SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 113
Descargar para leer sin conexión
(ENDOCRINE SYSTEM)




     ครูนุชนารถ เมืองกรุง
ป 2391 ARNOLD A. BERTHOLD
หมายถึง สารเคมีที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางาน
ของระบบตางๆ ในรางกาย เชนการทํางานของระบบสืบพันธุ
ระบบขับถาย ตลอดจนกระบวนการเมแทบอลิซึมของรางกาย
      ฮอรโมนสวนใหญเปนสารประเภทโปรตีน
และสเตรอยด ที่ผลิตจากเนื้อเยื่อหรือตอมไรทอ
(endocrine tissue หรือ endocrine gland)
ตอมไรทอ (endocrine gland) ตอมที่หลั่งสารและไปมีผลตอ
เซลลเปาหมายโดยผาน extracellular fluid เชนกระแสเลือด

ตอมมีทอ(exocrine gland) ตอมที่หลั่งสารและไปมีผลตอเซลล
เปาหมายโดยผานทอ
หนาที่ของฮอรโมนแบงออกไดเปน 3 กลุมใหญ


1. ควบคุมการเจริญเติบโต (growth)
2. ควบคุมและรักษาสภาพแวดลอมภายในรางกายใหเปนปกติ
3. ควบคุมการทํางานของรางกายอยางอัตโนมัติ




                                                5
Chemical messengerหรือmolecular messenger แบงเปน 5 ชนิดดังนี้
1. Paracrine (local regulator) 2. Neurotransmitter 3. Neurohormone
4. Hormone 5. Pheromone




                                                               6
ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ
1. ฮอรโมนเปปไทดหรือโปรตีน (Polypeptide hormone)
เปนสารประกอบประเภทโปรตีนหรือโพลีเปปไตดขนาดเล็ก ละลายน้ําได
ระดับฮอรโมนเปลี่ยนแปลงเร็ว ออกฤทธิ์ที่เยื่อหุมเซลลของอวัยวะเปาหมาย
ไดแก ฮอรโมนจากไฮโพทาลามัส ตอมใตสมอง ตับออน และตอมพาราไทรอยด




                                                                         7
ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ
2. ฮอรโมนสเตียรอยด (Steroid hormone)
เปนฮอรโมนที่ไมละลายในน้ํา และไมถูกเก็บไวในตอมที่สราง เมื่อสรางขึ้นแลวจะ
สงไปยังอวัยวะเปาหมายในทันที ระดับฮอรโมนคอนขางคงที่
ไดแกตอมหมวกไต ( adrenal gland) รังไข (ovary) และอัณฑะ (testis)




                                                                                   8
ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ
3. ฮอรโมนเอมีน (Amine hormone)
เปนฮอรโมนที่ไดจากกรดอะมิโนเชื่อมกันแลวตัดหมูคารบอกซิลออก จะไดเอมีน
ฮอรโมนกลุมนี้ละลายน้ําได มีระดับฮอรโมนไมแนนอน สูง ๆ ต่ํา
ไดแก ฮอรโมน ไทรอกซิน (thyroxin) และแคทีโคลามิน (catecholamine)




                                                                            9
ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ
4.ฮอรโมนกรดไขมัน (Fatty acid hormone)
เปนสารประกอบของกรดไขมัน มีผลทําใหกลามเนื้อและหลอดเลือดหดตัว
ไดแก prostaglandin พบใน semen และสรางจากตอมเนื้อเยื่อ




                                                                 10
กลไกการออกฤทธิ์ของchemical messenger และฮอรโมน
 -ออกฤทธิ์ไดโดยการจับกับตัวรับสัญญาณ(receptor)




สารเคมีตัวเดียวกันสามารถมีผลตอ
เซลลชนิดตางๆ ไดตางกันโดยขึ้นกับ
1.ตัวรับตางกัน (a กับb&c)
2.ตัวถายทอดสัญญาณในเซลล
  ตางกัน (bกับc)
                                                  11
การออกฤทธิ์ของฮอรโมน แบงตามโครงสรางไดเปน 2 แบบ
1.พวกที่มีตัวรับอยูที่ผนังเซลล(cell membrane receptor)ไดแกฮอรโมนที่มีขนาดใหญ
ผานเขาเซลลไมได ไมละลายในไขมัน เชน ฮอรโมนโปรตีน




                                                                           12
2.พวกที่มีตัวรับอยูภายในเซลล ไดแกฮอรโมนที่มีขนาดเล็กและละลายในไขมันได
 เชน ฮอรโมนสเตียรอยด, ฮอรโมนไทรอยด, Vitamin D3,



                                           -ตัวรับอาจอยูในไซโตพลาสม
                                            หรือนิวเคลียส



-ตัวรับเมื่อจับกับฮอรโมน
 (hormone-receptor complex)
 จะทําหนาที่เปน transcription factor
                                                                       13
ฮอรโมนจากตอมไรทอที่สําคัญของรางกาย
                      
           ตอมไรทอมีการเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้น คือ
1. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง
     * สรางสารพวกสเตอรอยด
     - ตอมหมวกไตสวนนอก (adrenal cortex)
     - รังไข (ovary)
     - อัณฑะ (testis)
2. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก และเนื้อเยื่อชั้นใน
     * สรางสารพวกเปปไทด โปรตน    ี
     - ตอมไทรอยด(thyroid gland)
     - ตอมใตสมอง(hypophysis หรือ pituitary)
     - ตอมหมวกไตสวนใน(adrenal medulla)
ความสําคญของตอมไรทอตอรางกาย
                   ั
1. พวกที่รางกายขาดไมได(essential endocrine gland)
     - ตอมไทรอยด (thyroid gland)
     - ตอมพาราไทรอยด(parathyriod gland)
     - ตอมหมวกไตสวนนอก (adrenal cortex)
     - ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส
2. พวกที่รางกายขาดได(non-essential endocrine gland)
     - ตอมใตสมองสวนหนา (pituitary)
     - ตอมไพเนียล(pineal gland)
     - ตอมหมวกไตสวนใน (adrenal medulla)
     - รังไข (ovary)
     - อัณฑะ(testis)                                    15
1. ตอมไพเนียล
2. ตอมใตสมอง
3. ตอมไทรอยด
4. ตอมพาราไทรอยด
5. ตับออน
6. ตอมหมวกไต
7. อวัยวะเพศ
8. รก
9. ตอมไทมัส
10. กระเพาะอาหารและลําไสเล็ก
1. ตอมไพเนียล (pineal gland)




 ตอมไพเนียล ของสัตวเลือดเย็น สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก และสัตวเลื้อยคลาน
บางชนิดไมสรางฮอรโมน แตเปนกลุมของเซลลรับแสง
 ในสัตวเลือดอุนจําพวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนม การทํางานของตอมนี้สัมพันธกับแสง
สวางและการรับภาพ
 ในคน ตอมไพเนียลอยูระหวางเซรีบรัมซีกซายและซีกขวา ทําหนาที่สรางฮอรโมน
เมลาโทนิน มีหนาที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุไมใหเติบโตเร็วเกินไป
2. ตอมใตสมอง(hypophysis หรือ pituitary)




 อยูติดตอกับสวนลางของสมองสวนไฮโพทาลามัส
 แบงได 3 สวน คือ ตอมใตสมองสวนหนา สวนกลาง และสวนหลัง
 มีขนาดประมาณ 1 – 1.5 ซม.
1. ตอมใตสมองสวนหนา(Anterior pituitary)
2. ตอมใตสมองสวนกลาง (intermidiate )
3. ตอมใตสมองสวนหลัง (Posterior pituitary)




                                               21
ตอมใตสมองสวนหนา(anterior pituitary gland or adenohypophysis)
-ควบคุมการหลั่งฮอรโมนโดยไฮโปทาลามัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting
 ผานทางเสนเลือด portal vessel




                                                                     22
สรางฮอรโมนประสาท
                                                      ปลอยที่ตอมใตสมองสวนหลัง




ปลายแอกซอนมาสิ้นสุดและหลั่งฮอรโมนประสาทออกสูกระแสเลือด
( anterior pituitary gland or adenohypophysis )

1. โกรทฮอรโมน (GH)
2. โกนาโดโทรฟน (Gn) ประกอบดวย FSH และ LH
3. โพรแลกทิน
4. อะดรีโนคอรติโคโทรฟน (ACTH)
5. ไทรอยดสติมิวเลติงฮอรโมน (TSH)
6. เอนดอรฟน
1. ฮอรโมนโกรท (Growth hormone,GH)

  -   ฮอรโมนโกรท (Growth hormone,GH) เปนสารพวกโปรตีน
      ควบคุมการเจริญเติบโต ของรางกาย

                     นอยไป              มากไป
        เด็ก        dwarfism            giantism

       ผูใหญ    acromegaly       simmon’s disease


                                                   25
GIANTISM
 เนื่องจากในวัยเด็กมีการสราง GH มากเกินไปจะมีผลกระตุนการเจริญเติบโตมากกวา
  ปกติ เรียกวา สภาวะยักษ (giantism)




                                                                 26
13 years old




                                                                21 years old
                                                                Entering his car,
                                            18 years old        front seat had
                                                                to be removed




18 years old                                                               27
High School
Graduation
                      http://www.altonweb.com/history/wadlow/
DWARFISM
 เนื่องจากในวัยเด็กมีการขาดฮอรโมน
  GH นอยทําใหเกิดอาการรางกายมี
  ขนาดเล็ก แคระแกร็น เนื่องจากการ
  เจริญเติบโตของกระดูกถูกยับยัง
                              ้
  ระบบสืบพันธไมเจริญ




                                      28
ACROMEGALY

   เนื่องจากในวัยผูใหญมีฮอรโมน GH มากเกินไปจะมีผลตอการกระตุนการ
    เจริญของกระดูกในดานกวาง เนื่องจากกระดูกทางดานยาวบิดไปแลว ยาวอีก
    ไมได และยับยั้งเนือเยื่อเกี่ยวพันดวย ทําใหกระดูกที่คางขยายขนาดกวางขึ้น
                        ้
    ฟนหางใบหนาเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู นิ้วมือ นิ้วเทามีขนาดใหญขึ้น ผิวหนัง
    หนาและหยาบ




                                                                29
SIMMON’S DISEASE

 เนื่องจากในผูใหญที่มีฮอรโมนโกรธนอย
  มักไมแสดงลักษณะอาการใหเห็นแตพบวา
  น้ําตาลในเลือดต่ําจึงทนตอความเครียด
  ทางอารมณไดนอยกวาคนปกติ และมักจะ
  เปนลมหนามืดงาย อาจเปนโรคผอมแหง




                                           30
2. ฮอรโมนโกนาโดโทรฟน
(gonadotrophin หรือ gonadotrophic hormone,Gn )

1. ฟอลลเคล สติมิวเลติงฮอรโมน (follicle stimulating hormone ; FSH)
         ิ ิ
2. ลูทิไนซิงฮอรโมน (Lutinizing hormone ;LH)




