SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
Descargar para leer sin conexión
1
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
กับการสังเคราะห์แสง
นางนุชนารถ เมืองกรุง
ตาแหน่ง ครู
โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
2
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา (รหัส ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการ
เรียนการสอน รายวิชา ชีววิทยา ว30243 เรื่อง การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนมี
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงจากการทดลองของ
นักวิทยาศาสตร์ในอดีตและการให้คาจากัดความของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ฉบับนี้ประกอบด้วย คาชี้แจง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
กิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน มีเนื้อหา
ความรู้ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และเพิ่มเติมความรู้เพื่อการศึกษาต่อในระดับสูง นาไปใช้
เป็นสื่อ ในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนให้กับผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า ให้เกิด
การเรียนรู้ และสามารถประเมินดูผลความก้าวหน้า พัฒนาตนเองได้
ในการจัดทาเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ฉบับนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิดประโยชน์
สูงสุดทาให้ผู้ศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายและเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตร ที่จะช่วยให้การ
จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
นุชนารถ เมืองกรุง
คานา
ก
3
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
รายวิชาชีววิทยา (รหัส ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้เวลา 2 ชั่วโมง สร้างขึ้น
เพื่อให้ ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยผู้เรียนจะได้รับความรู้ตามตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้
ประกอบด้วย
1.1 ชื่อของแบบฝึก
1.2 คาอธิบายเนื้อหาของเรื่องที่เรียนในเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
1.3 กิจกรรมการเรียนรู้
1.4 แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
1.5 เฉลยคาตอบแบบทดสอบและกิจกรรมการเรียนรู้
2. การทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้
2.1 นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยคละคนเก่ง อ่อน ปานกลาง โดยแบ่ง
หน้าที่ความรับผิดชอบ ประธาน รองประธาน และเลขานุการ ตามความเหมาะสม
2.2 อ่านคาชี้แจงของเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจ
2.3 ทดสอบก่อนเรียน
2.4 ให้นักเรียนศึกษาและปฏิบัติตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ตั้งแต่
หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย อ่านให้เข้าใจหากไม่เข้าใจให้อ่านซ้า
2.5 ทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยไม่ดูเฉลย
2.6 ทดสอบหลังเรียน
2.7 เมื่อมีข้อสงสัยให้ถามครู
2.8 นักเรียนสามารถทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ซ้า
หากไม่เข้าใจ
2.9 ขอให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ในการทากิจกรรมเพื่อให้พัฒนาตนเอง
คาแนะนาสาหรับผู้เรียน
ข
4
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
↓
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
↓
ศึกษาเนื้อหา
↓
อภิปรายเนื้อหา
↓
สรุปเนื้อหา
↓
ทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
↓
ทาแบบทดสอบหลังเรียน
↓
สรุปผลการทากิจกรรม
ขั้นตอนในการใช้เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
ค
5
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ด้านความรู้ (K)
1. สรุปหาคาตอบจากข้อมูลที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้
2. ให้คาจากัดความของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ทักษะการปฏิบัติกิจกรรม ได้แก่ การวางแผนเพื่อการสืบค้นข้อมูลที่เป็นคาตอบของปัญหาได้
อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง
2. มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การวางแผนกาหนดขั้นตอนการทางาน การวิเคราะห์
ข้อมูล การสรุปความรู้และการนาเสนอ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทางาน
2. นักเรียนมีความซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา
3. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการใฝ่รู้ใฝ่เรียน
พร้อมแล้วไปศึกษา
เอกสารประกอบกิจกรรมการ
เรียนรู้ด้วยกันดีกว่านะ......
จุดประสงค์การเรียนรู้
ง
6
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
เรื่อง หน้า
คานา ก
คาแนะนาสาหรับผู้เรียน ข
ขั้นตอนในการใช้เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ค
จุดประสงค์การเรียนรู้ ง
สารบัญ จ
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
การศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 2
กิจกรรมที่ 1 15
กิจกรรมที่ 2 16
กิจกรรมที่ 3 17
แบบทดสอบหลังเรียน 18
เฉลยกิจกรรมที่ 1 19
เฉลยกิจกรรมที่ 2 20
เฉลยกิจกรรมที่ 3 21
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 22
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 23
บรรณานุกรม 24
สารบัญ
จ
7
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ให้นักเรียน x หน้าข้อความที่ถูกต้อง
1. นักวิทยาศาสตร์ที่กล่าวว่าน้าหนักของพืชมา
จากน้าเท่านั้นคือการค้นพบของ
ก. แวน เฮลมองท์ ข. โจเซฟ พริสต์ลีย์
ค. อินเก็น ฮูซ ง. แวน นีล
2. อากาศเสียสามารถเปลี่ยนเป็นอากาศดีได้
ต้องมีอะไรเป็นส่วนประกอบตามการทดลอง
ของโจเซฟ พริสต์ลีย์
ก. ออกซิเจน ข. พืชสีเขียว
ค. น้า ง. แสง
3. อินเก็น ฮูซ ค้นพบเกี่ยวกับข้อใด
ก. อากาศที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือ O2
ข. พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้กลายเป็น
อากาศดีได้ต้องมีแสง
ค. แก๊สที่เกิดจากการลุกไหมคือ CO2
ง. น้าหนักที่เพิ่มขึ้นของพืชมากจาก CO2
4. สารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นคือสารใด
ก. โปรตีน ข. คาร์โบไฮเดรต
ค. ไขมัน ง. กรดนิวคลีอีก
5. บุคคลที่พบสารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้
คือ น้าตาล
ก. แองเกลมัน ข. จูเลียส ซาซ
ค. ฌอง ซีนีบีเยร์ ง. โรบิน ฮิลล์
6. บุคคลใดที่ค้นพบการแตกตัวของน้าต้องมี
ตัวรับอิเล็คตรอนออกซิเจนจึงจะหลุดเป็นอิสระ
ก. แวน นีล ข. จูเลียส ซาซ
ค. อินเก็น ฮูซ ง. โรบิน ฮิลล์
7. บุคคลใดที่ค้นพบสาหร่ายสไปโรไจราใช้แสง
สีแดงและสีน้าเงินในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงมากที่สุด
ก. แองเกลมัน
ข. แดเนียล อาร์นอน
ค. ฌอง ซีนีบีเยร์
ง. รูเบน และคาเมน
8. ออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงมาจากไหน
ก. H2O ข. CO2
ค. OH-
ง. NOOH+
9. การสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย 2
ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และการ
ปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
เป็นการค้นพบของ
ก. จูเลียส ซาซ ข. ฌอง ซีนีบีเยร์
ค. แดเนียล อาร์นอน ง. แวน เฮลมองท์
10. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่ใช้ในการสังเคราะห์
น้าตาล
ก. Light ข. CO2
ค. H2O ง. O2
คาชี้แจง
แบบทดสอบก่อนเรียน
1
2
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (Jean Baptiste Van Helmont)
รูปที่ 1. ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์
ที่มา : www. nattinee36.exteen.com, 2557
ในปี พ.ศ. 2191 (ค.ศ. 1648)ได้มีการพิมพ์ผลงานของฌองแบบติสท์ แวนเฮลมองท์ (Jean Baptiste
Van Helmont) นักวิทยาศาสตร์ชาวเบลเยียมที่ทาการทดลองทางชีววิทยา โดยการปลูกต้นหลิวหนัก 5
ปอนด์ในถังใบใหญ่ที่บรรจุดินซึ่งทาให้แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์แล้วปิดฝาถัง ระหว่างทาการทดลองได้รดน้า
ต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุกวันด้วยน้าฝนเป็นระยะเวลา 5 ปี ต้นหลิวเจริญเติบโตขึ้นมาก เมื่อนาต้นหลิวที่ไม่มีดินติด
อยู่ที่รากไปชั่งน้าหนัก ปรากฏว่าต้นหลิวหนัก 169 ปอนด์ 3 ออนซ์ (ตัวเลขนี้ไม่ได้รวมน้าหนักใบซึ่งร่วงไปแต่
ละปี) และเมื่อนาดินในถังไปทาให้แห้งแล้วนาไปชั่ง ปรากฏว่ามีน้าหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทาการทดลอง
เพียง 2 ออนซ์เท่านั้น ให้นักเรียนศึกษาการทดลองจากรูปที่ 1
