SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
Plant Tissues
เนื้อเยื่อพืช (plant tissue)
เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) มีหลายชนิดประกอบด้วยเซลล์
ที่มีลักษณะแตกต่างกันไป โดยมีลักษณะร่วมที่สาคัญ คือ
การมีผนังเซลล ์(cell wall)
- primary cell wall cellulose
- middle lamella pectin
**secondary cell wall หรือ secondary cell lignin
ภาพ เซลล์พืช ที่มา : http:// www.phschool.com, 2554.
เนื้อเยื่อของพืช (plant tissue)
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยเซลล์ (cell) หลายๆ
เซลล์รวมกลุ่มทางานร่วมกัน กลุ่มของเซลล์ที่มาทางานร่วมกันนี้
เราเรียกเนื้อเยื่อ(tissue)
เนื้อเยื่อพืชแบ่งเป็น 2 ประเภท (ตามความสามารถในการแบ่งตัว) ได้แก่
1.เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
2.เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)
เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
คือ กลุ่มของเซลล์ที่มีการเจริญและแบ่งตัวแบบ……….. อยู่
ตลอดเวลา
ลักษณะของเนื้อเยื่อเจริญ
• เซลลมีขนาดเล็ก
• ผนังเซลลบาง
• มีนิวเคลียสขนาดใหญ
• vacuoles ไมมี หรือ มีขนาดเล็ก
• ไมมี intercellular spaces
ชนิดของเนื้อเยื่อเจริญ
1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem)
คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณปลายยอด (shoot tip ) หรือปลายราก
(root tip) ของพืช เมื่อมีการแบ่งตัวเพิ่มจานวนเซลล์จะทาให้
รากและลาต้นยืดยาวออก เพิ่มความสูงให้กับต้นพืช เป็นการ
เจริญขั้นแรก (Primary growth)
จาแนกตามตาเหนงที่อยูแบงไดเปน 3 ชนิด
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem)
ที่มา http://www.sripatum.ac.th/online/preeya/tissue.htm
2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)
คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณเหนือข้อ หรือโคนของปล้องในพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยว เช่น อ้อย ไผ่ ข้าวโพด หรือหญ้า เป็นต้น เมื่อมี
การแบ่งตัวจะช่วยให้ปล้องยาวขึ้น
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)
ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/Meristem.htm
3. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง
(lateral meristem หรือ axillary meristem)
คือ เนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวออกด้านข้างของลาต้นหรือราก
เมื่อแบ่งตัวแล้วจะทาให้ลาต้น ราก ขยายขนาดออกทางด้านข้าง
หรือมีขนาดใหญ่ขึ้น พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทั่วไป และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
บางชนิด เช่น จันทน์ผา หมากผู้หมากเมีย เป็นต้น เนื้อเยื่อเจริญ
ด้านข้างเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แคมเบียม (cambium) แบ่งเป็น
2 ชนิดคือ
http://www.thaigoodview.com/
ต้นจันทร์ผา
ต้นหากผู้หมากเมีย
แคมเบียม (cambium) เนื้อเยื่อเจริญด้านข้างมี 2 ชนิด ถ้าพบอยู่ระหว่าง
xylem และ phloem จะเรียกว่า วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular
cambium) ซึ่งเมื่อแบ่งเซลล์จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อท่อลาเลียง (vascular
tissue) เพิ่มขึ้น และถ้าพบอยู่ในเนื้อเยื่อเอพิเดอร์มิส (epidermis) โดยอยู่ถัด
เข้าไปจากเอพิเดอร์มิส เรียกว่าคอร์กแคมเบียม (cork cambium) ซึ่งเมื่อ
แบ่งเซลล์จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อคอร์ก (cork)
Vascular cambium
Vascular cambium ในลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ สุมิตรา จันแย้, 2553
cork cambium หรือ Phellogen
เนื้อเยื่อเจริญคอร์กแคมเบียมในลาต้นพืช : Jane B. และคณะ, 1990 :752.
