55%2FH7.doc&usg=AFQjCNEENT8wuJcY4op7o3Jh
Bxb6a4GNWA&bvm=bv.103388427,d.c2E

Más contenido relacionado

Destacado

Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellSaba Software
 

Destacado (20)

Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 

โครงงานเปลี่ยนคนเดิมเป็นคนใหม่ห่างไกลโรคอ้วน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน เปลี่ยนคนเดิม เป็นคนใหม่ ห่างไกลโรคอ้วน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว สุภาพร พรมมา เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1. นางสาว สุภาพร พรมมา เลขที่ 10 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เปลี่ยนคนเดิม เป็นคนใหม่ ห่างไกลโรคอ้วน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Change people be new people far obesity ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สุภาพร พรมมา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การมองปัญหาความอ้วนในภาพใหญ่ก็คงจะมีภาพที่ชัดเจนของของปัญหาที่เกิดขึ้นกับคนไทยทุกวันนี้ เรา อาจเห็นระดับความรุนแรงของปัญหาในสังคมโดยภาพที่เห็นก็คือ หญิงอ้วน ชายอ้วน โรคหัวใจ โรคไขมันอุดตัน โรค เส้นเลือดในสมอง ฯลฯ บางทีเราก็มองข้างบางสิ่งไป ปัญหาความอ้วน น้าหนักที่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ไม่ได้เสกให้สาว วัยทางานอ้วนในฉับพลันเพียงอย่างเดียว หรือการอ้วนแบบกะทันหันปัจจุบันทันด่วนของหนุ่มอ้วนจะเกิดด้วยเหตุผล ของการบริโภคยามดึกเท่านั้น ผู้ป่วยในโรคอ้วนจานวนมากจะมีอาการสะสมและจุดเริ่มจากความอ้วนตั้งแต่ในวัยเด็ก และช่วงวัยรุ่น การลดความอ้วนด้วยการออกกาลังกายในทุกวันนี้ วัยรุ่นส่วยใหญ่มักจะมองข้ามวิธีการลดน้านักด้วย การออกกาลังกาย เพราะการลดน้านักแบบการออกกาลังกายเป็นการลดน้านักที่ใช้เวลานาน ยุ่งยาก และก็เหนื่อย วัยรุ่นสวนมากเปลี่ยนจากการออกกาลังกาย ไปกินยาลดความอ้วนแทน ทุกวันนี้ยาลดความอ้วนมีมากมายหลายแบบ นอกจากนี้ยังมี การลดความอ้วนทางสื่อต่างๆที่มานาเสนอให้วัยรุ่นรู้จักกันแพร่หลายมากขึ้น เช่น กาแฟลดความอ้วน เครื่องรัดเอวลดความอ้วน ฯลฯ การลดความอ้วนแบบเหล่านี้อาจทาให้เกิดอันตรายตนเองได้ ลดความอ้วนด้วยการ ออกกาลังกายแทนการใช้ยา เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และ สามารถใช่ได้กับทุกวัยไม่ว่าจะวัยเด็ก วัยรุ่น วัยชรา ลดความอ้วนด้วยการออกกาลังกายนี้ ยังเป็นส่วยหนึ่งของโครงการคนไทยไร้พุงอีกด้วย ดังนั้น ในปี 2553 โครงการคนไทยไร้พุงมีแนวคิดการขับเคลื่อนงานต่อเนื่อง ตามประเด็นยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลง พุงของกรมอนามัย คือ ประชาชนได้รับการส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง เป้าหมายของโครงการคน ไทยไร้พุง ปี พ.ศ.2553 คือ ประชาชนอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกาลังกายที่
  • 3. 3 เหมาะสมตามกลุ่มวัย ปัจจุบันทั่วโลกกาลังเร่งรณรงค์ต่อสู้กับปัญหาภาวะอ้วน และโรคอ้วนลงพุง เพื่อลดภาวะความ รุนแรงของโรควิถีชีวิต อันได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และภาวะไต วายเรื้อรัง เป็นต้น “โรคอ้วน” ถือเป็นภัยคุกคามที่กาลังระบาดในกลุ่มคนไทย โดยวัดจากอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่ม สูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้ผู้ที่ผู้ที่สนใจอยากจะลดความอ้วนมีระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง ระดับความดัน โลหิต ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว และรอบสะโพกลดลง ภายหลังการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปร้อยละ 70 2. เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง ระดับความดันโลหิต