รูปที่ 2. การทดลองของ ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์
ที่มา : www. sakolraj.ac.th (อ้างอิงมาจาก Moore, R., 1995)
การศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
2
3
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
รูปที่ 3. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นหลิวเมื่อรดด้วยน้าเป็นเวลา 5 ปี
ที่มา : http://www.myfirstbrain.com, 2557
แวน เฮลมองท์ได้สรุปผลการทดลองว่าน้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้าเพียงอย่างเดียวโดยที่
เขาไม่ได้นึกถึงแก๊สในอากาศและดิน ความจริงแล้วน้าหนักของดินที่หายไปนั้นก็เป็นส่วนที่พืชนาไปใช้ในการ
ดารงชีวิตและจาเป็นต่อการเจริญเติบโตซึ่งมีส่วนทาให้น้าหนักเพิ่มขึ้นด้วย จากการศึกษา ทาให้เราทราบว่า
น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นจากเดิมคือ 5 ปอนด์มาเป็น 169 ปอนด์ 3 ออนซ์นั้นมาจาก
น้า(ที่รดหรือจากดิน) CO2 จากอากาศรวมทั้งแร่ธาตุต่างๆในดิน
คาถามชวนคิด
1. แวน เฮลมองท์ ค้นพบอะไร...........................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. แวน เฮลมองท์ สรุปว่าน้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้าเท่านั้น นักเรียนเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้
หรือไม่ เพราะเหตุใด...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
4
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley)
รูปที่ 4. โจเซฟ พริสต์ลีย์
ที่มา : www. horhook.com, 2557
ในปี พ.ศ. 2315 (ค.ศ. 1772) โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ได้พิมพ์ผลงานที่ทาการทดลอง โดยจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้วปรากฏว่าสักครู่เทียนไขก็ดับและเมื่อใส่หนูเข้า
ไปในครอบแก้ว ครู่ต่อมาหนูก็ตาย เมื่อนาหนูที่มีชีวิตไปไว้ในครอบแก้วเดิมที่เทียนไขดับปรากฏว่าหนูตาย
เกือบทันทีและเมื่อจุดเทียนไขแล้วนาไปใส่ในครอบแก้วเดิมที่หนูตายอยู่แล้ว ปรากฏว่าเทียนไขดับเกือบทันที
อากาศที่หนูหายใจออกมาและอากาศที่ทาให้เทียนไขดับในสมัยนั้นเรียกว่า "อากาศเสีย" สิ่งที่สงสัยในยุคนั้นก็
คือคนและสัตว์อื่นๆ เป็นจานวนมากกาลังหายใจอยู่ตลอดเวลาและยังมีการเผาไหม้สิ่งต่างๆ ถ้าเป็นเช่นนั้น
ไปเรื่อยๆ ในที่สุดอากาศที่ใช้ในการหายใจหรือช่วยในการลุกไหม้ไม่ถูกทาลายให้หมดไปหรือ เขาได้ทดลองนา
หนูใส่ไว้ในครอบแก้วเดียวกันกับพืชสีเขียว ปรากฏว่าทั้งพืชและหนูสามารถมีชีวิตอยู่ได้ ให้นักเรียนศึกษาการ
ทดลองจากรูปที่ 5.
รูปที่ 5. การทดลองของโจเซฟ พริสต์ลีย์
ที่มา : www. sakolraj.ac.th (อ้างอิงมาจาก Moore, R., 1995)
2.
5
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
บังเอิญครั้งหนึ่งพริสต์ลีย์ได้นาเอาพืชสีเขียวใส่ในครอบแก้วที่เคยจุดเทียนไขเอาไว้ก่อนแล้วอีก
10 วันต่อมา เมื่อจุดเทียนไขในครอบแก้วนั้นใหม่ ปรากฏว่าเทียนไขลุกไหม้อยู่ได้ระยะหนึ่งโดยไม่ดับทันที
หลายครั้งที่พริสต์ลีย์ได้แบ่งอากาศหลังจากเทียนไขดับแล้วออกเป็น 2 ส่วนนาพืชใส่ไว้ในส่วนหนึ่งและอีกส่วน
หนึ่งใส่แต่แก้วบรรจุน้า ทิ้งไว้ระยะหนึ่งแล้วจุดเทียนไข พบว่าเทียนไขลุกไหม้ได้ระยะหนึ่ง ในอากาศส่วนแรก
แต่จะดับทันทีในอากาศส่วนที่สอง หลังจากนั้นเขาได้ศึกษาคุณสมบัติของแก๊สและอากาศ และทราบว่า
"อากาศดี" ช่วยในการเผาไหม้และการหายใจของสัตว์แต่การหายใจของสัตว์และการเผาไหม้ของเทียนไขทา
ให้เกิด "อากาศเสีย" ให้นักเรียนศึกษาการทดลองจากรูปที่ 6.
รูปที่ 6. การทดลองเพิ่มเติมของโจเซฟ พริสต์ลีย์
ที่มา : www. sakolraj.ac.th (อ้างอิงมาจาก Moore, R., 1995)
คาถามชวนคิด
1. โจเซฟ พริสต์ลีย์ ค้นพบอะไร.........................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. สมมุติฐานของโจเซฟ พริสต์ลีย์ เมื่อมีพืชเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นอย่างไร............................................................
...........................................................................................................................................................................
3. นักเรียนจะเขียนแผนภาพสรุปการทดลองของโจเชฟ พริสต์ลีย์ อย่างไร........................................................
...........................................................................................................................................................................
6
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
อินเก็น ฮูซ (Jan Ingen Housz)
รูปที่ 7. แจน อินเก็น ฮูซ
ที่มา : www. Amandaread.com, 2557
พ.ศ. 2322 (ค.ศ. 1779) แจน อินเก็น ฮูซ (Jan Ingen Housz) นายแพทย์ชาวดัทช์ ได้พิสูจน์ให้เห็น
ว่าการทดลองของพริสต์ลีย์จะได้ผลก็ต่อเมื่อพืชได้รับแสงสว่าง และเฉพาะส่วนสีเขียวของพืชเท่านั้นที่มี
ประสิทธิภาพในการเปลี่ยน "อากาศเสีย" ให้เป็น "อากาศดี" คือถ้ามีแสงสว่างพืชสีเขียวสามารถเปลี่ยนแก๊ส
CO2 เป็นสารอาหารและ O2ได้
จากความรู้ทางวิชาเคมีซึ่งพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะใกล้เคียงกับที่พริสต์ลีย์และอินเก็น ฮูซ
ทดลองนั้น พบว่าแก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้และแก๊สที่เกิดจากการหายใจออกของสัตว์เป็นแก๊สชนิดเดียวกันคือ
คาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และใช้ในการหายใจของสัตว์ คือ ออกซิเจนแสดงว่าเมื่อพืช
ได้รับแสง พืชจะนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป และปล่อยแก๊สออกซิเจนออกมา
รูปที่ 8. การทดลองของแจน อินเก็น ฮูซ
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยาเล่ม 3 สสวท.หน้า69
คาถามชวนคิด
แจน อินเก็น ฮูซ ค้นพบอะไร.........................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3.
7
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ฌอง ซีนีบีเยร์ (Jean Senebier)
รูปที่ 9. ฌอง ซีนีบีเยร์
ที่มา : www. Amandaread.com, 2557
ค้นพบว่าแก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้ และแก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์เป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือแก๊สออกซิเจน
 ในปี พ.ศ. 2329 อินเก็น ฮูซ ยังค้นพบเพิ่มเติมอีกว่าพืชเก็บธาตุคาร์บอนไว้ในรูปของสารอินทรีย์
คาถามชวนคิด
นักเรียนจะเขียนแผนภาพสรุปการทดลองของอินเก็น ฮูซ อย่างไร....................................................................
...........................................................................................................................................................................
4.
8
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Soussure)
รูปที่ 10. นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์
ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557
พ.ศ. 2347 นิโคลาสธีโอดอร์ เดอโซซูร์ (Nicolas Theodore de Soussure) ได้ทาการทดลองให้เห็น
ว่าน้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมากกว่าน้าหนักของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้รับ เขาจึงสรุปว่าน้าหนักที่เพิ่มขึ้น
บางส่วนเป็นน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ
คาถามชวนคิด
นักเรียนจะเขียนแผนภาพสรุปการทดลองของนิโคลาส ธีโอดอร์ อย่างไร..........................................................
...........................................................................................................................................................................
จูเลียส ซาซ (Julius sachs)
รูปที่ 11. จูเลียส ซาซ
ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557
 พบว่าสารอินทรีย์ที่พืชสร้าง คือ น้าตาล ซึ่งเป็นสารคาร์โบไฮเดรต
5.
6.
9
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืชที่อาศัยแสงว่า กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง (Photosynthesis)
คาถามชวนคิด
นักเรียนสรุปสมการการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ อย่างไร......................................................................................
...........................................................................................................................................................................