เนื้อเยื่อเจริญจาแนกตามการเกิดและการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
แบงเปน3 ชนิด คือ Promeristem , Primary meristem และ
Secondary meristem
1. PROMERISTEM เปนเนื้อเยื่อเจริญที่เกิดขึ้นใหม ๆ ประกอบขึ้น
ดวยเซลลที่มีรูปรางคลายคลึงกันมาก และขนาดเทากันหมด มี
Cell wall บาง ไมมีแวคิวโอล มีนิวเคลียสใหญ และไมมีชองวาง
ระหวางเซลล พบมากตามปลายสุดของราก กิ่ง ตา
2. PRIMARY MERISTEM เปนเนื้อเยื่อเจริญที่เปลี่ยนแปลงไปจาก
Promeristem แตยังไมสมบูรณ พบในบริเวณปลายยอดและปลาย
ราก ในรากเปนบริเวณที่เรียกวา Zone of cell elongetion
เนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้ยังมีการแบงเซลลตอไปอีกกลายเปนเนื้อเยื่อถาวร
ชนิด Primary permanent tissue การแบงตัว ทาใหสวนตาง ๆ
ของพืชมี (Primary growth ) ยืดยาวสูงขึ้น รวมทั้งขยายขนาดให้
อ้วนขึ้นไดประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 บริเวณ
2.1 Protoderm แบงตัว เจริญเติบโตเปลี่ยนแปลง เปน Epidermis
2.2 Ground meristem แบงตัวเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลง Cortex ซึ่งอยูถัด
จาก epidermis เขาไปขางใน และยังจะไปเปน Pith และ Pith ray
(ในลาตน) อีกดวย
- Cortex ทาหนาที่เปนแหลงสะสมอาหาร และขณะที่ยังออนอยูก็ทาหนาที่
เปนแหลงสรางอาหารและปองกันดวย สวน Pith และ Pith ray ยังทาหนาที่
ลาเลียงน้าเกลือแร และอาหารไปทางดานขาง
2.3 Procambium เปนเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณชั้นในสุดที่เรียกวา Vascular
Tissue ทาหนาที่เปนทอในการลาเลียงน้า เกลือแร และอาหาร
3. Secondary meristem เปนเนื้อเยื่อเจริญ พบในราก และลาตนของ
พืชใบเลี้ยงคู และพวกจิมโนสเปรม (gymnosperm) เมื่อมันตองการขยาย
ขนาดใหอวนใหญขึ้น โดยเนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้ มีการแบงตัวเจริญเติบโต
เปลี่ยนแปลงไปเปนเนื้อเยื่อถาวรที่เรียกวา Secondary permanent tissue
- Secondary meristem ประกอบดวย 2 ชนิด คือ Cambium และ Cork
Cambium
3.1 Cambium ทาหนาที่สรางเนื้อเยื่อถาวรพวก Secondary vascular
tissue
3.2 Cork cambium สวนใหญเกิดจากการแบงตัวของ Parenchyma cell
เกิดขึ้นใน Cortex ของลาตนบริเวณใกล ๆ กับ Epidermis มีหนาที่ในการ
สราง Cork ขึ้นหุมตน
• ระบบเนื้อเยื่อของพืช แบ่งออกตามระบบของซาค (Sach’
classification) แบ่งเนื้อเยื่อออกเป็น 3 ชนิด
1. เนื้อเยื่อผิว (dermal tissue) ประกอบด้วยเอพิเดอร์มิส ซึ่งทาหน้าที่
ป้องกันเนื้อเยื่อส่วนในของพืช
2. เนื้อเยื่อลาเลียง (vascular tissue) ประกอบด้วยโฟลเอ็มและไซเล็ม
3. เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) ประกอบด้วยเนื้อเยื่ออื่นๆ นอกจาก
เนื้อเยื่อผิวและเนื้อเยื่อลาเลียง
เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)
หมายถึงเนื้อเยือที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่เจริญ
เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ จะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกต่อไป
มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ขนาด เพื่อไปทาหน้าที่เฉพาะอย่าง
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue)
2. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน(Compount permanent tissue)
ลักษณะสาคัญของเนื้อเยื่อถาวร มีลักษณะดังนี้
1. ไม่มีการแบ่งเซลล์