                                                           31
ในเพศชาย
          - FSH กระตุนการเจริญเติบโตของหลอดสรางอสุจิ (siminiferous tubule)
ในอัณฑะและกระตุนการสรางอสุจิ (Spermatogenesis)
         - LH กระตุนใหกลุมอินเตอรสติเชียลเซลลของอัณฑะใหสรางและหลั่ง
ฮอรโมน เทสโทสเทอโรน (Testosterone) ซึ่งเปนฮอรโมนเพศชาย ดังนั้นในเพศ
ชายจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ฮอรโมนกระตุนอินเตอรสติเชียล ( interstitial cell
stimulating hormone หรือ ICSH)
- ฮอรโมน LH กระตุนกลุมเซลล
   อินเตอรสติเชียลใหหลั่ง
- ฮอรโมนเทสโทสเตอโรน (testosterone)
                                       33
ในเพศหญิง
          - FSH จะกระตุนการเจริญเติบโตฟอลลิเคิลของรังไข (Ovarian follicle)
และออกฤทธิ์รวมกับฮอรโมน LH ใหสรางและหลั่งฮอรโมนอีสโทรเจน (estrogen )
          - LH กระตุนใหไขสุกและการตกไข และหลังการตกไขแลวจะชวยกระตุน
ใหเซลลที่เหลือในฟอลลิเคิลใหกลายเปนคอรปสลูเทียม (corpus luteum) เพื่อสราง
ฮอรโมนโพรเจสเทอโรน ( progesterone)ซึ่งมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก
เพื่อรองรับการฝงตัวของเอ็มบริโอ




                                                                                  34
3. ฮอรโมนโพรแลกติน (prolactin) หรือ (lactogenic hormone)

• เปนฮอรโมนประเภทโปรตีน กระตุน
  การเจริญของทอของการผลิตน้ํานม
  กระตุนการสรางและผลิตน้ํานม
• ในขณะตั้งครรภและตอนคลอดจะมี
  โพรแลกตินสูง
• โพรแลกตินในเพศชายไมทราบ
  หนาที่แนชัด แตมีผูรายงานวา
  โพรแลกตินจะทําหนาที่รวมกับ
  ฮอรโมนเพศชายในการกระตุน
  อวัยวะที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุ
  เชน ตอมลูกหมาก ทอนําอสุจิ
  และตอมสรางน้ําเลี้ยงอสุจิ
                                                                   35
4. ฮอรโมนอะดรีโนคอรติโคโทรฟน
                    (adrenocorticotrophin hormone) หรือ ACTH

ทําหนาที่กระตุนอะดรีนัลคอรเทก ของตอมหมวกไตใหสรางฮอรโมนตามปกติ




                                                                 36
ACTH
 กระตุนการเติบโตและการสรางฮอรโมนของตอมหมวกไตสวนนอก
 กระตนการปลดปลอยกรดไขมันออกจากเนื้อเยื่อ

 กระตุนการหลั่งอินซูลินจากตับออน

 กระตุนการหลั่ง GH จากตอมใตสมองสวนหนา

 ACTH ยังมีลักษณะบางอยางเหมือนฮอรโมนจากตอมใตสมองสวนกลาง(MSH)
  จึงกระตุนเมลานินภายในสัตวเลือดเย็น เชน กบ ทําใหมสีเขมขึ้น
                                                      ี




                                                                     37
5. ฮอรโมนกระตุนไทรอยด
                        (thyroid stimulating hormone)

หรือ TSH ทําหนาที่กระตุนตอมไทรอยดใหหลั่งฮอรโมนตาม ปกติ ฮอรโมนจากตอม
  ใตสมองสวนหนาจะควบคุมโดยฮอรโมน ประสาทที่สรางมาจากไฮโพทาลามัส




                                                                  38
6. เอนเดอรฟน (Endorphin)

• ออกฤทธิ์คลายมอรฟน
• สรางจากตอมใตสมองสวนหนา หรือเนื้อเยื่ออื่นๆ
• ทําหนาที่ระงับความเจ็บปวด
• ชวยใหคิดในทางสรางสรรค
• ชวยเพิ่มความตื่นตัว มีชีวิตชีวาและความสุข
• จะหลั่งออกมาเมื่อเรามีอารมณแจมใส




                                                    39
ตอมใตสมองสวนกลาง ทําหนาที่ผลิตฮอรโมน ดังนี้

- ฮอรโมนเมลาโนไซต (Melanocyte
   stimulating hormone) หรือ MSH
ทําหนาที่ทําใหรงควัตถุภายในเซลล
ผิวหนังกระจายไปทั่ว เซลล




                                                   40
ตอมใตสมองสวนหลัง(Posterior pituitary gland or neurohypophysis)

-ฮอรโมนที่หลั่งจากตอมใต
 สมองสวนหลังสรางมา
จากเซลลประสาทของ
ไฮโปทาลามัส
-โดยเซลลประสาทจะยื่น
 สวน axon เขามาในตอม
 ใตสมองสวนหลัง




                                                                     41
 ตอมใตสมองสวนหลังหรือ
  นิวโรไฮโพไฟซีส ไมได                                         Axons to
  สรางฮอรโมนเอง แต                                           primary
                                                                capillaries
  ฮอรโมนถูกสรางมาจาก
  นิวโรซีครีทอรีเซลลของ
  ไฮโพทาลามัสโดยกลุม                 Portal               Primary
  เซลลเหลานี้จะมีแอกซอน             venules              capillaries
                                                     Pituitary stalk
  มาสิ้นสุดอยูภายในตอมใต
  สมองสวนหลัง และเขาสู
  กระแสเลือด                  Secondary
                                                       Posterior pituitary
                              capillaries
                                                Anterior pituitary




                                                                 42
1.วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือ ฮอรโมนแอนติไดยูเรติก
-   ADH มีหนาที่ดูดน้ํากลับของหลอดไต และกระตุนใหหลอด เลือดบีบตัว ถาขาดฮอรโมนนี้จะเกิด
    การเบาจืดทําใหปสสาวะ บอย




                                                                                  43
ADH
 มีผลใหมีการดูดน้ํากลับที่ทอหนวยไต

 ฮอรโมนนี้จะมีการหลั่งออกมาเมื่อ   กระหายน้ํา และขาดน้ํา ความเครียดสูง
  ความดันเลือดสูง
 ยาที่มีผลตอการกระตุนประสาทสวนกลาง ฝน เฮโรอีนจะมีผลในการกระตุน
  การหลั่งฮอรโมนดวย
 ถามี ADH นอยมากๆจะทําใหเกิดโรคเบาจืด(diabetes insipidus) มีปสสาวะ
  ออกมามากถึงวันละ 20 ลิตรตอวัน
 สภาพตึงเครียดและสารนิโคตินทําใหมีการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้น ทําใหปสสาวะ
  นอยลง แตแอลกอฮอลยับยั้งการหลั่ง ADH ทําใหปสสาวะมากขึ้น


                                                                      44
2. ออกซีโทซิน (Oxytocin)

ทําหนาที่กระตุนกลามเนื้อเรียบและ อวัยวะภายใน กระตุนกลามเนื้อรอบ ๆ ตอมน้ํานม
ใหขับน้ํานม ฮอรโมนนี้จะหลั่งออกมามากตอนคลอด เพื่อชวยใหกลามเนื้อ มดลูกบีบ
ตัวขณะคลอด




                                                                      45
3. ตอมไทรอยด (THYROID GLAND)
   จัดเปนตอมไรทอขนาดใหญที่สุด
   อยูติดกับบริเวณกลองเสียง
   มีลักษณะเปน 2 พู
   มีเนื้อเยื่อของพาราไทรอยดติดอยูขางละ 2 ตอม
• นําตอมไทรอยดของแกะมาทําใหแหง
   แลวบดละเอียดใหคนปกติกินปรากฏวา
   ทําใหอัตราเมแทบอลิซึมของรางกายสูงขึ้น
• ผลจากการคนพบสามารถรักษาคนไขที่
  ไมสามารถผลิตฮอรโมนจากตอมไทรอยดไดสําเร็จ
• ป 2439 โบมานน พบวา เซลลในตอมไทรอยด
  มีปริมาณไอโอดีนสูงกวาเซลลอื่นถึง 100 เทา
• คนอยูใกลทะเลมีไอโอดีนในตอมไทรอยด
  เขมขนกวาคนที่อยูหางไกลทะเล
o ป 2448 มารีน พบวา คนที่อยูริมฝงทะเลเปนโรคคอพอก
นอยกวาคนที่อยูหางทะเล
o ทดลองไมใหไอโอดีนแกสัตวพบวาสัตวเปนโรคคอพอก
เมื่อใหอาหารที่มีไอโอดีนสัตวเหลานั้นก็หายจากโรค
                             
- ฮอรโมนที่สรางจากตอมไทรอยดเปนกรดอะมิโนที่มีไอโอดีนอยูดวย
                                                           
 คือ กรดอะมิโน ไทโรซีน ฮอรโมนมี 2 ชนิด คือ
ไทรไอโอโดไทโรนีน (Triiodothyronine , T3 ) ซึ่งมีไอโอดีน 3 อะตอม
และไทรอกซิน (Thyroxin , T4 ) ซึ่งมีไอโอดีน 4 อะตอม




  ฮอรโมนที่หลั่งออกมาสวนใหญ (90 % ) เปนไทรอกซิน (T4)
แต T3 ที่มีปริมาณนอยกวา มีความเขมขนมากกวา ฮอรโมนนี้จะถูกเก็บไวในตอม
และจะหลั่งออกมาเมื่อถูกกระตุนจากตอมใตสมองสวนหนา ฮอรโมนทั้ง 2 ชนิด
ใหผลอยางเดียวกันตอเซลลเปาหมาย
• เปนฮอรโมนจากตอมไทรอยด
• สรางจากกลุมเซลลไทรอยดฟอลลิเคิล
• ทําหนาที่ควบคุมเมทาบอลิซึมของรางกาย
• ขาดฮอรโมนนี้ในเด็กทําใหเกิดโรคที่เรียกวา เครทินิซึม (Cretinism)
• ขาดฮอรโมนนี้ในวัยผูใหญเกิดโรคที่เรียกวา มิกซีดีมา (Myxedema)
พัฒนาการของสมองและสติปญญานอยลงพัฒนาทําใหปญญาออน
แขน ขาสั้น หนาและมือบวม ผิวหยาบแหง ผมบาง ไมเจริญเติบโต
รูปรางเตี้ยแคระ
- จะสงผลใหอัตราเมแทบอลิซึมลดนอยลง
- ทําใหออนเพลีย เหนื่อยงาย เซื่องซึม
- เคลื่อนไหวชา กลามเนื้อออนแรง
- รางกายออนแอ ติดเชื้อไดงาย
- หัวใจเตนชา
- ทนหนาวไมได
- มีคอเลสเทอรอลสูงผิวหนังบวมน้ํา หนาบวม
- อวน ทําใหน้ําหนักเพิ่ม
- ผมและผิวแหง
- สมองจะทํางานชาลง ปฏิกิริยาโตตอบชาหรือ
ถึงขั้นความจําเสื่อม
- ประจําเดือนผิดปกติ
ผูปวยเปนโรคคอพอกชนิดธรรมดา (ก) และโรคคอพอกชนิดเปนพิษ (ข)
57
• เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีนเนื่องจากตอมไทรอยด
• ไมสามารถสรางไทรอกซินได
• ตอมใตสมองสวนหนาหลั่ง TSH มากระตุน
  ตอมไทรอยดมากเกินไปและตอมนี้ไมสามารถ
  สรางไทรอกซินออกไปยับยั้งการหลั่ง TSH ได
  ทําใหตอมไทรอยดขยายขนาดผิดปกติ
 เกิดจากตอมไทรอยดถูกกระตุนใหสรางฮอรโมนมากเกินไป
 ผูปวยคอหอยไมโตมากนักบางคนตาโปน
 ตอมไทรอยดถูกกระตุนใหทํางานหนักตลอดเวลา
 รักษาโดยการกินยาที่ยับยั้งการสรางฮอรโมน หรือผาตัด
 หรือกินสารไอโอดีนซึ่งเปนกัมมันตรังสี เพื่อทําลายเนื้อเยื่อ
 บางสวนของตอม
• สรางจากตอมไทรอยด
• สรางจากกลุมเซลลที่มีตนกําเนิดตางจากไทรอยดฟอลลิเคิล
  เรียกเซลลเหลานี้วาเซลลซี (C-cell) หรือเซลลพาราฟอลลิคิวลาร
หนาที่ : ลดระดับแคลเซียมในเลือดใหต่ําลงถาในเลือดมีระดับแคลเซียมสูง
กวาปกติ ทําไดโดย