เองเกลมัน (T.W.Engelmann)
รูปที่ 12. การทดลองของเองเกลมัน
ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557
พ.ศ. 2438 เองเกลมัน (T.W. Engelmann) ได้ทาการทดลองโดยใช้ปริซึมเพื่อแยกแสงออกเป็น
สเปกตรัมให้แก่สาหร่ายสไปโรไจราซึ่งเจริญอยู่ในน้าที่มีแบคทีเรีย จากการทดลองพบว่าแบคทีเรียที่ต้องการ
ออกซิเจนมารวมกลุ่มกันที่บริเวณสาหร่ายได้รับแสงสีแดงและสีน้าเงิน เพราะทั้งสองบริเวณนี้สาหร่ายจะให้
แก๊สออกซิเจนมากกว่าในบริเวณอื่น
7.
10
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
แวน นีล (Van Niel)
ในปี พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930) แวน นีล (Van Niel) แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดได้พบว่าแบคทีเรีย
บางชนิด สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้โดยไม่ใช้น้า แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แทนผลที่ได้จากการ
สังเคราะห์ด้วยแสงแทนที่จะได้ออกซิเจนกลับได้ซัลเฟอร์ (S)
สารสี
CO2 + 2H2S -----------> (CH2O) + H2O + 2S
แสงสว่าง
คาถามชวนคิด
นักเรียนคิดว่าซัลเฟอร์มาจากการสลายตัวของสารใด.......................................................................................
...........................................................................................................................................................................
แวน นีล จึงเสนอสมมติฐานว่า ในกระบวนการสร้างคาร์โบไฮเดรตของพืชนั้นน่าจะคล้ายคลึงกับการ
สร้างคาร์โบไฮเดรตของแบคทีเรีย คือในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชโมเลกุลของน้าถูกแยกสลายได้
ออกซิเจนเป็นอิสระ ซึ่ง O2 ที่เกิดขึ้นมาจาก H2O ไม่ได้มาจาก CO2
แซม รูเบน (Sam Ruben) และมาร์ติน คาเมน (Martin Kamen)
รูปที่ 13. แซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน
ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557
8.
9.
11
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
แซม รูเบน และ มาร์ติน คาเมน (Sam Ruben และ Martin Kamen) ได้นาสาหร่ายสีเขียวใน
ปริมาณที่เท่าๆกัน ใส่ลงไปในขวดแก้ว 2 ใบคือ ก. และ ข. แล้วใส่น้าและคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในขวด
ทั้ง 2 ดังนี้
- ขวด ก. ใส่ H2O ซึ่งประกอบด้วยออกซิเจนซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสี คือ 18
O แต่ CO2 ซึ่งมี O2 ธรรมดา
- ขวด ข. ใส่ CO2 ที่ประกอบด้วย 18
O แต่ใส่ H2O ที่มี O2ธรรมดา
ตั้งขวดทั้ง 2 ใบให้ได้รับแสง สาหร่ายจะสังเคราะห์ด้วยแสง เกิด O2 ขึ้น นา O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วย
แสงแล้วมาทดสอบพบว่า
รูปที่ 14. การทดลองของแซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน
ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557
ขวด ก. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น 18
O
ขวด ข. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น O2 ธรรมดา
 สรุปผลการทดลองได้ว่า… O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงมาจากโมเลกุลของน้า
12
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill)
ในปี พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่ง
มีเกลือเฟอริกและคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากผักโขม ปรากฏว่าเกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส และ
มีออกซิเจนเกิดขึ้น แต่ถ้าในของผสมไม่มีเกลือเฟอริกก็จะไม่เกิดแก๊สออกซิเจน
รูปที่ 15. การทดลองของโรบิน ฮิลล์
ที่มา : ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557
คาถามชวนคิด
1. เกลือเฟอริก (Fe3+) เปลี่ยนไปเป็นเกลือเฟอรัส (Fe2+)ได้ เพราะเหตุใด และเกลือเฟอริกทาหน้าที่อะไร
ในปฏิกิริยา.........................................................................................................................................................
2. ถ้าไม่มีตัวรับอิเล็กตรอน น้าจะแตกตัวได้แก๊สออกซิเจนหรือไม่…………………………………………………………….
3. ตัวรับอิเล็กตรอน เช่น ……………………………………………………………...............................................................
............................................................................................................................................................................
 จากการค้นคว้าต่อมาพบว่าในพืชมีสารที่ทาหน้าที่เป็นตัวออกซิไดส์หลายชนิด เช่น นิโคตินาไมด์
อะดีนีน ไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต (nicotinamide adenine dinucleotide phosphate : NADP+
)
 จากการทดลองของฮิลล์ สรุปได้ว่าเมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับพลังงานจากแสงและมีสารรับ
อิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ออกซิเจนได้โดยไม่จาเป็นต้องมีคาร์บอนไดออกไซด์
9.
13
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon )
ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon) และคณะแห่งมหาวิทยาลัย
แคลิฟอร์เนีย ได้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการทดลองของฮิลล์ อาร์นอนคิดว่าถ้าให้สารบางอย่าง เช่น
ADP, หมู่ฟอสเฟต (Pi), NADP+
และ CO2 ลงไปในคลอโรพลาสต์ที่สกัดมาได้แล้วให้แสงจะมีปฏิกิริยาการ
สังเคราะห์ด้วยแสงจนได้น้าตาลเกิดขึ้น
รูปที่ 16. การทดลองที่ 1 เมื่อให้แสงแต่ไม่ให้คาร์บอนไดออกไซด์
ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557
รูปที่ 17. การทดลองที่ 2 เมื่อไม่ให้แสงแต่มีการเติมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ATP และ NADPH
ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557
คาถามชวนคิด
1. ปัจจัยที่ใช้สังเคราะห์น้าตาลคือสารอะไรบ้าง................................................................................................
2. จากการทดลองของฮิลล์ และการทดลองของอาร์นอนมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร……………………..
............................................................................................................................................................................
10.
..
14
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
จากการศึกษาของอาร์นอน ทาให้นักวิทยาศาสตร์เกิดแนวคิดว่าขั้นตอนของการสังเคราะห์ด้วยแสง
อาจแยกออกเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ๆ คือ จากการศึกษาของอาร์นอน ทาให้นักวิทยาศาสตร์เกิดแนวคิดว่า
ขั้นตอนของการสังเคราะห์ด้วยแสงอาจแยกออกเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ๆ คือ
1. ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง (light reaction) เป็นกระบวนการที่จาเป็นต้องใช้แสงโดยตรงเพื่อทาให้โมเลกุล
ของน้าถูกแยกสลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ แก๊สออกซิเจน ATP และ NADPH+H+
2. การปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 fixation หรือ Calvin cycle ) เป็นกระบวนการที่ไม่
จาเป็นต้องใช้แสงโดยตรงและเป็นกระบวนการที่เกิดหลังปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสงเพราะจะต้องรับ ATP และ
NADPH+H+
จากปฏิกิริยาที่ใช้แสงและคาร์บอนไดออกไซด์ แม้ไม่ได้รับแสงก็เกิดน้าตาลได้
ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ....ต่อไป
มาลองทากิจกรรมกันดีกว่าค่ะ
15
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสรุปเหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ลงในตารางให้ถูกต้อง
ชื่อนักวิทยาศาสตร์ เหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. แวน เฮลมองต์
2. โจเซฟ พริสต์ลีย์
3. แจน อินเก็น ฮูซ
4. ฌอง ซีนีบีเยร์
5. จูเลียส ซาซ
6. แองเกลมัน
7. แวน นีล
8. รูเบน และคาเมน
9. โรบิน ฮิลล์
10. แดเนียล อาร์นอน
กิจกรรมที่ 1
16
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่เห็นว่าถูก และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เห็นว่าผิด
กิจกรรมที่ 2
1........น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้าเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
2........พืชสีเขียวสามารถเปลี่ยนแก๊ส CO2 เป็นสารอาหารและ แก๊ส O2ได้ไม่ว่าจะมีแสงสว่างหรือไม่ก็ตาม
3........ แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้และแก๊สที่เกิดจากการหายใจออกของสัตว์เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน
ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และใช้ในการหายใจของสัตว์ก็เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน
4........ แบคทีเรียบางชนิดสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้โดยไม่ใช้น้า แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)
5........ แก๊สออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง มาจากโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์
6........ เมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้