ดัชนีมวลกายเส้นรอบเอว และรอบสะโพก ภายหลังออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปของกลุ่มที่เต้นด้วยกันที่โรงพยาบาลและ กลุ่มที่นากลับไปดูแลสุขภาพกันเองในชุมชน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการลดความอ้วนและการควบคุมอาหาร หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ปัจจุบันโรคอ้วนลงพุง หรือที่เรียกว่า Metabolic syndrome เป็นปัญหาสุขภาพที่สาคัญ เกิดขึ้นใน ประชากรทั่วไปอย่างรวดเร็ว และกาลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก (Eckel, Grundy, & Zimmet, 2005; Reaven, 1988 as cited in Kim et al., 2010) โดยทั่วโลกพบความชุกของโรคในประชากรผู้ใหญ่ร้อยละ 10-25 (Wild & Byrne, 2005) ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบความชุกของโรคนี้ในประชากรอายุ 20 ปีขึ้นไป ประมาณร้อยละ 25 (ชัยชาญ ดีโร จนวงศ์, 2551) ในขณะที่ประเทศสิงคโปร์ซึ่งเป็นประเทศทางแถบเอเซียมีอัตราความชุกร้อยละ 17.9 (ชัยชาญ ดีโรจน วงศ์, 2551) สาหรับในประเทศไทย จากการศึกษาของ International collaborative study of cardiovascular disease in Asia, 2000 (Thai-Chinese Cooperative Study [InterASIA]) พบว่าความชุกของโรคอ้วนลงพุงใน ประชากรผู้ใหญ่ สูงถึงร้อยละ 21.9 (ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา, 2550) โรคอ้วนลงพุง เป็นกลุ่มอาการของความผิดปกติที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย โรค อ้วนลงพุง มีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น Syndrome X, Insulin resistance syndromeโดย Raven (1988) ได้ให้คา นิยามกลุ่มอาการ Syndrome X ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างภาวะดื้อต่ออินซูลิน น้าตาลสูง ความดันโลหิตสูง ภาวะ เอช-ดี-แอลโคเลสเตอรอลในเลือดต่า และไตรกลีเซอไรด์สูง(Pavlic-Renar, Poljicanin, & Metelko, 2007) ซึ่งกลุ่ม อาการนี้มักมีความผิดปกติหลายประการที่มักเกิดขึ้นร่วมกันและเป็นปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังรวมถึงโรคหลอด เลือดหัวใจ โดยเชื่อว่ามีสาเหตุมาจากผลของความอ้วนและภาวะดื้ออินซูลิน (ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์, 2549) ซึ่งความ ผิดปกตินั้นมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ เส้นรอบเอวเกินมาตรฐาน ความดันโลหิตสูง ไตรกลีเซอไรด์สูง ไขมันเอชดีแอลต่า และระดับน้าตาลในเลือดสูง เห็นได้ว่าความผิดปกติที่พบมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเรื้อรัง ดังนั้นองค์กรที่ เกี่ยวข้องจึงให้ความสนใจศึกษาและกาหนดเกณฑ์การวินิจฉัยกลุ่มอาการเมตาบอลิก โดยกาหนดจากปัจจัยเสี่ยง ดังกล่าวแต่จะให้ความสาคัญแต่ละปัจจัยต่างกัน เช่น องค์การอนามัยโลก (World health organization: WHO) เน้นที่ผู้ที่เป็นกลุ่มอาการเมตาบอลิกต้องมีระดับน้าตาลในเลือดสูง (Nation cholesterol education program adult treatment panel III: NCEP ATP III) กาหนดให้มีปัจจัยเสี่ยง 3 ใน 5 ข้อ โดยไม่เน้นที่เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง และสหพันธ์เบาหวานระหว่างประเทศ (International Diabetes Federation: IDF) เน้นเกณฑ์การมีเส้นรอบเอว เกินเป็นสาคัญประกอบกับปัจจัยเสี่ยงอื่นอีก 2 ข้อ (Lin et al., 2009) สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอ้วนลงพุง เกิดจากโรคอ้วน(Obesity) เป็นสาเหตุหลัก(Haffner, 2006) จาก การศึกษาความชุกของโรคอ้วนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 14 ประเทศ ในปี พ.ศ.2548 พบว่า ประเทศไทยถูกจัดอยู่