  - เพิ่มการสะสมแคลเซียมที่กระดูก
  - ลดการดูดแคลเซียมกลับจากทอหนวยไต ( ขับแคลเซียมทิ้งทางน้ําปสสาวะ )
  - ลดการดูดซึมแคลเซียมที่ลําไสเล็ก ( เพื่อไมใหแคลเซียมถูกดูดเขาสูกระแสเลือด )

               http://www.pibul.ac.th/vicha
               kan/sciweb/Biology42042/H
               ormone/Hormone/html/Web
               site-endocrine-
               system/thyroid.htm
http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/
4. ตอมพาราไทรอยด (PARATHYROID GLAND)

ฮอรโมนจากตอมพาราไทรอยด
- พาราทอรโมน (parathormone,PTH)

ทําหนาที่
- รักษาสมดุลของแคลเซียมในรางกายใหคงที่
- กระตุนใหมีการเพิ่มระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัส ถาหากระดับแคลเซียมในเลือดต่ํา
- ทําใหมีการดูดซึมแคลเซียมที่ลําไสและทอหนวยไตมากขึ้น
- มีการกระตุนใหมีการสลายแคลเซียมออกจากกระดูกมาก
   ดังนั้นถาหากมีฮอรโมนนี้มากเกินไปจะมีผลทําใหเกิดการสะสมของแคลเซียมที่ไต
    ที่หลอดเลือด มีการดึงเอาแคลเซียมจากกระดูกและฟนออกมา ทําใหเกิดอาการ
    กระดูกเปราะบางและหักงาย ทําใหเปนโรคกระดูกพรุน ฟนหักและผุงาย
ก. การควบคุมโดยแคลซิโทนิน   ข. ควบคุมโดยพาราทอรโมน
66
67
5. ตับออน (pancreas)




                                                                                                                 68

http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/html/Website-endocrine-system/Pancreas.htm
การศึกษาเกี่ยวกับตับออน
  • ป พ.ศ. 2411 พอล แลงเกอรฮานส สังเกตพบกลุมเซลล
    กระจายอยูเปนหยอมๆมีหลอดเลือดมาหลอเลี้ยง ตอมาเรียก
    กลุมเซลลนวา ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets of Langerhans)
               ี้
  • ป พ.ศ.2432 โยฮันน วอน เมอริง พบวาเมื่อตัดตับออนของสุนัข
    จะมีผลตอการยอยอาหารประเภทไขมัน
  • ป พ.ศ. 2455 พบวากลุมเซลลไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส ผลิต
    สารบางอยางมาทางกระแสเลือดและใหชื่อวา อินซูลน (insulin)
                                                      ิ
  • ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส สรางฮอรโมนที่สําคัญ 2 ชนิด คือ
    อินซูลิน และกลูคากอน
• เปนฮอรโมนจากกลุมเบตาเซลล (B-cell)
  ที่บริเวณสวนกลางของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส
• ทําหนาที่ลดระดับน้ําตาลในเลือดใหเปนปกติ
• ถากลุมเซลลที่สรางอินซูลินถูกทําลาย ระดับน้ําตาล
  ในเลือดสูงกวาปกติทําใหเปนโรคเบาหวาน
• เปนฮอรโมนที่สรางจากแอลฟาเซลล (∞ - cell)
  ซึ่งเปนเซลลประเภทหนึ่งของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส
• กลูคากอนทําหนาที่ตรงขามกับอินซูลิน คือ กระตุน
  การสลายตัวของไกลโคเจน
• การเปลี่ยนแปลงระดับน้ําตาลจะเปนสัญญาณยับยั้งและ
  กระตุนการหลั่งอินซูลินและกลูคากอน
โรคเบาหวาน (diabetes mellitus)
   diabetes เปนภาษากรีก มีความหมายวา “ผานโดยตลอด” สวน
คําวา mellitus มีความหมายวา “หวานเหมือนน้ําผึ้ง”
 • เกิดจากความผิดปกติในการสรางฮอรโมน
   ของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส
 • พบน้ําตาลในปสสาวะ
 • น้ําตาลในเลือดสูงรางกายกําจัดออกทางปสสาวะ
 • โรคเบาหวานมี 2 แบบ
         แบบที่ 1 เกิดจากตับออนไมสามารถสรางอินซูลินได
         แบบที่ 2 เกิดจากตับออนสรางอินซูลินไดปกติ
            แตตวรับอินซูลินผิดปกติอินซูลินทํางานไมได
                  ั
อาการที่สําคัญ

- ปสสาวะบอยและมาก เนื่องจากมีน้ําตาลในเลือดมาก ทอหนวยไตไมสามารถดูดกลับคืนสู
รางกายไดหมด
- กระหายน้ํามากและบอยผิดปกติ
- เมื่อเปนแผลจะหายอยาก มีอาการคันบริเวณอวัยวะสืบพันธุและผิวหนัง
- น้ําหนักตัวลด ออนเพลีย เซื่องซึม เมื่อยลา
 - เลือดและปสสาวะมีฤทธิ์เปนกรดมากกวาปกติ เนื่องจากมีสารคีโตน
( ketone body ) จากการสลายไขมันและถาเปนโรคเบาหวานนาน ๆ อาจจะทําให ตาบอด
และไตจะคอย ๆ หมดสภาพในการทํางาน


                                                                          76
6. ฮอรโมนจากตอมหมวกไต (adrenal gland)
         ตั้งอยูเหนือไตทั้ง 2 ขาง แบงออกเปน 2
บริเวณคือบริเวณสวนนอกเรียกวา adrenal cortex และ
สวนในเรียกวา adrenal medulla




                                                      77
ฮอรโมนจากตอมหมวกไต
ตอมหมวกไต (adrenal gland) ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 2 ชนิดคือ
1. อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex) เปนเนื้อเยื่อชั้นนอก
2. อะดรีนัลเมดุลลา (adrenal medulla) เปนเนื้อเยื่อชั้นใน
อะดรีนัลคอรเทกซ
ผลิตฮอรโมนไดมาก สามารถแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ




                                                              78
อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex)
1. ฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด (Glucocorticoid hormone)
 ทําหนาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคารโบไฮเดรต

 ฮอรโมนที่สําคัญคือ ฮอรโมนคอรติซอล (cortisol)
มีหนาที่
 เพิ่มปริมาณกลูโคสในเลือดใหสูงขึ้น โดยการกระตุนเซลลตับใหเปลี่ยน
   กรดอะมิโนและกรดไขมันเปนคารโบไฮเดรตและเก็บสะสมในรูปของไกลโคเจน
   จากนั้นจึงกระตุนตับใหเปลี่ยนไกลโคเจนเปนกลูโคสสงเขากระแสเลือด
                  
 ถามีฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด มากเกินไป จะทําใหเปนโรคคูชชิง
   (Cushing’ s syndome)


                                                            79
โรคคูชชิง (CUSHING’ S SYNDOME)
 กลามเนื้อออนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา

 อวนมีไขมันสะสมแกนกลางลําตัว ใบหนากลมคลายดวงจันทร หนาทองแตก
  ลาย บริเวณตนคอมีหนอกยื่นออกมา
2. ฮอรโมนมิเนราโลคอทิคอยด (mineralocorticoid) ทําหนาที่
ควบคุมสมดุลของน้ําและเกลือแรในรางกาย เชน แอลโดสเตอโรน (aldosterone)

ทําหนาที่
• ควบคุมการดูดกลับของโซเดียมไอออน (Na+) และน้ําที่ทอหนวยไต
เขาสูหลอดเลือด
• ขับโพแทสเซียมออกจากทอหนวยไตใหสมดุลกับความตองการของรางกาย
• ควบคุมสมดุลความเขมขนของฟอสเฟตในรางกายอีกดวย
• การขาดแอลโดสสเตอรโรนจะมีผลใหรางกายสูญเสียน้ําและโซเดียมไปพรอมกับ
น้ําปสสาวะและสงผลใหปริมาณเลือดลดลงจนอาจทําใหผูปวยตายเพราะความดัน
เลือดต่ําได



                                                                81
3. ฮอรโมนเพศ (ADRENAL SEX HORMONE )
        ในภาวะปกติฮอรโมนที่สรางจากอะดรีนัลคอรเทกซมีเพียงเล็กนอยเมื่อ
เทียบกับฮอรโมนเพศจากอวัยวะเพศ สวนใหญจะเปนฮอรโมนเพศชายมี
ฮอรโมนเพศหญิงนอยมาก ฮอรโมนเพศที่สราง เชน แอนโดรเจน (ฮอรโมนเพศ
ชาย) และแอสโทรเจน (ฮอรโมนเพศหญิง)
 ถาตอมหมวกไตดานนอก ถูกทําลายจะไมสามารถสรางฮอรโมน
 ทําใหเปน โรคแอดดิสัน ( Addison’s disease )
 อาการ ผูที่เปนโรคนี้รางกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ รางกายไม
 สามารถรักษาสมดุลของแรธาตุได ซึ่งจะทําใหผูปวยเสียชีวิตได
อะดรีนัลเมดุลลา (ADRENAL MEDULLA)
 อะดรีนัลเมดุลลา ผลิตฮอรโมนดังนี้
 1. อะดรีนาลิน (adrenalin)
    ทําใหน้ําตาลในเลือดเพิ่มขึ้น และ กระตุนการเตนของหัวใจ
    ทําใหเมแทบอลิซึมเพิ่มขึ้นมาก ซึ่งเปนฮอรโมนที่หลั่งออกมาเมื่อ
    รางกายอยูในสภาวะฉุกเฉิน ดังนั้นจึง เรียกอีกชื่อ หนึ่งวา
    fligth or fight hormone
 2. นอรอะดรีนาลิน (noradrenalin)
     ทําหนาที่หลั่งจากเสนประสาทซิมพาเทติก ทําใหความดันเลือดสูงทํา
    ใหหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะตางๆ บีบตัว
                                                           84
7. ฮอรโมนจากอวัยวะเพศ
เพศชาย
- แหลงที่ทําหนาทีสรางฮอรโมนในอัณฑะ (testis) คืออินเตอรสติเชียลเซลล (Interstitial cell)
                     ่
- อยูระหวางหลอดสรางอสุจิในเพศชาย
- เมื่อเริ่มวัยหนุมอินเตอรสติเชียลเซลลจะถูกกระตุนจากฮอรโมน LH หรือ ICSH จากตอมใต
    สมองสวนหนาใหสรางฮอรโมนเพศชายทีเรียกวา แอนโดเจน (Androgen) ประกอบดวย
                                              ่
    ฮอรโมนหลายชนิดที่สําคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone)
- เทสโทสเทอโรนมีหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุเพศชาย

- และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย (Male secondary characteristic)

- คือ เสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดเครา มีขนขึ้นบริเวณหนาแขง รักแร และ
    อวัยวะสืบพันธุ กระดูกหัวไหลกวางและกลามเนื้อตามแขนขาเติบโตแข็งแรงมากกวาเพศหญิง
-



                                                                                85
1. ฮอรโมนจากอวัยวะสืบพันธุในเพศชาย
         - แหลงที่ทําหนาที่สรางฮอรโมนในอัณฑะ (testis) คืออินเตอรสติเชียล
เซลล (Interstitial cell)
         - อยูระหวางหลอดสรางอสุจิในเพศชาย
         - เมื่อเริ่มวัยหนุมอินเตอรสติเชียลเซลลจะถูกกระตุนจากฮอรโมน LH หรือ
ICSH จากตอมใตสมองสวนหนาใหสรางฮอรโมนเพศชายที่เรียกวา แอนโดเจน
(Androgen) ประกอบดวยฮอรโมนหลายชนิดที่สําคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน
(Testosterone)
         - เทสโทสเทอโรนมีหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุเพศชาย
และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย (Male secondary
characteristic) ลักษณะดังกลาวที่สําคัญ คือ เสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือก
แหลม มีหนวดเครา มีขนขึ้นบริเวณหนาแขง รักแร และอวัยวะสืบพันธุ กระดูกหัวไหล
กวางและกลามเนื้อตามแขนขาเติบโตแข็งแรงมากกวาเพศหญิง
o ผลิตเซลลไข
o สรางฮอรโมนเพศ
o มีแหลงสรางฮอรโมน 2 แหง คือ ฟอลลเคล และ คอรปลลเทียม
                                     ิ ิ             ู
91
 ในระยะกอนการตกไข เซลลฟอลลิเคิลที่ลอมรอบไข
 จะสรางฮอรโมนอีสโทรเจน
 อีสโทรเจน ทําใหเกิดลักษณะของหญิง
 ควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่รังไขและเยื่อบุมดลูก
 อีสโทรเจนกระตุนใหหลั่ง LH มาทําใหโอโอไซตระยะที่ 2
 หลุดออกจากฟอลลิเคิล เรียกวาการตกไข
 หลังการตกไขฟอลลิเคิลมีการเปลี่ยนแปลงเปนคอรปสลูเทียม
 สรางฮอรโมนโพรเจสเทอโรน ทํางานรวมกับอีสโทรเจน
 กระตุนการเจริญของเยื่อบุชั้นในของผนังมดลูก
 กระตุนตอมน้ํานมใหเติบโต แตไมกระตุนการสรางน้ํานม
 เซลลไขไมไดรับการผสมจากอสุจิ คอรปสลูเทียมจะเปลี่ยนแปลง
 และหยุดสรางโพรเจสเทอโรน ทําใหเยื่อบุผนังมดลูกสลายตัว
 ถูกขับออกมาเปนประจําเดือน
การเปลี่ยนแปลงของฮอรโมน ฟอลลิเคิล
และผนังมดลูกในชวงตางๆ ของรอบประจําเดือน
96
สรุปจากแผนภาพ
•จุดที่ระดับฮอรโมน FSHคอยๆเพิ่มขึ้นฟอลลิเคิลจะถูกกระตุนใหเจริญจนถึงจุดที่
ระดับ FSH สูงสุดฟอลลิเคิล
จะเจริญเต็มที่พรอมที่จะใหเกิดการตกไข
•ขณะที่ฟอลลิเคิลเจริญฟอลลิเคิลจะสรางฮอรโมน อีสโทรเจนเพิ่มขึ้นเมื่อฟอลลิเคิล
เจริญเต็มที่ระดับอีสโทรเจนจะสูงสุด
•เมื่อฟอลลิเคิลเจริญเต็มที่ฮอรโมน LH จะมีระดับสูงสุดเพื่อกระตุนใหฟอลลิเคิล
ปลอยไขออกมาและหลังจากตกไขแลว
ระดับฮอรโมน LHจะลดต่ําสุด
สรุปจากแผนภาพ
•เนื้อเยื่อของฟอลลิเคิลหลังจากปลอยไขออกไปแลวจะยุบรวมตัวเปนคอรปสลูเทียม
ที่มีสีเหลืองแลวทําหนาที่สรางฮอรโมน โพรเจสเทอโรน
เพื่อกระตุนให เยื่อบุชั้นในของผนังมดลูกเจริญหนาขึ้นเพื่อรอรับการฝงตัวของ
เอ็มบริโอ

•ถาไมมีการฝงตัวของเอ็มบริโอคอรปสลูเทียม จะสลายไป ระดับฮอรโมนอีสโทร
เจน และ โพรเจสเทอโรน จะลดลงต่ําสุด
เมื่อไมมีการสรางโพรเจสเทอโรน จากคอรปสลูเทียมเยื่อบุชั้นในของผนังมดลูก จะ
เริ่มสลายตัวหลุดลอกออกมาเปน ประจําเดือน
8. ฮอรโมนจากรก (PLACENTA)


 เซลลของรกจะหลั่งฮอรโมนฮิวแมน คอริโอนิก
 โกนาโดโทรฟน (HCG) หลังจากเอ็มบริโอฝงตัว
 ที่ผนังมดลูก
 HCG กระตุนคอรปสลูเทียมในรังไขใหเจริญตอไป
              
 และสรางฮอรโมนโพรเจสเทอโรนเพิ่มขึ้น
9. ตอมไทมัส (THYMUS GLAND)

• มีลักษณะเปนพู มีตําแหนงอยูระหวางกระดูกอก
  กับหลอดเลือดใหญของหัวใจ
• มีหนาที่สรางเซลลเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซตชนิด ที
  หรือเซลล ที
• การแบงเซลลและพัฒนาการของลิมโฟไซตชนิด ที
  อาศัยฮอรโมนไทโมซิน (thymosin) ที่สรางจากเซลล
  บางสวนของตอมไทมัส
• ไทโมซิน เปนฮอรโมนที่เกี่ยวของกับการสรางภูมคุมกันของรางกาย
                                                ิ
10. กระเพาะอาหารและลําไสเล็ก


แกสตริน (Gastrin)
                    • สรางจากกระเพาะอาหาร
                    • กระตุนการหลั่งเอนไซมและกรดไฮโดรคลอริก

  ซีครีทิน (Secretin)
                        • สรางจากดูโอดีนัมของลําไสเล็ก
                        • กระตุนตับออนใหหลั่งเอนไซมและ
                          โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต
                        • กระตุนการบีบตัวของทอน้ําดี
 รางกายตองมีระบบควบคุมการหลั่งฮอรโมนของตอมไรทอ
 เพื่อปองกันการหลั่งฮอรโมนโดยไมจํากัด
 ระบบควบคุมอาจเปนปริมาณของฮอรโมนเอง หรือระดับ
 สารเคมีอื่นๆ ในเลือด
 ระบบควบคุมแบบยอนกลับมี 2 ลักษณะ คือ
       1. การควบคุมแบบยับยั้งยอนกลับ (negative feedback)
       2. การควบคุมแบบกระตุนยอนกลับ (positive feedback)
                             
106
107
ฟโรโมน หมายถึง สารเคมีที่ผลิตจากตอมมีทอ
ของสัตวที่สรางออกมาแลวไมมีผลตอรางกายของสัตวเอง
แตสามารถไปมีผลตอสัตวตวอื่นที่เปนชนิดเดียวกัน
                          ั
ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและพฤติกรรมได
ฟโรโมนมี 3 ทางคือ
1. ทางกลิ่น (Olfaction) : พบในแมลงหลายชนิด สวนมากก็เพื่อการดึงดูดเพศตรงขามใหมาหา
หรือไมก็เปนการบอก.... ใหรูวาอยูที่ไหน หรือเปนสัญญาณอันตรายเตือนใหรู เชน ฟโรโมนของตัว
ชะมดมีกลิ่นแรงมากเราสกัดเอามาทําเปนหัวน้ําหอม
2. การกิน (Ingestion) : เชน ผึ้งนางพญาจะสรางสารจากตอมบริเวณระยางคปาก เรียกวา Queen
substance สําหรับ.... เอาไวลอผึ้งงาน เมื่อผึ้งงานกินเขาไปจะไปยับยังรังไขของผึ้งงานไมใหมีการ
                                                                     ้
เจริญเติบโตและสรางรังไขจึงไมมีโอกาส.... สืบพันธุเหมือนนางพญา
3. การดูดซึม (Absorption) : พบเฉพาะในสัตวไมมีกระดูกสันหลังเทานั้น เชน แมงมุมบางชนิดและ
แมลงสาบ ....ตัวเมียจะปลอยฟโรโมนทิ้งเอาไวจนกระทั่งตัวผูมาสัมผัส ก็จะซึมเขาไปกระตุนใหเกิด
ความตองการทางเพศ... ติดตามหาตัวเมียจนพบและทําการผสมพันธุ แตในตั๊กแตนตัวผูจะปลอย
ฟโรโมนทิ้งเอาไวหลังจากผสมพันธุ ....เมื่อตัวออนมาสัมผัสฟโรโมนนั้นก็จะดูดซึมเขาไปกระตุนให
เติบโตเปนตัวเต็มวัยและสืบพันธุได



                                                                                            109
สามารถจําแนกฟโรโมนตามพฤติกรรมไดดังนี้
1.     สารดึงดูดเพศตรงขาม (sex pheromone) พบในผีเสื้อไหมตัวเมีย ปลอย
       ออกมาดึงดูดผีเสื้อไหมตัวผู
2.     สารเตือนภัย (alarm pheromone) เชนมดตาย จะมีฟโรโมนออกมาจากซาก
       มดตัวนั้น ทําใหมีการขนซากมดตัวนั้นไปทิ้งนอกรัง
3.     สารนําทาง (trail pheromone) ไดแก กรดบางชนิดที่มดงานปลอยออกมา
       ตามทางเดิน ทําใหมดตัวอื่นสามารถเดินไปยังอาหารไดถูกตอง
4      สารจากนางพญา (queen substance) เชนสารที่นางพญาใหผึ้งงานกิน
       ทําใหผึ้งงานเปนหมัน
5.   สารทําใหรวมกลุม (aggregation pheromone) เชน นางพญาปลวกปลอย
       ออกมาทําใหปลวกงานมารวมกลุมกัน
6.   สารแสดงอาณาเขต (territory pheromone) เชน สุนัขปสสาวะรดสิ่งตาง ๆ
       ที่มันเดินผาน
                                                                   112
113