ออกซิเจนได้โดยไม่จาเป็นต้องมีคาร์บอนไดออกไซด์
7........ พืชจะให้ NADPH+H+
และแก๊ส O2 เมื่อได้รับ แก๊ส CO2
8........ ปัจจัยในการสังเคราะห์น้าตาล คือ ATP , NADPH+H+
และ PGA
9........ เมื่อสารสีได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ออกซิเจนได้
10.......ถ้าทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่งมีเกลือเฟอริกและคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจาก
ผักโขม ปรากฏว่า เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสและมีออกซิเจนเกิดขึ้น
ตั้งใจทากิจกรรมนะ
นักเรียนที่น่ารัก
17
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คาชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพต้นไม้แล้วนาชื่อนักวิทยาศาสตร์และเหตุการณ์ที่ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการ
สังเคราะห์ด้วยแสง โดยเรียงลาดับก่อนหลังจากส่วนล่างจนถึงส่วนปลายของต้นไม้
กิจกรรมที่ 3
18
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ให้นักเรียน x หน้าข้อความที่ถูกต้อง
1. อินเก็น ฮูซ ค้นพบเกี่ยวกับข้อใด
ก. อากาศที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือ O2
ข. พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้กลายเป็น
อากาศดีได้ต้องมีแสง
ค. แก๊สที่เกิดจากการลุกไหมคือ CO2
ง. น้าหนักที่เพิ่มขึ้นของพืชมากจาก CO2
2. นักวิทยาศาสตร์ที่กล่าวว่าน้าหนักของพืชมา
จากน้าเท่านั้นคือการค้นพบของ
ก. แวน เฮลมองท์ ข. โจเซฟ พริสต์ลีย์
ค. อินเก็น ฮูซ ง. แวน นีล
3. สารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นคือสารใด
ก. โปรตีน ข. คาร์โบไฮเดรต
ค. ไขมัน ง. กรดนิวคลีอีก
4. บุคคลที่พบสารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้
คือ น้าตาล
ก. แองเกลมัน ข. จูเลียส ซาซ
ค. ฌอง ซีนีบีเยร์ ง. โรบิน ฮิลล์
5. อากาศเสียสามารถเปลี่ยนเป็นอากาศดีได้
ต้องมีอะไรเป็นส่วนประกอบตามการทดลอง
ของโจเซฟ พริสต์ลีย์
ก. ออกซิเจน ข. พืชสีเขียว
ค. น้า ง. แสง
6. บุคคลใดที่ค้นพบสาหร่ายสไปโรไจราใช้แสง
สีแดงและสีน้าเงินในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงมากที่สุด
ก. แองเกลมัน
ข. แดเนียล อาร์นอน
ค. ฌอง ซีนีบีเยร์
ง. รูเบน และคาเมน
7. การสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย 2
ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และการ
ปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
เป็นการค้นพบของ
ก. จูเลียส ซาซ ข. ฌอง ซีนีบีเยร์
ค. แดเนียล อาร์นอน ง. แวน เฮลมองท์
8. บุคคลใดที่ค้นพบการแตกตัวของน้าต้องมี
ตัวรับอิเล็คตรอนออกซิเจนจึงจะหลุดเป็นอิสระ
ก. แวน นีล ข. จูเลียส ซาซ
ค. อินเก็น ฮูซ ง. โรบิน ฮิลล์
9. ออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงมาจากไหน
ก. H2O ข. CO2
ค. OH-
ง. NOOH+
10. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่ใช้ในการสังเคราะห์
น้าตาล
ก. Light ข. CO2
ค. H2O ง. O2
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง
19
9
19
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสรุปเหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ลงในตารางให้ถูกต้อง
ชื่อนักวิทยาศาสตร์ เหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. แวน เฮลมองต์ การเจริญเติบโตของพืชอาศัยอาศัยน้าเท่านั้น
2. โจเซฟ พริสต์ลีย์ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดี
3. แจน อินเก็น ฮูซ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดีได้ต้องมีแสง
4. ฌอง ซีนีบีเยร์ แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้คือ O2 แก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์คือ
CO2
5. จูเลียส ซาซ สารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้ คือ น้าตาล
6. แองเกลมัน สาหร่ายสไปโรไจราใช้แสงสีแดงและน้าเงิน
สังเคราะห์ด้วยแสงมากที่สุด
7. แวน นีล การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชคล้ายคลึงกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของ
แบคทีเรีย
8. รูเบน และคาเมน แก๊สออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมาจากการแตกตัว
ของน้า
9. โรบิน ฮิลล์ การแตกตัวของน้าต้องมีสารมารับอิเล็กตรอน ออกซิเจน จึงหลุดเป็น
อิสระ
10. แดเนียล อาร์นอน การสังเคราะห์ด้วยแสงมี 2 ขั้นตอนคือ ขั้นการใช้แสงและการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์
เฉลยกิจกรรมที่ 1
20
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่เห็นว่าถูก และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เห็นว่าผิด
1....X....น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้น มาจากน้าเพียงอย่างเดียว
2....X....พืชสีเขียวสามารถเปลี่ยนแก๊ส CO2 เป็นสารอาหารและแก๊ส O2 ได้ไม่ว่าจะมีแสงสว่างหรือไม่ก็ตาม
3..../.... แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้และแก๊สที่เกิดจากการหายใจออกของสัตว์เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน
ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และใช้ในการหายใจของสัตว์ก็เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน
4..../.... แบคทีเรียบางชนิดสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้โดยไม่ใช้น้าแต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)
5....X....แก๊สออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง มาจากโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์
6..../.... เมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้
ออกซิเจนได้โดยไม่จาเป็นต้องมีคาร์บอนไดออกไซด์
7....X.... พืชจะให้ NADPH+H+
และ O2 เมื่อได้รับ แก๊ส CO2
8....X.... ปัจจัยในการสังเคราะห์น้าตาล คือ ATP , NADPH+H+
และ PGA
9..../.... เมื่อสารสีได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ออกซิเจนได้
10.../.... ถ้าทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่งมีเกลือเฟอริกและคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจาก
ผักโขม ปรากฏว่า เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสและมีออกซิเจนเกิดขึ้น
เฉลยกิจกรรมที่ 2
ถ้าผิดหลายข้อต้องตั้งใจ
และทบทวนอีกครั้งนะ
20
9
20
9
21
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
รูปภาพต้นไม้อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอนโดยเรียงลาดับต่อไปนี้
ลาดับที่ ชื่อนักวิทยาศาสตร์ เหตุการณ์ที่ค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
1 แวน เฮลมองท์ การเจริญเติบโตของพืชอาศัยอาศัยน้าเท่านั้น
2 โจเซฟ พริสต์ลีย์ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดี
3 แจน อินเก็น ฮูซ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดีได้ต้องมีแสง
4 ฌอง ซีนิบิเยร์ แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้คือ O2 แก๊สที่เกิดจากการ
หายใจของสัตว์คือ CO2
5 จูเลียส ซาซ สารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้ คือ น้าตาล
6 แองเกลมัน สาหร่ายสไปโรไจราใช้แสงสีแดงและน้าเงิน
สังเคราะห์ด้วยแสงมากที่สุด
7 แวน นีล การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชคล้ายคลึงกับการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรีย
8 รูเบน และคาเมน แก๊สออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของ
พืชมาจากการแตกตัวของน้า
9 โรบิน ฮิลล์ การแตกตัวของน้าต้องมีสารมารับอิเล็กตรอน
ออกซิเจน จึงหลุดเป็นอิสระ
10 แดเนียล อาร์นอน การสังเคราะห์ด้วยแสงมี 2 ขั้นตอนคือ ขั้นการใช้
แสงและการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
เฉลยกิจกรรมที่ 3
21
9
22
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
1. ก
2. ค
3. ข
4. ค
5. ข
6. ง
7. ก
8. ก
9. ค
10.ง
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
22
9
23
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
แบบทดสอบหลังเรียน
1. ข
2. ก
3. ข
4. ข
5. ค
6. ก
7. ค
8. ง
9. ก
10. ง
23
9
24
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค .ลาดพร้าว.
2556.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ
: บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) จากัด. 2548.
Moore, R. and G.B. Begonia. 1995. Leaf photosynthesis, biomass and yield responses of
cotton (Gossypium hirsutum L.) to foliar methanol applications. New York, April 20-22,
1995.
www. Amandaread.com
www. myfirstbrain.com
www.nattinee36.exteen.com
www. sakolraj.ac.th
บรรณานุกรม
24
9

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...Aung Aung
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
Microsoft word ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์
Microsoft word   ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์Microsoft word   ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์
Microsoft word ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์Thanyamon Chat.
