SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 42
Descargar para leer sin conexión
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
            ระหว         ี

 การศึกษาความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
 อาจแบงเปน 2 ระดับ คือ
      1) Autecolgy : ระหวางสิ่งมีชีวิตชนิดเดียว
      (individual organism / individual
      species) เชน ตนไมชนิดหนึ่ง
      2) Synecology : สังคมของกลุมสิ่งมีชีวิต
      เชน ปาไม
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                             ี

    ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบง
    ไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ
1. การไดรับประโยชนรวมกัน (mutualism)
    เปนการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ได
                
    ประโยชนดวยกันทั้งสองชนิด
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                          ี

   • แมลงกับดอกไม แมลงดูดน้ําหวานจาก
       ดอกไมเปนอาหาร และดอกไมก็มีแมลง
       ชวยผสมเกสร
   • นกเอี้ยงกับควาย นกเอี้ยงไดกินแมลงตางๆ
       จากหลังควาย และควายก็ไดนกเอี้ยงชวย
       กําจัดแมลงที่มา กอความรําคาญ
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                          ี

 • มดดํากับเพลี้ย เพลี้ยไดรับประโยชนในการที่
   มดดําพาไปดูดน้ําเลี้ยงที่ตนไม และมดดําก็จะ
   ไดรับน้ําหวาน
 • ปูเสฉวนกับดอกไมทะเล ปูเสฉวนอาศัย
   ดอกไมทะเลพรางตัวจากศัตรู และยังอาศัยเข็ม
   พิษจากดอกไมทะเลปองกันศัตรู สวนดอกไม
   ทะเลก็ไดรับอาหารจากปูเสฉวนที่กําลังกิน
   อาหารดวย
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                              ี

• โปรโตซัวในลําไสปลวก ปลวกไมมีน้ํายอย
สําหรับยอยเซลลูโลสในเนื้อไม โปรโตซัว ชวยใน
การยอย จนทําใหปลวกสามารถกินไมได และ
โปรโตรซัวก็ไดรับสารอาหารจากการยอยสลาย
เซลลูโลส
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                              ี
   ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบง
   ไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ
2. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล (commensalism)
   เปนการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต โดยที่ฝายหนึ่งได
              
   ประโยชน สวนอีกฝายหนึ่งไมไดประโยชนแตก็ไม
   เสียประโยชน
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                                ี

• ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามอาศัย
  อยูใกลตัวปลาฉลามและกินเศษอาหาร
  จากปลาฉลาม ซึ่งปลาฉลามจะไมได
  ประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน
• พลูดางกับตนไมใหญ พลูดางอาศัยรมเงา
  และความชืนจากตนไม โดยตนไมไมได
              ้
  ประโยชนแตขณะเดียวกันก็ไมเสียประโยชน
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                                  ี

             • กลวยไมกับตนไมใหญ กลวยไมยึดเกาะที่
               ลําตนหรือกิ่งของตนไม ซึ่งไดรับความชื้น
               และแรธาตุจากตนไม โดยที่ตนไมไมไดรับ
               ประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน

• เพรียงที่อาศัยเกาะบนผิวหนังของวาฬ
  เพื่อหาอาหาร วาฬไมไดประโยชน
  แตก็ไมเสียประโยชน
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                                ี

   ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงได
   เปน 3 ประเภทใหญ คือ
3. ฝายหนึ่งไดประโยชนและอีกฝายหนึ่งเสียประโยชน
   ซึ่งแบงเปน 2 แบบ คือ
        1) การลาเหยื่อ (predation) เปนความสัมพันธ โดย
   มีฝายหนึ่งเปนผูลา (predator) และอีกฝายหนึ่งเปน
   เหยื่อ (prey) หรือเปนอาหารของอีกฝาย เชน งูกับกบ
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                                ี

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตใน      สัตวพหุบาท
ระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภท
ใหญ คือ
2) ภาวะปรสิต (parasitism) เปน
ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต ที่มฝาย
                                ี
หนึ่งเปนผูเบียดเบียน เรียกวา
ปรสิต (parasite) และอีกฝายหนึ่ง
เปนเจาของบาน (host)
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวิต
                          ี