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อwaratree wanapanubese
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมน6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมนWichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมน6.ดุลกับฮอร์โมน
6.ดุลกับฮอร์โมน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 

Similar a ต่อมไร้ท่อ54

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติWichai Likitponrak
 
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine systemPiro Jnn
 

Similar a ต่อมไร้ท่อ54 (20)

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
 
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 

Más de Oui Nuchanart

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 

Más de Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 

ต่อมไร้ท่อ54

  • 1. (ENDOCRINE SYSTEM) ครูนุชนารถ เมืองกรุง
  • 2. ป 2391 ARNOLD A. BERTHOLD
  • 3. หมายถึง สารเคมีที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางาน ของระบบตางๆ ในรางกาย เชนการทํางานของระบบสืบพันธุ ระบบขับถาย ตลอดจนกระบวนการเมแทบอลิซึมของรางกาย ฮอรโมนสวนใหญเปนสารประเภทโปรตีน และสเตรอยด ที่ผลิตจากเนื้อเยื่อหรือตอมไรทอ (endocrine tissue หรือ endocrine gland)
  • 4. ตอมไรทอ (endocrine gland) ตอมที่หลั่งสารและไปมีผลตอ เซลลเปาหมายโดยผาน extracellular fluid เชนกระแสเลือด ตอมมีทอ(exocrine gland) ตอมที่หลั่งสารและไปมีผลตอเซลล เปาหมายโดยผานทอ
  • 5. หนาที่ของฮอรโมนแบงออกไดเปน 3 กลุมใหญ 1. ควบคุมการเจริญเติบโต (growth) 2. ควบคุมและรักษาสภาพแวดลอมภายในรางกายใหเปนปกติ 3. ควบคุมการทํางานของรางกายอยางอัตโนมัติ 5
  • 6. Chemical messengerหรือmolecular messenger แบงเปน 5 ชนิดดังนี้ 1. Paracrine (local regulator) 2. Neurotransmitter 3. Neurohormone 4. Hormone 5. Pheromone 6
  • 7. ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ 1. ฮอรโมนเปปไทดหรือโปรตีน (Polypeptide hormone) เปนสารประกอบประเภทโปรตีนหรือโพลีเปปไตดขนาดเล็ก ละลายน้ําได ระดับฮอรโมนเปลี่ยนแปลงเร็ว ออกฤทธิ์ที่เยื่อหุมเซลลของอวัยวะเปาหมาย ไดแก ฮอรโมนจากไฮโพทาลามัส ตอมใตสมอง ตับออน และตอมพาราไทรอยด 7
  • 8. ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ 2. ฮอรโมนสเตียรอยด (Steroid hormone) เปนฮอรโมนที่ไมละลายในน้ํา และไมถูกเก็บไวในตอมที่สราง เมื่อสรางขึ้นแลวจะ สงไปยังอวัยวะเปาหมายในทันที ระดับฮอรโมนคอนขางคงที่ ไดแกตอมหมวกไต ( adrenal gland) รังไข (ovary) และอัณฑะ (testis) 8
  • 9. ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ 3. ฮอรโมนเอมีน (Amine hormone) เปนฮอรโมนที่ไดจากกรดอะมิโนเชื่อมกันแลวตัดหมูคารบอกซิลออก จะไดเอมีน ฮอรโมนกลุมนี้ละลายน้ําได มีระดับฮอรโมนไมแนนอน สูง ๆ ต่ํา ไดแก ฮอรโมน ไทรอกซิน (thyroxin) และแคทีโคลามิน (catecholamine) 9
  • 10. ฮอรโมนแบงตามโครงสรางทางเคมีไดเปน 4 ชนิด คือ 4.ฮอรโมนกรดไขมัน (Fatty acid hormone) เปนสารประกอบของกรดไขมัน มีผลทําใหกลามเนื้อและหลอดเลือดหดตัว ไดแก prostaglandin พบใน semen และสรางจากตอมเนื้อเยื่อ 10
  • 11. กลไกการออกฤทธิ์ของchemical messenger และฮอรโมน -ออกฤทธิ์ไดโดยการจับกับตัวรับสัญญาณ(receptor) สารเคมีตัวเดียวกันสามารถมีผลตอ เซลลชนิดตางๆ ไดตางกันโดยขึ้นกับ 1.ตัวรับตางกัน (a กับb&c) 2.ตัวถายทอดสัญญาณในเซลล ตางกัน (bกับc) 11
  • 12. การออกฤทธิ์ของฮอรโมน แบงตามโครงสรางไดเปน 2 แบบ 1.พวกที่มีตัวรับอยูที่ผนังเซลล(cell membrane receptor)ไดแกฮอรโมนที่มีขนาดใหญ ผานเขาเซลลไมได ไมละลายในไขมัน เชน ฮอรโมนโปรตีน 12
  • 13. 2.พวกที่มีตัวรับอยูภายในเซลล ไดแกฮอรโมนที่มีขนาดเล็กและละลายในไขมันได เชน ฮอรโมนสเตียรอยด, ฮอรโมนไทรอยด, Vitamin D3, -ตัวรับอาจอยูในไซโตพลาสม หรือนิวเคลียส -ตัวรับเมื่อจับกับฮอรโมน (hormone-receptor complex) จะทําหนาที่เปน transcription factor 13
  • 14. ฮอรโมนจากตอมไรทอที่สําคัญของรางกาย  ตอมไรทอมีการเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้น คือ 1. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง * สรางสารพวกสเตอรอยด - ตอมหมวกไตสวนนอก (adrenal cortex) - รังไข (ovary) - อัณฑะ (testis) 2. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก และเนื้อเยื่อชั้นใน * สรางสารพวกเปปไทด โปรตน ี - ตอมไทรอยด(thyroid gland) - ตอมใตสมอง(hypophysis หรือ pituitary) - ตอมหมวกไตสวนใน(adrenal medulla)
  • 15. ความสําคญของตอมไรทอตอรางกาย ั 1. พวกที่รางกายขาดไมได(essential endocrine gland) - ตอมไทรอยด (thyroid gland) - ตอมพาราไทรอยด(parathyriod gland) - ตอมหมวกไตสวนนอก (adrenal cortex) - ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส 2. พวกที่รางกายขาดได(non-essential endocrine gland) - ตอมใตสมองสวนหนา (pituitary) - ตอมไพเนียล(pineal gland) - ตอมหมวกไตสวนใน (adrenal medulla) - รังไข (ovary) - อัณฑะ(testis) 15
  • 16.
  • 17.
  • 18. 1. ตอมไพเนียล 2. ตอมใตสมอง 3. ตอมไทรอยด 4. ตอมพาราไทรอยด 5. ตับออน 6. ตอมหมวกไต 7. อวัยวะเพศ 8. รก 9. ตอมไทมัส 10. กระเพาะอาหารและลําไสเล็ก
  • 19. 1. ตอมไพเนียล (pineal gland)  ตอมไพเนียล ของสัตวเลือดเย็น สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก และสัตวเลื้อยคลาน บางชนิดไมสรางฮอรโมน แตเปนกลุมของเซลลรับแสง  ในสัตวเลือดอุนจําพวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนม การทํางานของตอมนี้สัมพันธกับแสง สวางและการรับภาพ  ในคน ตอมไพเนียลอยูระหวางเซรีบรัมซีกซายและซีกขวา ทําหนาที่สรางฮอรโมน เมลาโทนิน มีหนาที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุไมใหเติบโตเร็วเกินไป
  • 20. 2. ตอมใตสมอง(hypophysis หรือ pituitary)  อยูติดตอกับสวนลางของสมองสวนไฮโพทาลามัส  แบงได 3 สวน คือ ตอมใตสมองสวนหนา สวนกลาง และสวนหลัง  มีขนาดประมาณ 1 – 1.5 ซม.
  • 21. 1. ตอมใตสมองสวนหนา(Anterior pituitary) 2. ตอมใตสมองสวนกลาง (intermidiate ) 3. ตอมใตสมองสวนหลัง (Posterior pituitary) 21
  • 22. ตอมใตสมองสวนหนา(anterior pituitary gland or adenohypophysis) -ควบคุมการหลั่งฮอรโมนโดยไฮโปทาลามัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting ผานทางเสนเลือด portal vessel 22
  • 23. สรางฮอรโมนประสาท ปลอยที่ตอมใตสมองสวนหลัง ปลายแอกซอนมาสิ้นสุดและหลั่งฮอรโมนประสาทออกสูกระแสเลือด
  • 24. ( anterior pituitary gland or adenohypophysis ) 1. โกรทฮอรโมน (GH) 2. โกนาโดโทรฟน (Gn) ประกอบดวย FSH และ LH 3. โพรแลกทิน 4. อะดรีโนคอรติโคโทรฟน (ACTH) 5. ไทรอยดสติมิวเลติงฮอรโมน (TSH) 6. เอนดอรฟน
  • 25. 1. ฮอรโมนโกรท (Growth hormone,GH) - ฮอรโมนโกรท (Growth hormone,GH) เปนสารพวกโปรตีน ควบคุมการเจริญเติบโต ของรางกาย นอยไป มากไป เด็ก dwarfism giantism ผูใหญ acromegaly simmon’s disease 25
  • 26. GIANTISM  เนื่องจากในวัยเด็กมีการสราง GH มากเกินไปจะมีผลกระตุนการเจริญเติบโตมากกวา ปกติ เรียกวา สภาวะยักษ (giantism) 26
  • 27. 13 years old 21 years old Entering his car, 18 years old front seat had to be removed 18 years old 27 High School Graduation http://www.altonweb.com/history/wadlow/