 

La actualidad más candente (20)

สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
Microsoft word ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์
Microsoft word   ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์Microsoft word   ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์
Microsoft word ใบความรู้ระบบลำเลียงสารของสัตว์
 

Similar a Photosyntasis book

การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 
ใบกิจกรรที่ ๖
ใบกิจกรรที่ ๖ใบกิจกรรที่ ๖
ใบกิจกรรที่ ๖busarakorn
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะNada Inthanon
 
ใบความรู้ ม.5
ใบความรู้ ม.5ใบความรู้ ม.5
ใบความรู้ ม.5Tiew Yotakong
 

Similar a Photosyntasis book (10)

การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
ใบกิจกรรที่ ๖
ใบกิจกรรที่ ๖ใบกิจกรรที่ ๖
ใบกิจกรรที่ ๖
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะ
 
ใบความรู้ ม.5
ใบความรู้ ม.5ใบความรู้ ม.5
ใบความรู้ ม.5
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 

Más de Oui Nuchanart

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนOui Nuchanart
 

Más de Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
 

Photosyntasis book

  • 1. 1 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กับการสังเคราะห์แสง นางนุชนารถ เมืองกรุง ตาแหน่ง ครู โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
  • 2. 2 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา (รหัส ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการ เรียนการสอน รายวิชา ชีววิทยา ว30243 เรื่อง การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงจากการทดลองของ นักวิทยาศาสตร์ในอดีตและการให้คาจากัดความของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ฉบับนี้ประกอบด้วย คาชี้แจง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน มีเนื้อหา ความรู้ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และเพิ่มเติมความรู้เพื่อการศึกษาต่อในระดับสูง นาไปใช้ เป็นสื่อ ในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนให้กับผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า ให้เกิด การเรียนรู้ และสามารถประเมินดูผลความก้าวหน้า พัฒนาตนเองได้ ในการจัดทาเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ฉบับนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิดประโยชน์ สูงสุดทาให้ผู้ศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายและเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตร ที่จะช่วยให้การ จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นุชนารถ เมืองกรุง คานา ก
  • 3. 3 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา (รหัส ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้เวลา 2 ชั่วโมง สร้างขึ้น เพื่อให้ ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยผู้เรียนจะได้รับความรู้ตามตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ประกอบด้วย 1.1 ชื่อของแบบฝึก 1.2 คาอธิบายเนื้อหาของเรื่องที่เรียนในเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ 1.3 กิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 1.5 เฉลยคาตอบแบบทดสอบและกิจกรรมการเรียนรู้ 2. การทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้ 2.1 นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยคละคนเก่ง อ่อน ปานกลาง โดยแบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบ ประธาน รองประธาน และเลขานุการ ตามความเหมาะสม 2.2 อ่านคาชี้แจงของเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจ 2.3 ทดสอบก่อนเรียน 2.4 ให้นักเรียนศึกษาและปฏิบัติตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ตั้งแต่ หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย อ่านให้เข้าใจหากไม่เข้าใจให้อ่านซ้า 2.5 ทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยไม่ดูเฉลย 2.6 ทดสอบหลังเรียน 2.7 เมื่อมีข้อสงสัยให้ถามครู 2.8 นักเรียนสามารถทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ซ้า หากไม่เข้าใจ 2.9 ขอให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ในการทากิจกรรมเพื่อให้พัฒนาตนเอง คาแนะนาสาหรับผู้เรียน ข
  • 4. 4 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ ↓ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ↓ ศึกษาเนื้อหา ↓ อภิปรายเนื้อหา ↓ สรุปเนื้อหา ↓ ทากิจกรรมตามเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ↓ ทาแบบทดสอบหลังเรียน ↓ สรุปผลการทากิจกรรม ขั้นตอนในการใช้เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ค
  • 5. 5 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ด้านความรู้ (K) 1. สรุปหาคาตอบจากข้อมูลที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ 2. ให้คาจากัดความของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ทักษะการปฏิบัติกิจกรรม ได้แก่ การวางแผนเพื่อการสืบค้นข้อมูลที่เป็นคาตอบของปัญหาได้ อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง 2. มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การวางแผนกาหนดขั้นตอนการทางาน การวิเคราะห์ ข้อมูล การสรุปความรู้และการนาเสนอ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) 1. นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทางาน 2. นักเรียนมีความซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา 3. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการใฝ่รู้ใฝ่เรียน พร้อมแล้วไปศึกษา เอกสารประกอบกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยกันดีกว่านะ...... จุดประสงค์การเรียนรู้ ง
  • 6. 6 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง เรื่อง หน้า คานา ก คาแนะนาสาหรับผู้เรียน ข ขั้นตอนในการใช้เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ค จุดประสงค์การเรียนรู้ ง สารบัญ จ แบบทดสอบก่อนเรียน 1 การศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 2 กิจกรรมที่ 1 15 กิจกรรมที่ 2 16 กิจกรรมที่ 3 17 แบบทดสอบหลังเรียน 18 เฉลยกิจกรรมที่ 1 19 เฉลยกิจกรรมที่ 2 20 เฉลยกิจกรรมที่ 3 21 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 22 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 23 บรรณานุกรม 24 สารบัญ จ
  • 7. 7 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ให้นักเรียน x หน้าข้อความที่ถูกต้อง 1. นักวิทยาศาสตร์ที่กล่าวว่าน้าหนักของพืชมา จากน้าเท่านั้นคือการค้นพบของ ก. แวน เฮลมองท์ ข. โจเซฟ พริสต์ลีย์ ค. อินเก็น ฮูซ ง. แวน นีล 2. อากาศเสียสามารถเปลี่ยนเป็นอากาศดีได้ ต้องมีอะไรเป็นส่วนประกอบตามการทดลอง ของโจเซฟ พริสต์ลีย์ ก. ออกซิเจน ข. พืชสีเขียว ค. น้า ง. แสง 3. อินเก็น ฮูซ ค้นพบเกี่ยวกับข้อใด ก. อากาศที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือ O2 ข. พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้กลายเป็น อากาศดีได้ต้องมีแสง ค. แก๊สที่เกิดจากการลุกไหมคือ CO2 ง. น้าหนักที่เพิ่มขึ้นของพืชมากจาก CO2 4. สารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นคือสารใด ก. โปรตีน ข. คาร์โบไฮเดรต ค. ไขมัน ง. กรดนิวคลีอีก 5. บุคคลที่พบสารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้ คือ น้าตาล ก. แองเกลมัน ข. จูเลียส ซาซ ค. ฌอง ซีนีบีเยร์ ง. โรบิน ฮิลล์ 6. บุคคลใดที่ค้นพบการแตกตัวของน้าต้องมี ตัวรับอิเล็คตรอนออกซิเจนจึงจะหลุดเป็นอิสระ ก. แวน นีล ข. จูเลียส ซาซ ค. อินเก็น ฮูซ ง. โรบิน ฮิลล์ 7. บุคคลใดที่ค้นพบสาหร่ายสไปโรไจราใช้แสง สีแดงและสีน้าเงินในกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงมากที่สุด ก. แองเกลมัน ข. แดเนียล อาร์นอน ค. ฌอง ซีนีบีเยร์ ง. รูเบน และคาเมน 8. ออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงมาจากไหน ก. H2O ข. CO2 ค. OH- ง. NOOH+ 9. การสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และการ ปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นการค้นพบของ ก. จูเลียส ซาซ ข. ฌอง ซีนีบีเยร์ ค. แดเนียล อาร์นอน ง. แวน เฮลมองท์ 10. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่ใช้ในการสังเคราะห์ น้าตาล ก. Light ข. CO2 ค. H2O ง. O2 คาชี้แจง แบบทดสอบก่อนเรียน 1
  • 8. 2 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (Jean Baptiste Van Helmont) รูปที่ 1. ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ ที่มา : www. nattinee36.exteen.com, 2557 ในปี พ.ศ. 2191 (ค.ศ. 1648)ได้มีการพิมพ์ผลงานของฌองแบบติสท์ แวนเฮลมองท์ (Jean Baptiste Van Helmont) นักวิทยาศาสตร์ชาวเบลเยียมที่ทาการทดลองทางชีววิทยา โดยการปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ในถังใบใหญ่ที่บรรจุดินซึ่งทาให้แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์แล้วปิดฝาถัง ระหว่างทาการทดลองได้รดน้า ต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุกวันด้วยน้าฝนเป็นระยะเวลา 5 ปี ต้นหลิวเจริญเติบโตขึ้นมาก เมื่อนาต้นหลิวที่ไม่มีดินติด อยู่ที่รากไปชั่งน้าหนัก ปรากฏว่าต้นหลิวหนัก 169 ปอนด์ 3 ออนซ์ (ตัวเลขนี้ไม่ได้รวมน้าหนักใบซึ่งร่วงไปแต่ ละปี) และเมื่อนาดินในถังไปทาให้แห้งแล้วนาไปชั่ง ปรากฏว่ามีน้าหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทาการทดลอง เพียง 2 ออนซ์เท่านั้น ให้นักเรียนศึกษาการทดลองจากรูปที่ 1 รูปที่ 2. การทดลองของ ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ ที่มา : www. sakolraj.ac.th (อ้างอิงมาจาก Moore, R., 1995) การศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 2
  • 9. 3 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง รูปที่ 3. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นหลิวเมื่อรดด้วยน้าเป็นเวลา 5 ปี ที่มา : http://www.myfirstbrain.com, 2557 แวน เฮลมองท์ได้สรุปผลการทดลองว่าน้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้าเพียงอย่างเดียวโดยที่ เขาไม่ได้นึกถึงแก๊สในอากาศและดิน ความจริงแล้วน้าหนักของดินที่หายไปนั้นก็เป็นส่วนที่พืชนาไปใช้ในการ ดารงชีวิตและจาเป็นต่อการเจริญเติบโตซึ่งมีส่วนทาให้น้าหนักเพิ่มขึ้นด้วย จากการศึกษา ทาให้เราทราบว่า น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นจากเดิมคือ 5 ปอนด์มาเป็น 169 ปอนด์ 3 ออนซ์นั้นมาจาก น้า(ที่รดหรือจากดิน) CO2 จากอากาศรวมทั้งแร่ธาตุต่างๆในดิน คาถามชวนคิด 1. แวน เฮลมองท์ ค้นพบอะไร........................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... 2. แวน เฮลมองท์ สรุปว่าน้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้าเท่านั้น นักเรียนเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ หรือไม่ เพราะเหตุใด........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................