        • ตนกาฝากเชน ฝอยทองที่ขึ้นอยูบน
              ตนไมใหญจะดูดน้ําและอาหารจาก
              ตนไมใหญ
        • หมัด เห็บ ไร พยาธิตางๆ ที่อาศัยอยู
              กับรางกายคนและสัตว
        • เชื้อโรคตางๆ ที่ทําใหเกิดโรคกับคน
              และสัตว
ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ
• 1. อุณหภูมิ บริเวณที่อากาศรอนแถบทะเลทราย จะมี
  อูฐที่เปนสัตวมีความทนตออากาศรอนแหงแลง และ
  มีพืชพวกกระบองเพชรทีสามารถดํารงชีวิตอยูได
                              ่
• 2. ความชืน ในระบบนิเวศใดที่มีความชืนมาก มักจะ
             ้                            ้
  มีพืชและสัตวอาศัยอยูอยางหนาแนน
• 3. แสง พืชที่ขึ้นอยูใตเงาไมในปายอมแตกตางกันกับ
  พืชที่ขึ้นในที่โลงแจง
ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ
• 4. ดิน เปนที่รวมของธาตุอาหารตางๆ ดินที่มีความ
  อุดมสมบูรณหรือมีธาตุอาหารที่แตกตางกันยอมทํา
  ใหพืชและสัตวที่อาศัยดินนั้น ดํารงชีวิตอยูแตกตาง
  กัน
• 5. ไฟปา การเกิดไฟปาแตละครั้ง ทําใหชีวิตของพืช
  และสัตวเปลี่ยนไป
• 6. มลภาวะ เปนปจจัยที่เขามามีบทบาทในการ
  เปลี่ยนแปลงหรือกําหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตใน
  ระบบนิเวศ
ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ
• 7. การแยงชิงกัน ทําใหสิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถแสวงหา
  ทรัพยากรไดตองลมตายไป
• 8. การกินซึ่งกันและกัน เชน ในทุงที่ปลูกขาวโพด จะมี
  ตั๊กแตนมากินและทําลายขาวโพดเสียหาย เพราะไมมี
  สัตวอื่นมาจับตั๊กแตนกินเปนอาหาร
• 9. ปรสิต ถือเปนพวกที่กินซึ่งกันและกันก็ได แตมีขอ
  แตกตางที่วาพวกปรสิตจะดูดกินพืชและสัตวอื่นๆ
  เปนอาหารโดยที่พืชและสัตวนั้นจะไมตายโดยทันที
ประเภทของระบบนิเวศ

1. ระบบนิเวศทางธรรมชาติและ
   ใกลธรรมชาติ (Natural and
   seminatural ecosystem)
   เปนระบบที่ตองพึ่งพลังงาน
   จากดวงอาทิตย เพื่อที่จะ
   ทํางานได
ประเภทของระบบนิเวศ
1.1 ระบบนิเวศบนบก (Terresttrial ecosystems)
     1) ระบบนิเวศกึ่งบก เชน ปาพรุ
     2) ระบบนิเวศบนบกแท เชน ปาดิบ ทุงหญา
     ทะเลทราย
1.2 ระบบนิเวศแหลงน้ํา (Aguative cosystems)
     1) ระบบนิเวศน้ําจืด
     2) ระบบนิเวศน้ําทะเล เชน
        มหาสมุทรแนวปะการัง
       ทะเลภายในที่เปนน้ําเค็ม น้ํากรอย
ประเภทของระบบนิเวศ

2. ระบบนิเวศเมือง-อุตสาหกรรม
   (Urban-industral ecosystem)
    เปนระบบที่ตองพึ่งแหลง
    พลังงานเพิ่มเติม เชน น้ํามัน
    เชื้อเพลิง พลังนิวเคลียร
    เปนระบบนิเวศที่มนุษยสราง
    ขึ้นมาใหม
ประเภทของระบบนิเวศ
3. ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural ecosystems)
   เปนระบบที่มนุษยปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบ
   นิเวศทางธรรมชาติขึ้นมาใหม
การจําแนกระบบนิเวศ
       (Ecosystem Classification)