  • 28. DWARFISM  เนื่องจากในวัยเด็กมีการขาดฮอรโมน GH นอยทําใหเกิดอาการรางกายมี ขนาดเล็ก แคระแกร็น เนื่องจากการ เจริญเติบโตของกระดูกถูกยับยัง ้ ระบบสืบพันธไมเจริญ 28
  • 29. ACROMEGALY  เนื่องจากในวัยผูใหญมีฮอรโมน GH มากเกินไปจะมีผลตอการกระตุนการ เจริญของกระดูกในดานกวาง เนื่องจากกระดูกทางดานยาวบิดไปแลว ยาวอีก ไมได และยับยั้งเนือเยื่อเกี่ยวพันดวย ทําใหกระดูกที่คางขยายขนาดกวางขึ้น ้ ฟนหางใบหนาเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู นิ้วมือ นิ้วเทามีขนาดใหญขึ้น ผิวหนัง หนาและหยาบ 29
  • 30. SIMMON’S DISEASE  เนื่องจากในผูใหญที่มีฮอรโมนโกรธนอย มักไมแสดงลักษณะอาการใหเห็นแตพบวา น้ําตาลในเลือดต่ําจึงทนตอความเครียด ทางอารมณไดนอยกวาคนปกติ และมักจะ เปนลมหนามืดงาย อาจเปนโรคผอมแหง 30
  • 31. 2. ฮอรโมนโกนาโดโทรฟน (gonadotrophin หรือ gonadotrophic hormone,Gn ) 1. ฟอลลเคล สติมิวเลติงฮอรโมน (follicle stimulating hormone ; FSH) ิ ิ 2. ลูทิไนซิงฮอรโมน (Lutinizing hormone ;LH) 31
  • 32. ในเพศชาย - FSH กระตุนการเจริญเติบโตของหลอดสรางอสุจิ (siminiferous tubule) ในอัณฑะและกระตุนการสรางอสุจิ (Spermatogenesis) - LH กระตุนใหกลุมอินเตอรสติเชียลเซลลของอัณฑะใหสรางและหลั่ง ฮอรโมน เทสโทสเทอโรน (Testosterone) ซึ่งเปนฮอรโมนเพศชาย ดังนั้นในเพศ ชายจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ฮอรโมนกระตุนอินเตอรสติเชียล ( interstitial cell stimulating hormone หรือ ICSH)
  • 33. - ฮอรโมน LH กระตุนกลุมเซลล อินเตอรสติเชียลใหหลั่ง - ฮอรโมนเทสโทสเตอโรน (testosterone) 33
  • 34. ในเพศหญิง - FSH จะกระตุนการเจริญเติบโตฟอลลิเคิลของรังไข (Ovarian follicle) และออกฤทธิ์รวมกับฮอรโมน LH ใหสรางและหลั่งฮอรโมนอีสโทรเจน (estrogen ) - LH กระตุนใหไขสุกและการตกไข และหลังการตกไขแลวจะชวยกระตุน ใหเซลลที่เหลือในฟอลลิเคิลใหกลายเปนคอรปสลูเทียม (corpus luteum) เพื่อสราง ฮอรโมนโพรเจสเทอโรน ( progesterone)ซึ่งมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก เพื่อรองรับการฝงตัวของเอ็มบริโอ 34
  • 35. 3. ฮอรโมนโพรแลกติน (prolactin) หรือ (lactogenic hormone) • เปนฮอรโมนประเภทโปรตีน กระตุน การเจริญของทอของการผลิตน้ํานม กระตุนการสรางและผลิตน้ํานม • ในขณะตั้งครรภและตอนคลอดจะมี โพรแลกตินสูง • โพรแลกตินในเพศชายไมทราบ หนาที่แนชัด แตมีผูรายงานวา โพรแลกตินจะทําหนาที่รวมกับ ฮอรโมนเพศชายในการกระตุน อวัยวะที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุ เชน ตอมลูกหมาก ทอนําอสุจิ และตอมสรางน้ําเลี้ยงอสุจิ 35
  • 36. 4. ฮอรโมนอะดรีโนคอรติโคโทรฟน (adrenocorticotrophin hormone) หรือ ACTH ทําหนาที่กระตุนอะดรีนัลคอรเทก ของตอมหมวกไตใหสรางฮอรโมนตามปกติ 36
  • 37. ACTH  กระตุนการเติบโตและการสรางฮอรโมนของตอมหมวกไตสวนนอก  กระตนการปลดปลอยกรดไขมันออกจากเนื้อเยื่อ  กระตุนการหลั่งอินซูลินจากตับออน  กระตุนการหลั่ง GH จากตอมใตสมองสวนหนา  ACTH ยังมีลักษณะบางอยางเหมือนฮอรโมนจากตอมใตสมองสวนกลาง(MSH) จึงกระตุนเมลานินภายในสัตวเลือดเย็น เชน กบ ทําใหมสีเขมขึ้น ี 37
  • 38. 5. ฮอรโมนกระตุนไทรอยด (thyroid stimulating hormone) หรือ TSH ทําหนาที่กระตุนตอมไทรอยดใหหลั่งฮอรโมนตาม ปกติ ฮอรโมนจากตอม ใตสมองสวนหนาจะควบคุมโดยฮอรโมน ประสาทที่สรางมาจากไฮโพทาลามัส 38
  • 39. 6. เอนเดอรฟน (Endorphin) • ออกฤทธิ์คลายมอรฟน • สรางจากตอมใตสมองสวนหนา หรือเนื้อเยื่ออื่นๆ • ทําหนาที่ระงับความเจ็บปวด • ชวยใหคิดในทางสรางสรรค • ชวยเพิ่มความตื่นตัว มีชีวิตชีวาและความสุข • จะหลั่งออกมาเมื่อเรามีอารมณแจมใส 39
  • 40. ตอมใตสมองสวนกลาง ทําหนาที่ผลิตฮอรโมน ดังนี้ - ฮอรโมนเมลาโนไซต (Melanocyte stimulating hormone) หรือ MSH ทําหนาที่ทําใหรงควัตถุภายในเซลล ผิวหนังกระจายไปทั่ว เซลล 40
  • 41. ตอมใตสมองสวนหลัง(Posterior pituitary gland or neurohypophysis) -ฮอรโมนที่หลั่งจากตอมใต สมองสวนหลังสรางมา จากเซลลประสาทของ ไฮโปทาลามัส -โดยเซลลประสาทจะยื่น สวน axon เขามาในตอม ใตสมองสวนหลัง 41
  • 42.  ตอมใตสมองสวนหลังหรือ นิวโรไฮโพไฟซีส ไมได Axons to สรางฮอรโมนเอง แต primary capillaries ฮอรโมนถูกสรางมาจาก นิวโรซีครีทอรีเซลลของ ไฮโพทาลามัสโดยกลุม Portal Primary เซลลเหลานี้จะมีแอกซอน venules capillaries Pituitary stalk มาสิ้นสุดอยูภายในตอมใต สมองสวนหลัง และเขาสู กระแสเลือด Secondary Posterior pituitary capillaries Anterior pituitary 42
  • 43. 1.วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือ ฮอรโมนแอนติไดยูเรติก - ADH มีหนาที่ดูดน้ํากลับของหลอดไต และกระตุนใหหลอด เลือดบีบตัว ถาขาดฮอรโมนนี้จะเกิด การเบาจืดทําใหปสสาวะ บอย 43
  • 44. ADH  มีผลใหมีการดูดน้ํากลับที่ทอหนวยไต  ฮอรโมนนี้จะมีการหลั่งออกมาเมื่อ กระหายน้ํา และขาดน้ํา ความเครียดสูง ความดันเลือดสูง  ยาที่มีผลตอการกระตุนประสาทสวนกลาง ฝน เฮโรอีนจะมีผลในการกระตุน การหลั่งฮอรโมนดวย  ถามี ADH นอยมากๆจะทําใหเกิดโรคเบาจืด(diabetes insipidus) มีปสสาวะ ออกมามากถึงวันละ 20 ลิตรตอวัน  สภาพตึงเครียดและสารนิโคตินทําใหมีการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้น ทําใหปสสาวะ นอยลง แตแอลกอฮอลยับยั้งการหลั่ง ADH ทําใหปสสาวะมากขึ้น 44
  • 45. 2. ออกซีโทซิน (Oxytocin) ทําหนาที่กระตุนกลามเนื้อเรียบและ อวัยวะภายใน กระตุนกลามเนื้อรอบ ๆ ตอมน้ํานม ใหขับน้ํานม ฮอรโมนนี้จะหลั่งออกมามากตอนคลอด เพื่อชวยใหกลามเนื้อ มดลูกบีบ ตัวขณะคลอด 45
  • 46.
  • 47. 3. ตอมไทรอยด (THYROID GLAND)  จัดเปนตอมไรทอขนาดใหญที่สุด  อยูติดกับบริเวณกลองเสียง  มีลักษณะเปน 2 พู  มีเนื้อเยื่อของพาราไทรอยดติดอยูขางละ 2 ตอม
  • 48. • นําตอมไทรอยดของแกะมาทําใหแหง แลวบดละเอียดใหคนปกติกินปรากฏวา ทําใหอัตราเมแทบอลิซึมของรางกายสูงขึ้น • ผลจากการคนพบสามารถรักษาคนไขที่ ไมสามารถผลิตฮอรโมนจากตอมไทรอยดไดสําเร็จ
  • 49. • ป 2439 โบมานน พบวา เซลลในตอมไทรอยด มีปริมาณไอโอดีนสูงกวาเซลลอื่นถึง 100 เทา • คนอยูใกลทะเลมีไอโอดีนในตอมไทรอยด เขมขนกวาคนที่อยูหางไกลทะเล
  • 50. o ป 2448 มารีน พบวา คนที่อยูริมฝงทะเลเปนโรคคอพอก นอยกวาคนที่อยูหางทะเล o ทดลองไมใหไอโอดีนแกสัตวพบวาสัตวเปนโรคคอพอก เมื่อใหอาหารที่มีไอโอดีนสัตวเหลานั้นก็หายจากโรค 
  • 51. - ฮอรโมนที่สรางจากตอมไทรอยดเปนกรดอะมิโนที่มีไอโอดีนอยูดวย  คือ กรดอะมิโน ไทโรซีน ฮอรโมนมี 2 ชนิด คือ ไทรไอโอโดไทโรนีน (Triiodothyronine , T3 ) ซึ่งมีไอโอดีน 3 อะตอม และไทรอกซิน (Thyroxin , T4 ) ซึ่งมีไอโอดีน 4 อะตอม ฮอรโมนที่หลั่งออกมาสวนใหญ (90 % ) เปนไทรอกซิน (T4) แต T3 ที่มีปริมาณนอยกวา มีความเขมขนมากกวา ฮอรโมนนี้จะถูกเก็บไวในตอม และจะหลั่งออกมาเมื่อถูกกระตุนจากตอมใตสมองสวนหนา ฮอรโมนทั้ง 2 ชนิด ใหผลอยางเดียวกันตอเซลลเปาหมาย
  • 52. • เปนฮอรโมนจากตอมไทรอยด • สรางจากกลุมเซลลไทรอยดฟอลลิเคิล • ทําหนาที่ควบคุมเมทาบอลิซึมของรางกาย • ขาดฮอรโมนนี้ในเด็กทําใหเกิดโรคที่เรียกวา เครทินิซึม (Cretinism) • ขาดฮอรโมนนี้ในวัยผูใหญเกิดโรคที่เรียกวา มิกซีดีมา (Myxedema)
  • 53.
  • 55. - จะสงผลใหอัตราเมแทบอลิซึมลดนอยลง - ทําใหออนเพลีย เหนื่อยงาย เซื่องซึม - เคลื่อนไหวชา กลามเนื้อออนแรง - รางกายออนแอ ติดเชื้อไดงาย - หัวใจเตนชา - ทนหนาวไมได - มีคอเลสเทอรอลสูงผิวหนังบวมน้ํา หนาบวม - อวน ทําใหน้ําหนักเพิ่ม - ผมและผิวแหง - สมองจะทํางานชาลง ปฏิกิริยาโตตอบชาหรือ ถึงขั้นความจําเสื่อม - ประจําเดือนผิดปกติ