  • 10. 4 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley) รูปที่ 4. โจเซฟ พริสต์ลีย์ ที่มา : www. horhook.com, 2557 ในปี พ.ศ. 2315 (ค.ศ. 1772) โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้พิมพ์ผลงานที่ทาการทดลอง โดยจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้วปรากฏว่าสักครู่เทียนไขก็ดับและเมื่อใส่หนูเข้า ไปในครอบแก้ว ครู่ต่อมาหนูก็ตาย เมื่อนาหนูที่มีชีวิตไปไว้ในครอบแก้วเดิมที่เทียนไขดับปรากฏว่าหนูตาย เกือบทันทีและเมื่อจุดเทียนไขแล้วนาไปใส่ในครอบแก้วเดิมที่หนูตายอยู่แล้ว ปรากฏว่าเทียนไขดับเกือบทันที อากาศที่หนูหายใจออกมาและอากาศที่ทาให้เทียนไขดับในสมัยนั้นเรียกว่า "อากาศเสีย" สิ่งที่สงสัยในยุคนั้นก็ คือคนและสัตว์อื่นๆ เป็นจานวนมากกาลังหายใจอยู่ตลอดเวลาและยังมีการเผาไหม้สิ่งต่างๆ ถ้าเป็นเช่นนั้น ไปเรื่อยๆ ในที่สุดอากาศที่ใช้ในการหายใจหรือช่วยในการลุกไหม้ไม่ถูกทาลายให้หมดไปหรือ เขาได้ทดลองนา หนูใส่ไว้ในครอบแก้วเดียวกันกับพืชสีเขียว ปรากฏว่าทั้งพืชและหนูสามารถมีชีวิตอยู่ได้ ให้นักเรียนศึกษาการ ทดลองจากรูปที่ 5. รูปที่ 5. การทดลองของโจเซฟ พริสต์ลีย์ ที่มา : www. sakolraj.ac.th (อ้างอิงมาจาก Moore, R., 1995) 2.
  • 11. 5 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง บังเอิญครั้งหนึ่งพริสต์ลีย์ได้นาเอาพืชสีเขียวใส่ในครอบแก้วที่เคยจุดเทียนไขเอาไว้ก่อนแล้วอีก 10 วันต่อมา เมื่อจุดเทียนไขในครอบแก้วนั้นใหม่ ปรากฏว่าเทียนไขลุกไหม้อยู่ได้ระยะหนึ่งโดยไม่ดับทันที หลายครั้งที่พริสต์ลีย์ได้แบ่งอากาศหลังจากเทียนไขดับแล้วออกเป็น 2 ส่วนนาพืชใส่ไว้ในส่วนหนึ่งและอีกส่วน หนึ่งใส่แต่แก้วบรรจุน้า ทิ้งไว้ระยะหนึ่งแล้วจุดเทียนไข พบว่าเทียนไขลุกไหม้ได้ระยะหนึ่ง ในอากาศส่วนแรก แต่จะดับทันทีในอากาศส่วนที่สอง หลังจากนั้นเขาได้ศึกษาคุณสมบัติของแก๊สและอากาศ และทราบว่า "อากาศดี" ช่วยในการเผาไหม้และการหายใจของสัตว์แต่การหายใจของสัตว์และการเผาไหม้ของเทียนไขทา ให้เกิด "อากาศเสีย" ให้นักเรียนศึกษาการทดลองจากรูปที่ 6. รูปที่ 6. การทดลองเพิ่มเติมของโจเซฟ พริสต์ลีย์ ที่มา : www. sakolraj.ac.th (อ้างอิงมาจาก Moore, R., 1995) คาถามชวนคิด 1. โจเซฟ พริสต์ลีย์ ค้นพบอะไร......................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... 2. สมมุติฐานของโจเซฟ พริสต์ลีย์ เมื่อมีพืชเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นอย่างไร............................................................ ........................................................................................................................................................................... 3. นักเรียนจะเขียนแผนภาพสรุปการทดลองของโจเชฟ พริสต์ลีย์ อย่างไร........................................................ ...........................................................................................................................................................................
  • 12. 6 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง อินเก็น ฮูซ (Jan Ingen Housz) รูปที่ 7. แจน อินเก็น ฮูซ ที่มา : www. Amandaread.com, 2557 พ.ศ. 2322 (ค.ศ. 1779) แจน อินเก็น ฮูซ (Jan Ingen Housz) นายแพทย์ชาวดัทช์ ได้พิสูจน์ให้เห็น ว่าการทดลองของพริสต์ลีย์จะได้ผลก็ต่อเมื่อพืชได้รับแสงสว่าง และเฉพาะส่วนสีเขียวของพืชเท่านั้นที่มี ประสิทธิภาพในการเปลี่ยน "อากาศเสีย" ให้เป็น "อากาศดี" คือถ้ามีแสงสว่างพืชสีเขียวสามารถเปลี่ยนแก๊ส CO2 เป็นสารอาหารและ O2ได้ จากความรู้ทางวิชาเคมีซึ่งพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะใกล้เคียงกับที่พริสต์ลีย์และอินเก็น ฮูซ ทดลองนั้น พบว่าแก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้และแก๊สที่เกิดจากการหายใจออกของสัตว์เป็นแก๊สชนิดเดียวกันคือ คาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และใช้ในการหายใจของสัตว์ คือ ออกซิเจนแสดงว่าเมื่อพืช ได้รับแสง พืชจะนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป และปล่อยแก๊สออกซิเจนออกมา รูปที่ 8. การทดลองของแจน อินเก็น ฮูซ ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยาเล่ม 3 สสวท.หน้า69 คาถามชวนคิด แจน อินเก็น ฮูซ ค้นพบอะไร......................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3.
  • 13. 7 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ฌอง ซีนีบีเยร์ (Jean Senebier) รูปที่ 9. ฌอง ซีนีบีเยร์ ที่มา : www. Amandaread.com, 2557 ค้นพบว่าแก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้ และแก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์เป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือแก๊สออกซิเจน  ในปี พ.ศ. 2329 อินเก็น ฮูซ ยังค้นพบเพิ่มเติมอีกว่าพืชเก็บธาตุคาร์บอนไว้ในรูปของสารอินทรีย์ คาถามชวนคิด นักเรียนจะเขียนแผนภาพสรุปการทดลองของอินเก็น ฮูซ อย่างไร.................................................................... ........................................................................................................................................................................... 4.
  • 14. 8 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Soussure) รูปที่ 10. นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์ ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557 พ.ศ. 2347 นิโคลาสธีโอดอร์ เดอโซซูร์ (Nicolas Theodore de Soussure) ได้ทาการทดลองให้เห็น ว่าน้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมากกว่าน้าหนักของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้รับ เขาจึงสรุปว่าน้าหนักที่เพิ่มขึ้น บางส่วนเป็นน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ คาถามชวนคิด นักเรียนจะเขียนแผนภาพสรุปการทดลองของนิโคลาส ธีโอดอร์ อย่างไร.......................................................... ........................................................................................................................................................................... จูเลียส ซาซ (Julius sachs) รูปที่ 11. จูเลียส ซาซ ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557  พบว่าสารอินทรีย์ที่พืชสร้าง คือ น้าตาล ซึ่งเป็นสารคาร์โบไฮเดรต 5. 6.