  • 4. 4 อันดับที่ 5 ที่พบความชุกของภาวะน้าหนักเกินและโรคอ้วนถึงร้อยละ 50 และ ในช่วง 18 ปี ที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2529- 2547 ประเทศไทยมีคนอ้วนเพิ่มขึ้นถึง 7.5 เท่า คาดการณ์ว่าปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ที่มีรูปร่างท้วมจนถึงระดับอ้วนถึง 10 ล้านคน ส่งผลให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาโรคอ้วนและโรคต่างๆที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน(กรมอนามัย กระทรวงสารณสุข, 2552; Kantachuvessiri, 2005) ที่สาคัญยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสูงที่มีความสัมพันธ์กับการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด และเบาหวานชนิดที่ 2 (Wiklund et al., 2008; Zaliunas et al., 2008; Pare et al.,2001; Grundy et al., 2004 Wild & Byrne, 2005) จากสถิติการเสียชีวิตของประชากรไทยในปี 2538-2547 พบว่าโรคที่เป็นสาเหตุการตายที่พบบ่อยเป็นโรคที่มี ความสัมพันธ์กับกลุ่มอาการโรคอ้วนลงพุง โดยพบว่าเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสูงที่สุด และในปี 2547 พบ การเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)และความดันโลหิตสูงมากที่สุด ถึง 18.9 ต่อแสนประชากร รองลงมา เป็นโรคหัวใจและโรคเบาหวาน ตามลาดับ (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2548) และในปัจจุบันยังพบว่า ประชากรไทยเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดประมาณ 7 คน ต่อชั่วโมง ส่วนคนที่ป่วยและยังไม่เสียชีวิต ก็มี ภาวะแทรกซ้อน เช่น อัมพฤกษ์ อัมพาต และมีโรคเรื้อรังที่ต้องได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือดผิดปกติ จะเห็นว่าพบประชากรไทยหลายกลุ่มมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง และมีโอกาสเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นปัญหาสุขภาพและเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับด้านการบริการ สุขภาพด้วย จะเห็นได้ว่าความผิดปกติของโรคอ้วนลงพุงซึ่งเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ และเกิด ภาวะแทรกซ้อนที่มีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นเป้าหมายในการดูแลรักษา คือการป้องกันการเกิดโรคหลอด เลือดและหัวใจ การแก้ไขปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ได้แก่โรคอ้วนและภาวะดื้ออินซูลิน โดยการป้องกันและควบคุมความดัน โลหิตสูง ควบคุมเบาหวาน การลดน้าหนักตัวและที่สาคัญคือควบคุมระดับไขมันในเลือดด้วยการลด ไตรกลีเซอร์ไรด์ แอล-ดี-แอลโคเลสเตอรอล และเพิ่ม เอช-ดี-แอลโคเลสเตอรอลในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนวิถีการ ดาเนินชีวิต(lifestyle modification) เป็นสิ่งที่ควรทาเป็นอันดับแรกในการดูแลกลุ่มอาการนี้ (Hanefeld & Schaper, 2005) เช่น การบริโภคอาหารที่เหมาะสม การลดน้าหนัก และการออกกาลังกาย (ธงชัย ปฏิภาณวัตร, 2550; Grundy, Hansen, Smith, Cleeman, & Kahn , 2004; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์, 2551) การออกกาลังกาย เป็นการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่มีการหด คลายของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อการทางานของ ระบบต่างๆ ในร่างกาย ประกอบด้วย ระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบต่อม ไร้ท่อ รวมทั้งปฏิกิริยาในการสร้างพลังงานของเซลล์กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหดตัว โดยการออกกาลังกายต้องมีการ กาหนดรูปแบบ และวิธีการที่ชัดเจน มีการกระทาซ้าๆ เพื่อเสริมสร้างหรือคงไว้ซึ่งองค์ประกอบของสมรรถภาพทาง กายให้สมบูรณ์ ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของสมรรถภาพของหัวใจ ความแข็งแรง และกาลังของกล้ามเนื้อ ความสมดุล ของร่างกาย และความอ่อนตัว (ชาญวิทย์ โคธีรานุรักษ์, 2547; ACSM, 2006) ซึ่งในปัจจุบันการออกกาลังกายนั้นมี