2. รูปร่างของเซลล์คงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
3. มีการสะสมสารบนผนังเซลล์มาก ก่อให้เกิดความแข็งแรง
4. มีแวคิวโอลขนาดใหญ่
เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue)
2. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Compount permanent tissue)
เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue)
เปนเนื้อเยื่อที่เกิดจากเซลลถาวรชนิดเดียวกันมาอยูรวม
กันและทาหนาที่รวมกันมีหลายชนิดพบทั้งในราก ลาต้น ใบและ
ส่วนต่างๆ ของพืชเช่น
- เอพิเดอรมิส (Epidermis)
- คอรก (Cork) Protective tissue
- พาเรงคิมา(Parenchyma)
- คอลเลงคิมา(Collenchyma) Ground tissue
- สเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma)
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent tissue)
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์หลายชนิดมา
ทางานร่วมกันเพื่อทาหน้าที่อย่างเดียวกัน ได้แก่ เนื้อเยื่อลาเลียง
(vascular tissue) ประกอบด้วย เนื้อเยื่อลาเลียงน้า
(xylem)และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร(phloem)
เอพิเดอร์มิส (Epidermis)
1. เปนเนื้อเยื่อที่อยูรอบนอกสุด ของพืชที่เจริญในขั้นตน (primary growth)
2. เซลลเรียงแถวเดียวเบียดกันแนนไมมีชองวางระหวางเซลล
3. ผนังเซลลมีสารคิวติน(Cutin)มาเคลือบ เรียกชั้นที่เกิดจากการสะสมของ
สารคิวตินนี้วาชั้นคิวติเคิล (Cuticle)
4. บางเซลลเปลี่ยนแปลงไปทาหนาที่พิเศษ เชน Guard cell , Root hair
5. ไมมีคลอโรพลาสต
บริเวณที่พบ : เปนเนื้อเยื่อที่อยูชั้นนอกสุด พบทุกสวนของลาตน กิ่ง ราก
ชั้นนอกของกลีบดอก ใบ และผลออน
หน้าที่ของ Epidermis
1. เป็นเครื่องห่อหุ้ม ป้องกันเนื้อเยื่อของพืชที่อยู่ข้างในทั้งหมด และช่วยเสริม
ความแข็งแรง
2. ช่วยป้องกันการระเหยของน้า เพราะมีสารพวกคิวติน (cutin) เคลือบด้าน
นอกไว้
3. เซลล์คุมช่วยควบคุมการแลกเปลี่ยนก๊าซ CO2 , O2 และคายน้า
4. ขนรากช่วยในการดูดน้า และสารละลายแร่ธาตุผ่านทางขนราก
(root hair)
เอพิเดอร์มิส (Epidermis)
epidermis
ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/plant%20organ/root.html
เอพิเดอร์มิสเปลี่ยนเป็นปากใบ
เอพิเดอร์มิสเปลี่ยนเป็นขนราก
เอนโดเดอร์มิส (Endodermis)
เปนเนื้อเยื่อที่อยูดานนอกของเนื้อเยื่อลาเลียงของราก เซลล
มีรูปรางคลายเซลลพาเรงคิมา ที่ผนังเซลลมีสารลิกนิน และ
ซูเบอริน มาพอกหนาทั้งทางดานรัศมีและดานขวาง มี
ลักษณะเปนแถบ เรียกวา แถบแคสพาเรียนสตริพ
(Casparianstrip) เซลลเรียงตัวกันแนนไมมีชองวาง
เอนโดเดอร์มิส
คอร์ก (Cork) หรือเฟลเลม (Phellem)
cork เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของรากและลาต้นที่แก่แล้วของไม้ยืนต้น
ประกอบด้วยเซลล์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า คอร์กเป็นเซลล์ที่เกิดมาไม่นาน
เซลล์ก็ตาย และมีสารพวกลิกนิน (lignin) เพกติน (pectin)
และซูเบอริน (suberin) มาสะสมแทรกปะปนกับเซลลูโลสของ
ผนังเซลล์มากขึ้น พืชที่มีอายุมากแล้ว เปลือกนอกมีสีน้าตาล น้าผ่าน
ไม่ได้ คอร์กทาหน้าที่ให้ความแข็งแรง ชดเชย เอพิเดอร์มิสที่หายไป
เนื่องจากการกร่อนและถูกทาลายโดยเชื้อรา
Cork
คอร์ก
พาเรงคิมา (parenchyma)
พบได้แทบทุกส่วนของอวัยวะพืช
รูปร่างหลายแบบ บางเซลล์
ค่อนข้างกลม รี ทรงกระบอกหรือ
เป็นเหลี่ยม มีช่องว่างระหว่างเซลล์
(intercellular space) ถ้าเซลล์
ชนิดนี้มีเม็ดคลอโรพลาสต์อยู่ด้วย
เรียกว่า คลอเรงคิมา
(chlorenchyma)ช่องว่างระหว่างเซลล์