   ในทางนิเวศวิทยา แบงระบบนิเวศในโลกนี้
   ออกเปน 2 ระบบใหญๆ คือ
1. ระบบนิเวศบนบก (Terrestrial Ecosystem)
             ระบบนิเวศที่ชุมชื้น
             ระบบนิเวศที่ชุมชื้นนอย และ
              คอนขางไปทางแหงแลง
             ระบบนิเวศที่แหงแลงมาก
การจําแนกระบบนิเวศ
           (Ecosystem Classification)
2. ระบบนิเวศในน้ํา (Aquatic Ecosystem)
      - ระบบนิเวศน้ําจืด
            ระบบน้ํานิ่ง และ
            ระบบน้ําไหล
      - ระบบนิเวศน้ําทะเล
            ระบบน้ํากรอย และ
            ระบบน้ําเค็ม
ปาชายเลน
ปาพรุ
ปาชายหาด
ปาดงดิบชื้น
ปาดงดิบแลง
ปาดิบเขา
ปาสนเขา
ปาเบญจพรรณ
ปาเต็งรัง
ปาทุง
ทุงหญาเขตรอน
ระบบนิเวศในแหลงน้ําจืด (น้ํานิ่ง)
ระบบนิเวศในแหลงน้ําจืด (น้ําไหล)
ปจจัยที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ําจืด
อุณหภูมิ
ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา
ปริมาณแรธาตุ
ความขุน-ใสของน้ํา
กระแสน้ํา
ระบบนิเวศในแหลงน้ําทะเล (น้ําเค็ม)
ระบบนิเวศในแหลงน้ําทะเล (น้ํากรอย)
ปจจัยที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ําทะเล

อุณหภูมิ
ความลึก
ความเค็ม
กระแสน้ํา
คลื่น และการขึ้น-ลงของน้ํา
นิเวศพัฒนา (Eco-development)

หมายถึง การพัฒนาใดๆ ที่เปน
การกระทําของมนุษย เพื่อการ
ดํารงอยูในสังคม โดยไมทําใหเกิด
การกระทบกระเทือนตอคุณภาพ
สิ่งแวดลอม และการเปลี่ยนแปลง
สมดุลของระบบนิเวศ
นิเวศพัฒนา (Eco-development)
แนวคิดของนิเวศพัฒนา
 ใหมีการทําลาย-สูญเสีย
ทรัพยากรธรรมชาตินอยที่สุด
 มีการควบคุมผลกระทบสิงแวดลอมจาก
                        ่
ของเสียหรือมลพิษที่เกิดจากการดําเนิน
กิจกรรม
 พิจารณาขีดความทนทานของระบบนิเวศ
 การใชทรัพยากรธรรมชาติตองใหมีการ
สูญเปลานอยที่สุด
นิเวศพัฒนา (Eco-development)

แนวคิดของนิเวศพัฒนา
 ตองมีการฟนฟู ติดตาม ตรวจสอบ
และเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม
 ไมควรปรับเปลี่ยนโครงสรางและการ
ทํางานของระบบนิเวศไปจากเดิมโดย
สิ้นเชิง
 มีการแบงเขตการใช
ทรัพยากรธรรมชาติที่ชัดเจน
ระบบนิเวศ

การศึกษาเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและ
ระบบนิเวศ จะทําใหมนุษยสามารถนํา
ความรูมาเปนเครื่องมือในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม
ปญหามลพิษ และบทบาทที่มตอ   ี
สิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันของ
สรรพสิ่งในระบบนิเวศ ใหเปนไปใน
ลักษณะของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน
และกันในแนวทางการพัฒนาอยาง
ยั่งยืน
Thank You for Your Attention

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
LPRU
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Poonyawee Pimman
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
gasine092
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
พัน พัน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
Saran Srimee
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
maleela
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
พัน พัน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Kru NoOk
 

La actualidad más candente (17)

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

Similar a Ecosystem ii

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jira Boonjira
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
Khaojaoba Apple
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
varut
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
Bios Logos
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
Kasetsart University
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 

Similar a Ecosystem ii (20)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ทสิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
 
Biology lernning 1
Biology lernning 1Biology lernning 1
Biology lernning 1
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 

Más de Oui Nuchanart

การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
Oui Nuchanart
 

Más de Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 

Ecosystem ii