  • 57. 57
  • 58. • เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีนเนื่องจากตอมไทรอยด • ไมสามารถสรางไทรอกซินได • ตอมใตสมองสวนหนาหลั่ง TSH มากระตุน ตอมไทรอยดมากเกินไปและตอมนี้ไมสามารถ สรางไทรอกซินออกไปยับยั้งการหลั่ง TSH ได ทําใหตอมไทรอยดขยายขนาดผิดปกติ
  • 59.  เกิดจากตอมไทรอยดถูกกระตุนใหสรางฮอรโมนมากเกินไป  ผูปวยคอหอยไมโตมากนักบางคนตาโปน  ตอมไทรอยดถูกกระตุนใหทํางานหนักตลอดเวลา  รักษาโดยการกินยาที่ยับยั้งการสรางฮอรโมน หรือผาตัด หรือกินสารไอโอดีนซึ่งเปนกัมมันตรังสี เพื่อทําลายเนื้อเยื่อ บางสวนของตอม
  • 60.
  • 61. • สรางจากตอมไทรอยด • สรางจากกลุมเซลลที่มีตนกําเนิดตางจากไทรอยดฟอลลิเคิล เรียกเซลลเหลานี้วาเซลลซี (C-cell) หรือเซลลพาราฟอลลิคิวลาร
  • 62. หนาที่ : ลดระดับแคลเซียมในเลือดใหต่ําลงถาในเลือดมีระดับแคลเซียมสูง กวาปกติ ทําไดโดย - เพิ่มการสะสมแคลเซียมที่กระดูก - ลดการดูดแคลเซียมกลับจากทอหนวยไต ( ขับแคลเซียมทิ้งทางน้ําปสสาวะ ) - ลดการดูดซึมแคลเซียมที่ลําไสเล็ก ( เพื่อไมใหแคลเซียมถูกดูดเขาสูกระแสเลือด ) http://www.pibul.ac.th/vicha kan/sciweb/Biology42042/H ormone/Hormone/html/Web site-endocrine- system/thyroid.htm
  • 64. 4. ตอมพาราไทรอยด (PARATHYROID GLAND) ฮอรโมนจากตอมพาราไทรอยด - พาราทอรโมน (parathormone,PTH) ทําหนาที่ - รักษาสมดุลของแคลเซียมในรางกายใหคงที่ - กระตุนใหมีการเพิ่มระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัส ถาหากระดับแคลเซียมในเลือดต่ํา - ทําใหมีการดูดซึมแคลเซียมที่ลําไสและทอหนวยไตมากขึ้น - มีการกระตุนใหมีการสลายแคลเซียมออกจากกระดูกมาก  ดังนั้นถาหากมีฮอรโมนนี้มากเกินไปจะมีผลทําใหเกิดการสะสมของแคลเซียมที่ไต ที่หลอดเลือด มีการดึงเอาแคลเซียมจากกระดูกและฟนออกมา ทําใหเกิดอาการ กระดูกเปราะบางและหักงาย ทําใหเปนโรคกระดูกพรุน ฟนหักและผุงาย
  • 65. ก. การควบคุมโดยแคลซิโทนิน ข. ควบคุมโดยพาราทอรโมน
  • 66. 66
  • 67. 67
  • 68. 5. ตับออน (pancreas) 68 http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/html/Website-endocrine-system/Pancreas.htm
  • 69.
  • 70. การศึกษาเกี่ยวกับตับออน • ป พ.ศ. 2411 พอล แลงเกอรฮานส สังเกตพบกลุมเซลล กระจายอยูเปนหยอมๆมีหลอดเลือดมาหลอเลี้ยง ตอมาเรียก กลุมเซลลนวา ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets of Langerhans) ี้ • ป พ.ศ.2432 โยฮันน วอน เมอริง พบวาเมื่อตัดตับออนของสุนัข จะมีผลตอการยอยอาหารประเภทไขมัน • ป พ.ศ. 2455 พบวากลุมเซลลไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส ผลิต สารบางอยางมาทางกระแสเลือดและใหชื่อวา อินซูลน (insulin) ิ • ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส สรางฮอรโมนที่สําคัญ 2 ชนิด คือ อินซูลิน และกลูคากอน
  • 71.
  • 72. • เปนฮอรโมนจากกลุมเบตาเซลล (B-cell) ที่บริเวณสวนกลางของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส • ทําหนาที่ลดระดับน้ําตาลในเลือดใหเปนปกติ • ถากลุมเซลลที่สรางอินซูลินถูกทําลาย ระดับน้ําตาล ในเลือดสูงกวาปกติทําใหเปนโรคเบาหวาน
  • 73. • เปนฮอรโมนที่สรางจากแอลฟาเซลล (∞ - cell) ซึ่งเปนเซลลประเภทหนึ่งของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส • กลูคากอนทําหนาที่ตรงขามกับอินซูลิน คือ กระตุน การสลายตัวของไกลโคเจน • การเปลี่ยนแปลงระดับน้ําตาลจะเปนสัญญาณยับยั้งและ กระตุนการหลั่งอินซูลินและกลูคากอน
  • 74.
  • 75. โรคเบาหวาน (diabetes mellitus) diabetes เปนภาษากรีก มีความหมายวา “ผานโดยตลอด” สวน คําวา mellitus มีความหมายวา “หวานเหมือนน้ําผึ้ง” • เกิดจากความผิดปกติในการสรางฮอรโมน ของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส • พบน้ําตาลในปสสาวะ • น้ําตาลในเลือดสูงรางกายกําจัดออกทางปสสาวะ • โรคเบาหวานมี 2 แบบ แบบที่ 1 เกิดจากตับออนไมสามารถสรางอินซูลินได แบบที่ 2 เกิดจากตับออนสรางอินซูลินไดปกติ แตตวรับอินซูลินผิดปกติอินซูลินทํางานไมได ั
  • 76. อาการที่สําคัญ - ปสสาวะบอยและมาก เนื่องจากมีน้ําตาลในเลือดมาก ทอหนวยไตไมสามารถดูดกลับคืนสู รางกายไดหมด - กระหายน้ํามากและบอยผิดปกติ - เมื่อเปนแผลจะหายอยาก มีอาการคันบริเวณอวัยวะสืบพันธุและผิวหนัง - น้ําหนักตัวลด ออนเพลีย เซื่องซึม เมื่อยลา - เลือดและปสสาวะมีฤทธิ์เปนกรดมากกวาปกติ เนื่องจากมีสารคีโตน ( ketone body ) จากการสลายไขมันและถาเปนโรคเบาหวานนาน ๆ อาจจะทําให ตาบอด และไตจะคอย ๆ หมดสภาพในการทํางาน 76
  • 77. 6. ฮอรโมนจากตอมหมวกไต (adrenal gland) ตั้งอยูเหนือไตทั้ง 2 ขาง แบงออกเปน 2 บริเวณคือบริเวณสวนนอกเรียกวา adrenal cortex และ สวนในเรียกวา adrenal medulla 77
  • 78. ฮอรโมนจากตอมหมวกไต ตอมหมวกไต (adrenal gland) ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 2 ชนิดคือ 1. อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex) เปนเนื้อเยื่อชั้นนอก 2. อะดรีนัลเมดุลลา (adrenal medulla) เปนเนื้อเยื่อชั้นใน อะดรีนัลคอรเทกซ ผลิตฮอรโมนไดมาก สามารถแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ 78
  • 79. อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex) 1. ฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด (Glucocorticoid hormone)  ทําหนาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคารโบไฮเดรต  ฮอรโมนที่สําคัญคือ ฮอรโมนคอรติซอล (cortisol) มีหนาที่  เพิ่มปริมาณกลูโคสในเลือดใหสูงขึ้น โดยการกระตุนเซลลตับใหเปลี่ยน กรดอะมิโนและกรดไขมันเปนคารโบไฮเดรตและเก็บสะสมในรูปของไกลโคเจน จากนั้นจึงกระตุนตับใหเปลี่ยนไกลโคเจนเปนกลูโคสสงเขากระแสเลือด   ถามีฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด มากเกินไป จะทําใหเปนโรคคูชชิง (Cushing’ s syndome) 79
  • 80. โรคคูชชิง (CUSHING’ S SYNDOME)  กลามเนื้อออนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา  อวนมีไขมันสะสมแกนกลางลําตัว ใบหนากลมคลายดวงจันทร หนาทองแตก ลาย บริเวณตนคอมีหนอกยื่นออกมา
  • 81. 2. ฮอรโมนมิเนราโลคอทิคอยด (mineralocorticoid) ทําหนาที่ ควบคุมสมดุลของน้ําและเกลือแรในรางกาย เชน แอลโดสเตอโรน (aldosterone) ทําหนาที่ • ควบคุมการดูดกลับของโซเดียมไอออน (Na+) และน้ําที่ทอหนวยไต เขาสูหลอดเลือด • ขับโพแทสเซียมออกจากทอหนวยไตใหสมดุลกับความตองการของรางกาย • ควบคุมสมดุลความเขมขนของฟอสเฟตในรางกายอีกดวย • การขาดแอลโดสสเตอรโรนจะมีผลใหรางกายสูญเสียน้ําและโซเดียมไปพรอมกับ น้ําปสสาวะและสงผลใหปริมาณเลือดลดลงจนอาจทําใหผูปวยตายเพราะความดัน เลือดต่ําได 81
  • 82. 3. ฮอรโมนเพศ (ADRENAL SEX HORMONE ) ในภาวะปกติฮอรโมนที่สรางจากอะดรีนัลคอรเทกซมีเพียงเล็กนอยเมื่อ เทียบกับฮอรโมนเพศจากอวัยวะเพศ สวนใหญจะเปนฮอรโมนเพศชายมี ฮอรโมนเพศหญิงนอยมาก ฮอรโมนเพศที่สราง เชน แอนโดรเจน (ฮอรโมนเพศ ชาย) และแอสโทรเจน (ฮอรโมนเพศหญิง)
  • 83.  ถาตอมหมวกไตดานนอก ถูกทําลายจะไมสามารถสรางฮอรโมน ทําใหเปน โรคแอดดิสัน ( Addison’s disease ) อาการ ผูที่เปนโรคนี้รางกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ รางกายไม สามารถรักษาสมดุลของแรธาตุได ซึ่งจะทําใหผูปวยเสียชีวิตได