  • 15. 9 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง  ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืชที่อาศัยแสงว่า กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง (Photosynthesis) คาถามชวนคิด นักเรียนสรุปสมการการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ อย่างไร...................................................................................... ........................................................................................................................................................................... เองเกลมัน (T.W.Engelmann) รูปที่ 12. การทดลองของเองเกลมัน ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557 พ.ศ. 2438 เองเกลมัน (T.W. Engelmann) ได้ทาการทดลองโดยใช้ปริซึมเพื่อแยกแสงออกเป็น สเปกตรัมให้แก่สาหร่ายสไปโรไจราซึ่งเจริญอยู่ในน้าที่มีแบคทีเรีย จากการทดลองพบว่าแบคทีเรียที่ต้องการ ออกซิเจนมารวมกลุ่มกันที่บริเวณสาหร่ายได้รับแสงสีแดงและสีน้าเงิน เพราะทั้งสองบริเวณนี้สาหร่ายจะให้ แก๊สออกซิเจนมากกว่าในบริเวณอื่น 7.
  • 16. 10 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง แวน นีล (Van Niel) ในปี พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930) แวน นีล (Van Niel) แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดได้พบว่าแบคทีเรีย บางชนิด สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้โดยไม่ใช้น้า แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แทนผลที่ได้จากการ สังเคราะห์ด้วยแสงแทนที่จะได้ออกซิเจนกลับได้ซัลเฟอร์ (S) สารสี CO2 + 2H2S -----------> (CH2O) + H2O + 2S แสงสว่าง คาถามชวนคิด นักเรียนคิดว่าซัลเฟอร์มาจากการสลายตัวของสารใด....................................................................................... ........................................................................................................................................................................... แวน นีล จึงเสนอสมมติฐานว่า ในกระบวนการสร้างคาร์โบไฮเดรตของพืชนั้นน่าจะคล้ายคลึงกับการ สร้างคาร์โบไฮเดรตของแบคทีเรีย คือในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชโมเลกุลของน้าถูกแยกสลายได้ ออกซิเจนเป็นอิสระ ซึ่ง O2 ที่เกิดขึ้นมาจาก H2O ไม่ได้มาจาก CO2 แซม รูเบน (Sam Ruben) และมาร์ติน คาเมน (Martin Kamen) รูปที่ 13. แซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน ที่มา : www.nattinee36.exteen.com/, 2557 8. 9.
  • 17. 11 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง แซม รูเบน และ มาร์ติน คาเมน (Sam Ruben และ Martin Kamen) ได้นาสาหร่ายสีเขียวใน ปริมาณที่เท่าๆกัน ใส่ลงไปในขวดแก้ว 2 ใบคือ ก. และ ข. แล้วใส่น้าและคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในขวด ทั้ง 2 ดังนี้ - ขวด ก. ใส่ H2O ซึ่งประกอบด้วยออกซิเจนซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสี คือ 18 O แต่ CO2 ซึ่งมี O2 ธรรมดา - ขวด ข. ใส่ CO2 ที่ประกอบด้วย 18 O แต่ใส่ H2O ที่มี O2ธรรมดา ตั้งขวดทั้ง 2 ใบให้ได้รับแสง สาหร่ายจะสังเคราะห์ด้วยแสง เกิด O2 ขึ้น นา O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วย แสงแล้วมาทดสอบพบว่า รูปที่ 14. การทดลองของแซม รูเบน และมาร์ติน คาเมน ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557 ขวด ก. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น 18 O ขวด ข. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น O2 ธรรมดา  สรุปผลการทดลองได้ว่า… O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงมาจากโมเลกุลของน้า
  • 18. 12 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ในปี พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่ง มีเกลือเฟอริกและคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากผักโขม ปรากฏว่าเกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส และ มีออกซิเจนเกิดขึ้น แต่ถ้าในของผสมไม่มีเกลือเฟอริกก็จะไม่เกิดแก๊สออกซิเจน รูปที่ 15. การทดลองของโรบิน ฮิลล์ ที่มา : ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557 คาถามชวนคิด 1. เกลือเฟอริก (Fe3+) เปลี่ยนไปเป็นเกลือเฟอรัส (Fe2+)ได้ เพราะเหตุใด และเกลือเฟอริกทาหน้าที่อะไร ในปฏิกิริยา......................................................................................................................................................... 2. ถ้าไม่มีตัวรับอิเล็กตรอน น้าจะแตกตัวได้แก๊สออกซิเจนหรือไม่……………………………………………………………. 3. ตัวรับอิเล็กตรอน เช่น ……………………………………………………………............................................................... ............................................................................................................................................................................  จากการค้นคว้าต่อมาพบว่าในพืชมีสารที่ทาหน้าที่เป็นตัวออกซิไดส์หลายชนิด เช่น นิโคตินาไมด์ อะดีนีน ไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต (nicotinamide adenine dinucleotide phosphate : NADP+ )  จากการทดลองของฮิลล์ สรุปได้ว่าเมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับพลังงานจากแสงและมีสารรับ อิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ออกซิเจนได้โดยไม่จาเป็นต้องมีคาร์บอนไดออกไซด์ 9.
  • 19. 13 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon ) ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon) และคณะแห่งมหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย ได้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการทดลองของฮิลล์ อาร์นอนคิดว่าถ้าให้สารบางอย่าง เช่น ADP, หมู่ฟอสเฟต (Pi), NADP+ และ CO2 ลงไปในคลอโรพลาสต์ที่สกัดมาได้แล้วให้แสงจะมีปฏิกิริยาการ สังเคราะห์ด้วยแสงจนได้น้าตาลเกิดขึ้น รูปที่ 16. การทดลองที่ 1 เมื่อให้แสงแต่ไม่ให้คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557 รูปที่ 17. การทดลองที่ 2 เมื่อไม่ให้แสงแต่มีการเติมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ATP และ NADPH ที่มา : www. myfirstbrain.com, 2557 คาถามชวนคิด 1. ปัจจัยที่ใช้สังเคราะห์น้าตาลคือสารอะไรบ้าง................................................................................................ 2. จากการทดลองของฮิลล์ และการทดลองของอาร์นอนมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร…………………….. ............................................................................................................................................................................ 10. ..