หลากหลาย แต่ที่นิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลกในขณะนี้ คือการออกกาลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูป ซึ่งกระแสความนิยม ที่มากขึ้นเนื่องจากนางมิเชล โอบามาภรรยาประธานาธิบดีสหรัฐ ชอบการออกกาลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูปมาก และมี การเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ และอินเตอร์เนต ทาให้เพิ่มกระแสความนิยมมากขึ้น (Holthusen and John Porcari 2008 ; ลดาวัลย์ อุ่นประเสริฐพงศ์ นิชโรจน์, 2553) จากการศึกษาของโฮลทูเซน และคณะ ได้ศึกษาผลของ การเต้นฮูลาฮูป 30 นาที กลุ่มตัวอย่าง จานวน 16 ราย เป็นหญิงที่มีอายุ ระหว่าง 16-59 ปี ซึ่งทุกคนมีความรู้ในการ เต้น ฮูลาฮูป ในระดับ กลาง ถึง ขั้นสูง โดยใช้ห่วงขนาด ไม่เกิน 4 ปอนด์ การศึกษาครั้งนี้ ใช้เวลาเต้นฮูลาฮูป ครั้งละ 35 นาที และ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ผลพบว่า การเต้นฮูลาฮูปสามารถ เผาผลาญไขมันได้ 7 กิโลแคลอรีต่อนาที นั่นคือ 280 กิโลแคลอรี ต่อ 40 นาที ในขณะที่การออกกาลังกายแบบการเต้นแอร์โรบิค และ โยคะ เผาผลาญ ไขมันได้ 5.9 กิโลแคลอรีต่อนาทีนั่นคือ 236 กิโลแคลอรี ต่อ 40 นาที ในเวลาเดียวกันผู้เข้าโครงการ รู้สึกสนุกสนานมีความสุขกับ การเต้นฮูลาฮุป สาหรับในประเทศไทยนั้นมีการส่งเสริมการออกกาลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูปในหลายๆ หน่วยงาน เช่น ปี 2551 กรมอนามัยได้มีการส่งเสริมโดยประกวดการเต้นฮูลาฮูป เพื่อปลุกกระแสให้ประชาชนหันมาออกกาลังกาย
  • 5. 5 มากขึ้น (กองออกกาลังกาย กรมอนามัย, 2551) และมีกลุ่มต่างๆ ผลิตฮูลาฮูปขายแพร่หลาย ทาให้กลุ่มผู้ศึกษา สนใจ ที่จะนาการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปแบบแอโรบิค มาเป็นกลยุทธในการลดไขมันบริเวณพุง ตลอดจนเส้นรอบเอว และดัชนีมวลกาย ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุง หรือกลุ่มที่กาลังได้รับการรักษา จานวน 100 คน โดย แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆละ 50 คน โครงการนี้ มุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความตระหนัก ในความสาคัญของการออก กาลังกาย โดยการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูปนั้นผสมผสานการเต้นฮูลาฮูปตามจังหวะดนตรี ที่สร้างความสนุกสนาน กระตุ้นให้เกิดความสุขในการออกกาลังกาย (Optimism) โดยผู้รับผิดชอบโครงการ ให้ความรู้ (Positive reinforcement) เพื่อเปลี่ยนวิธีคิดในการดูแลสุขภาพ ( Result based management ) และเกิดความเชื่อมั่นใน ความสามารถในการออกาลังกายด้วยฮูลาฮูปอย่างถูกวิธี ( Self efficacy) ตลอดจนสร้างแรงจูงใจในกลุ่ม ( Motivation) เพื่อให้เกิดการแข่งขันกันในการลดความเสี่ยงต่อโรคเมตาโบลิคซินโดม โดยให้รางวัลกับผู้ที่สามารถ ควบคุมตนเอง ( Self regulation) โดยปรับเปลี่ยนตนเองให้มีสุขภาพ ( Health behavior change ) ดีได้ เช่น สามารถทาให้ เส้นรอบเอวลดลงได้ มากกว่า 10 เซนติเมตร ในระยะเวลา 3 เดือน เป็นต้น และเน้นให้ความสาคัญ ในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาระดับความสามารถ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ( Individual or client center ) เกิดความเชื่อมั่น และสัญญากับตนเอง ( Self regulate ) ในการควบคุมพฤติกรรม การออกกาลังกายแบบฮูลาฮูป ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดเมตา โบลิคซินโดมต่อไป วิธีดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ฮูลาฮูป งบประมาณ 100-1000 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมกลุ่มคณะกรรมการโครงการเพื่อจัดทาโครงการ 2.ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. เขียนโครงการ และจัดเตรียมงบประมาณในการดาเนินโครงการ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่ 5. ประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับผู้เข้าร่วมโครงการ ที่ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า เพื่อเตรียม ความพร้อมในการดาเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเตรียมผู้นาการออกกาลังกายด้วยวิธีฮูลาฮูป ขั้นดาเนินการ 1. คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กาหนดดังนี้ เป็นกลุ่มที่มี 1.1 เส้นรอบเอวมากกว่า 90 เซนติเมตรในชาย หรือ 80 เซนติเมตรในหญิง หรือมีค่าดัชนีมวลกาย มากกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร 1.2 นัดตรวจหาระดับไขมันในร่างกาย ระดับความดันโลหิต ดัชนีมวลกาย ทั้งกลุ่มรามาและกลุ่ม ชุมชน เพื่อเป็นมาตรฐานก่อนเริ่มโครงการ 2. เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการ เต้นฮูลาฮูป การวัดความพึงพอใจ ความสนุกสนาน และการมีพันธสัญญากับตนเองในการเต้นฮูลาฮูปทั้งก่อนและ
  • 6. 6 หลังการดาเนินการของโครงการ และประเมินสภาวะร่างกายโดยวัดสัญญาณชีพ การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง ดัชนีมวล กาย วัดขนาดเส้นรอบเอว วัดไขมันในร่างกาย และ Visceral fat 3. ประชุมชี้แจงผู้เข้าร่วมโครงการ ขอความร่วมมือ ในการปฏิบัติตัวที่จะต้องออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูป ทั้งผู้ที่ออกกาลังกายเป็นกลุ่มที่โรงพยาบาลและออกกาลังกายเองที่ชุมชน และบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้าหนัก เพื่อให้ได้ผลการศึกษาตามความเป็นจริง 4.ให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารในการควบคุมน้าหนักและแจกเอกสาร โรคอ้วนลงพุง ภัยเงียบ ที่คุณคาดไม่ถึง ของสานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 5. บรรยาย อภิปราย ถึงประโยชน์ ข้อพึงปฏิบัติ และข้อพึงระวังในการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูป ตลอดจนนาตัวแม่แบบเข้าร่วมอภิปรายเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เห็นแบบอย่างและสาธิตการเล่นฮูลาฮูปจากตัว แบบ และผู้นา 6. ฝึกทักษะการเล่นฮูลาฮูปเพื่อให้เล่นได้อย่างถูกวิธี ทั้งกลุ่มรามาธิบดีและกลุ่มในชุมชน จากตัวแบบ และผู้นา พร้อมกับเปิดวีดีโอการเล่นฮูลาฮูปขั้นพื้นฐานสลับกับการฝึกเล่น ให้โอกาสผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาส ฝึกฝนการเต้นฮูลาฮูปเป็นเวลา 5 วัน ก่อนเข้าโครงการจริง 7. ทากลุ่มเพื่อกระตุ้นให้เกิดกาลังใจในการออกกาลังกายและการควบคุมอาหาร และให้รางวัลสาหรับ กลุ่มที่ชนะเลิศ 8. จัดให้มีกลุ่ม Buddy เพื่อช่วยกระตุ้นเตือนซึ่งกันและกัน หมายเหตุ: การดาเนินการขั้นตอนที่ 1-8 ดาเนินการก่อนการทดลอง 9. การดาเนินการของโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ในการส่งเสริมการออกกาลังกายและการดูแลสุขภาพของประชาชนเพื่อ ป้องกันโรคอ้วนลงพุงได้ 2.เป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและจิต ในการลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุง 3.เป็นการพัฒนาระดับความสามารถในการดูแลสุขภาพ ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเมตาโบลิคใน บุคคลากรโรงพยาบาลรามาธิบดี และในชุมชน ให้มีสุขภาพที่ดี 4. มีโครงการพัฒนาที่ต่อเนื่องในโครงการออกกาลังกายด้วยฮูลาฮูป เพื่อพฤติกรรมสุขภาพที่ยั่งยืนให้กับ บุคคลากรรามาธิบดีต่อไปในอนาคต ลดการใช้ยาที่เกินความจาเป็น สถานที่ดาเนินการ ที่ไหนก็ได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=4&cad=rja&uact=8&ved=0CDoQFjADahUKEwjy8vWp4ZjIAhWHB I4KHabnDQo&url=http%3A%2F%2Fbsris.swu.ac.th%2Fhealth%2Fdoc%2Fproject_list55%2FH7.doc&usg=AFQjCNEENT8wuJcY4op7o3Jh Bxb6a4GNWA&bvm=bv.103388427,d.c2E