  • 84. อะดรีนัลเมดุลลา (ADRENAL MEDULLA) อะดรีนัลเมดุลลา ผลิตฮอรโมนดังนี้ 1. อะดรีนาลิน (adrenalin) ทําใหน้ําตาลในเลือดเพิ่มขึ้น และ กระตุนการเตนของหัวใจ ทําใหเมแทบอลิซึมเพิ่มขึ้นมาก ซึ่งเปนฮอรโมนที่หลั่งออกมาเมื่อ รางกายอยูในสภาวะฉุกเฉิน ดังนั้นจึง เรียกอีกชื่อ หนึ่งวา fligth or fight hormone 2. นอรอะดรีนาลิน (noradrenalin) ทําหนาที่หลั่งจากเสนประสาทซิมพาเทติก ทําใหความดันเลือดสูงทํา ใหหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะตางๆ บีบตัว 84
  • 85. 7. ฮอรโมนจากอวัยวะเพศ เพศชาย - แหลงที่ทําหนาทีสรางฮอรโมนในอัณฑะ (testis) คืออินเตอรสติเชียลเซลล (Interstitial cell) ่ - อยูระหวางหลอดสรางอสุจิในเพศชาย - เมื่อเริ่มวัยหนุมอินเตอรสติเชียลเซลลจะถูกกระตุนจากฮอรโมน LH หรือ ICSH จากตอมใต สมองสวนหนาใหสรางฮอรโมนเพศชายทีเรียกวา แอนโดเจน (Androgen) ประกอบดวย ่ ฮอรโมนหลายชนิดที่สําคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone) - เทสโทสเทอโรนมีหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุเพศชาย - และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย (Male secondary characteristic) - คือ เสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดเครา มีขนขึ้นบริเวณหนาแขง รักแร และ อวัยวะสืบพันธุ กระดูกหัวไหลกวางและกลามเนื้อตามแขนขาเติบโตแข็งแรงมากกวาเพศหญิง - 85
  • 86. 1. ฮอรโมนจากอวัยวะสืบพันธุในเพศชาย - แหลงที่ทําหนาที่สรางฮอรโมนในอัณฑะ (testis) คืออินเตอรสติเชียล เซลล (Interstitial cell) - อยูระหวางหลอดสรางอสุจิในเพศชาย - เมื่อเริ่มวัยหนุมอินเตอรสติเชียลเซลลจะถูกกระตุนจากฮอรโมน LH หรือ ICSH จากตอมใตสมองสวนหนาใหสรางฮอรโมนเพศชายที่เรียกวา แอนโดเจน (Androgen) ประกอบดวยฮอรโมนหลายชนิดที่สําคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone) - เทสโทสเทอโรนมีหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุเพศชาย และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย (Male secondary characteristic) ลักษณะดังกลาวที่สําคัญ คือ เสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือก แหลม มีหนวดเครา มีขนขึ้นบริเวณหนาแขง รักแร และอวัยวะสืบพันธุ กระดูกหัวไหล กวางและกลามเนื้อตามแขนขาเติบโตแข็งแรงมากกวาเพศหญิง
  • 87.
  • 88.
  • 89.
  • 90. o ผลิตเซลลไข o สรางฮอรโมนเพศ o มีแหลงสรางฮอรโมน 2 แหง คือ ฟอลลเคล และ คอรปลลเทียม ิ ิ ู
  • 91. 91
  • 92.
  • 93.  ในระยะกอนการตกไข เซลลฟอลลิเคิลที่ลอมรอบไข จะสรางฮอรโมนอีสโทรเจน  อีสโทรเจน ทําใหเกิดลักษณะของหญิง  ควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่รังไขและเยื่อบุมดลูก  อีสโทรเจนกระตุนใหหลั่ง LH มาทําใหโอโอไซตระยะที่ 2 หลุดออกจากฟอลลิเคิล เรียกวาการตกไข  หลังการตกไขฟอลลิเคิลมีการเปลี่ยนแปลงเปนคอรปสลูเทียม
  • 94.  สรางฮอรโมนโพรเจสเทอโรน ทํางานรวมกับอีสโทรเจน  กระตุนการเจริญของเยื่อบุชั้นในของผนังมดลูก  กระตุนตอมน้ํานมใหเติบโต แตไมกระตุนการสรางน้ํานม  เซลลไขไมไดรับการผสมจากอสุจิ คอรปสลูเทียมจะเปลี่ยนแปลง และหยุดสรางโพรเจสเทอโรน ทําใหเยื่อบุผนังมดลูกสลายตัว ถูกขับออกมาเปนประจําเดือน
  • 96. 96
  • 97. สรุปจากแผนภาพ •จุดที่ระดับฮอรโมน FSHคอยๆเพิ่มขึ้นฟอลลิเคิลจะถูกกระตุนใหเจริญจนถึงจุดที่ ระดับ FSH สูงสุดฟอลลิเคิล จะเจริญเต็มที่พรอมที่จะใหเกิดการตกไข •ขณะที่ฟอลลิเคิลเจริญฟอลลิเคิลจะสรางฮอรโมน อีสโทรเจนเพิ่มขึ้นเมื่อฟอลลิเคิล เจริญเต็มที่ระดับอีสโทรเจนจะสูงสุด •เมื่อฟอลลิเคิลเจริญเต็มที่ฮอรโมน LH จะมีระดับสูงสุดเพื่อกระตุนใหฟอลลิเคิล ปลอยไขออกมาและหลังจากตกไขแลว ระดับฮอรโมน LHจะลดต่ําสุด
  • 98. สรุปจากแผนภาพ •เนื้อเยื่อของฟอลลิเคิลหลังจากปลอยไขออกไปแลวจะยุบรวมตัวเปนคอรปสลูเทียม ที่มีสีเหลืองแลวทําหนาที่สรางฮอรโมน โพรเจสเทอโรน เพื่อกระตุนให เยื่อบุชั้นในของผนังมดลูกเจริญหนาขึ้นเพื่อรอรับการฝงตัวของ เอ็มบริโอ •ถาไมมีการฝงตัวของเอ็มบริโอคอรปสลูเทียม จะสลายไป ระดับฮอรโมนอีสโทร เจน และ โพรเจสเทอโรน จะลดลงต่ําสุด เมื่อไมมีการสรางโพรเจสเทอโรน จากคอรปสลูเทียมเยื่อบุชั้นในของผนังมดลูก จะ เริ่มสลายตัวหลุดลอกออกมาเปน ประจําเดือน
  • 99. 8. ฮอรโมนจากรก (PLACENTA)  เซลลของรกจะหลั่งฮอรโมนฮิวแมน คอริโอนิก โกนาโดโทรฟน (HCG) หลังจากเอ็มบริโอฝงตัว ที่ผนังมดลูก  HCG กระตุนคอรปสลูเทียมในรังไขใหเจริญตอไป  และสรางฮอรโมนโพรเจสเทอโรนเพิ่มขึ้น
  • 100. 9. ตอมไทมัส (THYMUS GLAND) • มีลักษณะเปนพู มีตําแหนงอยูระหวางกระดูกอก กับหลอดเลือดใหญของหัวใจ • มีหนาที่สรางเซลลเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซตชนิด ที หรือเซลล ที • การแบงเซลลและพัฒนาการของลิมโฟไซตชนิด ที อาศัยฮอรโมนไทโมซิน (thymosin) ที่สรางจากเซลล บางสวนของตอมไทมัส • ไทโมซิน เปนฮอรโมนที่เกี่ยวของกับการสรางภูมคุมกันของรางกาย ิ
  • 101.
  • 102. 10. กระเพาะอาหารและลําไสเล็ก แกสตริน (Gastrin) • สรางจากกระเพาะอาหาร • กระตุนการหลั่งเอนไซมและกรดไฮโดรคลอริก ซีครีทิน (Secretin) • สรางจากดูโอดีนัมของลําไสเล็ก • กระตุนตับออนใหหลั่งเอนไซมและ โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต • กระตุนการบีบตัวของทอน้ําดี
  • 103.  รางกายตองมีระบบควบคุมการหลั่งฮอรโมนของตอมไรทอ เพื่อปองกันการหลั่งฮอรโมนโดยไมจํากัด  ระบบควบคุมอาจเปนปริมาณของฮอรโมนเอง หรือระดับ สารเคมีอื่นๆ ในเลือด  ระบบควบคุมแบบยอนกลับมี 2 ลักษณะ คือ 1. การควบคุมแบบยับยั้งยอนกลับ (negative feedback) 2. การควบคุมแบบกระตุนยอนกลับ (positive feedback) 
  • 104.
  • 105.
  • 106. 106
  • 107. 107
  • 109. ฟโรโมนมี 3 ทางคือ 1. ทางกลิ่น (Olfaction) : พบในแมลงหลายชนิด สวนมากก็เพื่อการดึงดูดเพศตรงขามใหมาหา หรือไมก็เปนการบอก.... ใหรูวาอยูที่ไหน หรือเปนสัญญาณอันตรายเตือนใหรู เชน ฟโรโมนของตัว ชะมดมีกลิ่นแรงมากเราสกัดเอามาทําเปนหัวน้ําหอม 2. การกิน (Ingestion) : เชน ผึ้งนางพญาจะสรางสารจากตอมบริเวณระยางคปาก เรียกวา Queen substance สําหรับ.... เอาไวลอผึ้งงาน เมื่อผึ้งงานกินเขาไปจะไปยับยังรังไขของผึ้งงานไมใหมีการ ้ เจริญเติบโตและสรางรังไขจึงไมมีโอกาส.... สืบพันธุเหมือนนางพญา 3. การดูดซึม (Absorption) : พบเฉพาะในสัตวไมมีกระดูกสันหลังเทานั้น เชน แมงมุมบางชนิดและ แมลงสาบ ....ตัวเมียจะปลอยฟโรโมนทิ้งเอาไวจนกระทั่งตัวผูมาสัมผัส ก็จะซึมเขาไปกระตุนใหเกิด ความตองการทางเพศ... ติดตามหาตัวเมียจนพบและทําการผสมพันธุ แตในตั๊กแตนตัวผูจะปลอย ฟโรโมนทิ้งเอาไวหลังจากผสมพันธุ ....เมื่อตัวออนมาสัมผัสฟโรโมนนั้นก็จะดูดซึมเขาไปกระตุนให เติบโตเปนตัวเต็มวัยและสืบพันธุได 109
  • 110.
  • 111.
  • 112. สามารถจําแนกฟโรโมนตามพฤติกรรมไดดังนี้ 1. สารดึงดูดเพศตรงขาม (sex pheromone) พบในผีเสื้อไหมตัวเมีย ปลอย ออกมาดึงดูดผีเสื้อไหมตัวผู 2. สารเตือนภัย (alarm pheromone) เชนมดตาย จะมีฟโรโมนออกมาจากซาก มดตัวนั้น ทําใหมีการขนซากมดตัวนั้นไปทิ้งนอกรัง 3. สารนําทาง (trail pheromone) ไดแก กรดบางชนิดที่มดงานปลอยออกมา ตามทางเดิน ทําใหมดตัวอื่นสามารถเดินไปยังอาหารไดถูกตอง 4 สารจากนางพญา (queen substance) เชนสารที่นางพญาใหผึ้งงานกิน ทําใหผึ้งงานเปนหมัน 5. สารทําใหรวมกลุม (aggregation pheromone) เชน นางพญาปลวกปลอย ออกมาทําใหปลวกงานมารวมกลุมกัน 6. สารแสดงอาณาเขต (territory pheromone) เชน สุนัขปสสาวะรดสิ่งตาง ๆ ที่มันเดินผาน 112
  • 113. 113