  • 20. 14 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง จากการศึกษาของอาร์นอน ทาให้นักวิทยาศาสตร์เกิดแนวคิดว่าขั้นตอนของการสังเคราะห์ด้วยแสง อาจแยกออกเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ๆ คือ จากการศึกษาของอาร์นอน ทาให้นักวิทยาศาสตร์เกิดแนวคิดว่า ขั้นตอนของการสังเคราะห์ด้วยแสงอาจแยกออกเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ๆ คือ 1. ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง (light reaction) เป็นกระบวนการที่จาเป็นต้องใช้แสงโดยตรงเพื่อทาให้โมเลกุล ของน้าถูกแยกสลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ แก๊สออกซิเจน ATP และ NADPH+H+ 2. การปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 fixation หรือ Calvin cycle ) เป็นกระบวนการที่ไม่ จาเป็นต้องใช้แสงโดยตรงและเป็นกระบวนการที่เกิดหลังปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสงเพราะจะต้องรับ ATP และ NADPH+H+ จากปฏิกิริยาที่ใช้แสงและคาร์บอนไดออกไซด์ แม้ไม่ได้รับแสงก็เกิดน้าตาลได้ ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ....ต่อไป มาลองทากิจกรรมกันดีกว่าค่ะ
  • 21. 15 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสรุปเหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ลงในตารางให้ถูกต้อง ชื่อนักวิทยาศาสตร์ เหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. แวน เฮลมองต์ 2. โจเซฟ พริสต์ลีย์ 3. แจน อินเก็น ฮูซ 4. ฌอง ซีนีบีเยร์ 5. จูเลียส ซาซ 6. แองเกลมัน 7. แวน นีล 8. รูเบน และคาเมน 9. โรบิน ฮิลล์ 10. แดเนียล อาร์นอน กิจกรรมที่ 1
  • 22. 16 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่เห็นว่าถูก และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เห็นว่าผิด กิจกรรมที่ 2 1........น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้าเพียงอย่างเดียวเท่านั้น 2........พืชสีเขียวสามารถเปลี่ยนแก๊ส CO2 เป็นสารอาหารและ แก๊ส O2ได้ไม่ว่าจะมีแสงสว่างหรือไม่ก็ตาม 3........ แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้และแก๊สที่เกิดจากการหายใจออกของสัตว์เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และใช้ในการหายใจของสัตว์ก็เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน 4........ แบคทีเรียบางชนิดสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้โดยไม่ใช้น้า แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) 5........ แก๊สออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง มาจากโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ 6........ เมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ ออกซิเจนได้โดยไม่จาเป็นต้องมีคาร์บอนไดออกไซด์ 7........ พืชจะให้ NADPH+H+ และแก๊ส O2 เมื่อได้รับ แก๊ส CO2 8........ ปัจจัยในการสังเคราะห์น้าตาล คือ ATP , NADPH+H+ และ PGA 9........ เมื่อสารสีได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ออกซิเจนได้ 10.......ถ้าทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่งมีเกลือเฟอริกและคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจาก ผักโขม ปรากฏว่า เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสและมีออกซิเจนเกิดขึ้น ตั้งใจทากิจกรรมนะ นักเรียนที่น่ารัก
  • 24. 18 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ให้นักเรียน x หน้าข้อความที่ถูกต้อง 1. อินเก็น ฮูซ ค้นพบเกี่ยวกับข้อใด ก. อากาศที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือ O2 ข. พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้กลายเป็น อากาศดีได้ต้องมีแสง ค. แก๊สที่เกิดจากการลุกไหมคือ CO2 ง. น้าหนักที่เพิ่มขึ้นของพืชมากจาก CO2 2. นักวิทยาศาสตร์ที่กล่าวว่าน้าหนักของพืชมา จากน้าเท่านั้นคือการค้นพบของ ก. แวน เฮลมองท์ ข. โจเซฟ พริสต์ลีย์ ค. อินเก็น ฮูซ ง. แวน นีล 3. สารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นคือสารใด ก. โปรตีน ข. คาร์โบไฮเดรต ค. ไขมัน ง. กรดนิวคลีอีก 4. บุคคลที่พบสารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้ คือ น้าตาล ก. แองเกลมัน ข. จูเลียส ซาซ ค. ฌอง ซีนีบีเยร์ ง. โรบิน ฮิลล์ 5. อากาศเสียสามารถเปลี่ยนเป็นอากาศดีได้ ต้องมีอะไรเป็นส่วนประกอบตามการทดลอง ของโจเซฟ พริสต์ลีย์ ก. ออกซิเจน ข. พืชสีเขียว ค. น้า ง. แสง 6. บุคคลใดที่ค้นพบสาหร่ายสไปโรไจราใช้แสง สีแดงและสีน้าเงินในกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงมากที่สุด ก. แองเกลมัน ข. แดเนียล อาร์นอน ค. ฌอง ซีนีบีเยร์ ง. รูเบน และคาเมน 7. การสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และการ ปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นการค้นพบของ ก. จูเลียส ซาซ ข. ฌอง ซีนีบีเยร์ ค. แดเนียล อาร์นอน ง. แวน เฮลมองท์ 8. บุคคลใดที่ค้นพบการแตกตัวของน้าต้องมี ตัวรับอิเล็คตรอนออกซิเจนจึงจะหลุดเป็นอิสระ ก. แวน นีล ข. จูเลียส ซาซ ค. อินเก็น ฮูซ ง. โรบิน ฮิลล์ 9. ออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงมาจากไหน ก. H2O ข. CO2 ค. OH- ง. NOOH+ 10. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่ใช้ในการสังเคราะห์ น้าตาล ก. Light ข. CO2 ค. H2O ง. O2 แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง 19 9
  • 25. 19 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสรุปเหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ลงในตารางให้ถูกต้อง ชื่อนักวิทยาศาสตร์ เหตุการณ์ค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. แวน เฮลมองต์ การเจริญเติบโตของพืชอาศัยอาศัยน้าเท่านั้น 2. โจเซฟ พริสต์ลีย์ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดี 3. แจน อินเก็น ฮูซ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดีได้ต้องมีแสง 4. ฌอง ซีนีบีเยร์ แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้คือ O2 แก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์คือ CO2 5. จูเลียส ซาซ สารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้ คือ น้าตาล 6. แองเกลมัน สาหร่ายสไปโรไจราใช้แสงสีแดงและน้าเงิน สังเคราะห์ด้วยแสงมากที่สุด 7. แวน นีล การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชคล้ายคลึงกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของ แบคทีเรีย 8. รูเบน และคาเมน แก๊สออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมาจากการแตกตัว ของน้า 9. โรบิน ฮิลล์ การแตกตัวของน้าต้องมีสารมารับอิเล็กตรอน ออกซิเจน จึงหลุดเป็น อิสระ 10. แดเนียล อาร์นอน การสังเคราะห์ด้วยแสงมี 2 ขั้นตอนคือ ขั้นการใช้แสงและการตรึง คาร์บอนไดออกไซด์ เฉลยกิจกรรมที่ 1
  • 26. 20 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่เห็นว่าถูก และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เห็นว่าผิด 1....X....น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้น มาจากน้าเพียงอย่างเดียว 2....X....พืชสีเขียวสามารถเปลี่ยนแก๊ส CO2 เป็นสารอาหารและแก๊ส O2 ได้ไม่ว่าจะมีแสงสว่างหรือไม่ก็ตาม 3..../.... แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้และแก๊สที่เกิดจากการหายใจออกของสัตว์เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และใช้ในการหายใจของสัตว์ก็เป็นแก๊สชนิดเดียวกัน 4..../.... แบคทีเรียบางชนิดสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้โดยไม่ใช้น้าแต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) 5....X....แก๊สออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง มาจากโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ 6..../.... เมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ ออกซิเจนได้โดยไม่จาเป็นต้องมีคาร์บอนไดออกไซด์ 7....X.... พืชจะให้ NADPH+H+ และ O2 เมื่อได้รับ แก๊ส CO2 8....X.... ปัจจัยในการสังเคราะห์น้าตาล คือ ATP , NADPH+H+ และ PGA 9..../.... เมื่อสารสีได้รับพลังงานจากแสง และมีสารรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วย น้าก็จะแตกตัวให้ออกซิเจนได้ 10.../.... ถ้าทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่งมีเกลือเฟอริกและคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจาก ผักโขม ปรากฏว่า เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสและมีออกซิเจนเกิดขึ้น เฉลยกิจกรรมที่ 2 ถ้าผิดหลายข้อต้องตั้งใจ และทบทวนอีกครั้งนะ 20 9 20 9
  • 27. 21 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง รูปภาพต้นไม้อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอนโดยเรียงลาดับต่อไปนี้ ลาดับที่ ชื่อนักวิทยาศาสตร์ เหตุการณ์ที่ค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง 1 แวน เฮลมองท์ การเจริญเติบโตของพืชอาศัยอาศัยน้าเท่านั้น 2 โจเซฟ พริสต์ลีย์ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดี 3 แจน อินเก็น ฮูซ พืชเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดีได้ต้องมีแสง 4 ฌอง ซีนิบิเยร์ แก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้คือ O2 แก๊สที่เกิดจากการ หายใจของสัตว์คือ CO2 5 จูเลียส ซาซ สารอินทรีย์ที่พืชสังเคราะห์ได้ คือ น้าตาล 6 แองเกลมัน สาหร่ายสไปโรไจราใช้แสงสีแดงและน้าเงิน สังเคราะห์ด้วยแสงมากที่สุด 7 แวน นีล การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชคล้ายคลึงกับการ สังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรีย 8 รูเบน และคาเมน แก๊สออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของ พืชมาจากการแตกตัวของน้า 9 โรบิน ฮิลล์ การแตกตัวของน้าต้องมีสารมารับอิเล็กตรอน ออกซิเจน จึงหลุดเป็นอิสระ 10 แดเนียล อาร์นอน การสังเคราะห์ด้วยแสงมี 2 ขั้นตอนคือ ขั้นการใช้ แสงและการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เฉลยกิจกรรมที่ 3 21 9
  • 30. 24 เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค .ลาดพร้าว. 2556. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) จากัด. 2548. Moore, R. and G.B. Begonia. 1995. Leaf photosynthesis, biomass and yield responses of cotton (Gossypium hirsutum L.) to foliar methanol applications. New York, April 20-22, 1995. www. Amandaread.com www. myfirstbrain.com www.nattinee36.exteen.com www. sakolraj.ac.th บรรณานุกรม 24 9