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
ตัดตามยาว (long section) ตัดตามขวาง (cross section)
พาเรงคิมา (parenchyma)
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
พาเรงคิมา (parenchyma)
ช่องอากาศ
(air space)
สะสมแป้ง
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
หน้าที่ของพาเรงคิมา
1. สะสมน้าและอาหารพวกแป้ง โปรตีน และไขมัน
2. ในลาต้นพืชอ่อน ๆ ทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง
3. ในพืชตระกูลถั่วจะอยู่รวมเป็นกลุ่มที่โคนก้านใบทาหน้าที่เกี่ยวกับ
การหุบใบ กางใบในรอบวัน
4. สามารถแปรสภาพเปนเนื้อเยื่อเจริญไดเมื่อถูกกระตุนเชน เมื่อเกิด
บาดแผลจะทาสมานบาดแผล
5. ใบพืชบางชนิดจะเจริญเปลี่ยนไปเป็นต่อมสร้างสาร เช่น สร้างน้ามัน
6. พาเรงคิมาในมัดท่อลาเลียงจะทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร
คอลเลงคิมา (collenchyma)
1. เซลลมีรูปรางหลายเหลี่ยมคอนขางยาว
2. ผนังเซลลหนาไมสม่าเสมอมักหนาตามมุมเซลล เพราะมี สารพวก
เพคตินมาสะสม (Pectin)
3. เมื่อโตเต็มที่เซลลยังมีชีวิต
บริเวณที่พบ พบมีอยูมากทั้งในสวนออนและสวนแกของพืช บริเวณ
ใตชั้นเอพิเดอรมิสลงมา พบที่กานใบ เสนกลางใบ ไม่พบในราก
หน้าที่ ชวยทาใหสวนตางๆของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยูได
และยังชวยปองกันแรงเสียดทาน
คอลเลงคิมา (collenchyma)
ลักษณะของคอลเลงคิมา
ที่มา http://www.science.smith.
คอลเลงคิมาในลาต้น
สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)
เปนเซลลที่ใหความแข็งแรงแกสวนตาง ๆ ของพืช เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว
มักจะกระจายอยูเปนกลุมๆ ผนังเซลลหนาและแข็งแรง ประกอบด้วย
เซลลูโลส ลิกนิน เพกติน และซูเบอริน บริเวณกลางเซลล์ที่เคยมีไซ
โทพลาซึมอยู่ จะกลายเป็นที่ว่างเพราะไซโทพลาซึมจะสลายไปเรียก
บริเวณกลางเซลล์ว่า ลูเมน (lumen)
สเกลอเรงคิมาแบงออกเปน
2 พวก ตามรูปราง คือ
1. ไฟเบอร (fiber) เปนเซลลที่มีรูปรางหลายเหลี่ยมและยาว
อยูรวมกันเปนกลุม แข็งเหนียว พบในพืชที่ใหเสนใยตางๆ เชน
ปาน ปอ สับปะรด หน่อไม้ เปนตน นอกนั้นยังพบในกลุมของ
ทอน้า ทออาหาร
2) สเกลอรีด (sclereid) หรือเซลล์หิน (stone cell) เป็นเซลล์ที่ตายแล้วมี
สารพวกเพกติน (pectin) และลิกนิน (lignin) มาสะสมอยู่มาก จึงแข็งและ
กรอบ มีหลายรูปร่าง เช่น รูปหลายเหลี่ยม รูปดาว เป็นต้น พบบริเวณ เช่น
เปลือกหุ้มเมล็ดของพวกพุทรา มะยม กะลามะพร้าว เปลือกถั่วลิสง และ
ก้านบัว
ภาพเปรียบเทียบเนื้อเยื่อพาเรงคิมา คอลเลงคิมา และ สเกลอเรงคิมา
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent tissue)
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์หลายชนิดมา
ทางานร่วมกันเพื่อทาหน้าที่อย่างเดียวกัน ได้แก่ เนื้อเยื่อลาเลียง
(vascular tissue) ประกอบด้วย เนื้อเยื่อลาเลียงน้า
(xylem)และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร(phloem)
ไซเลม (xylem)
ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุช่วยค้า จุนเสริมความแข็งแรง
ให้แก่ส่วนต่างๆของพืช ประกอบด้วย
1. tracheid
2. vessel member
3. xylem fiber
4. xylem parenchyma
รูปร่างยาว หัวท้ายค่อนข้าง
แหลม ผนังเซลล์หนามี
สารพวกลิกนินสะสม ผนังมี
รูพรุนที่เรียกว่า pit เมื่อโต
เต็มที่จะตาย พบมากในเฟริ์น
จิมโนสเปิร์ม
หน้าที่ ลาเลียงน้าแร่ธาตุช่วย
ค้าจุน
เทรคีด (Tracheid)
ที่มา http://facweb.furman.edu/~lthompson/bgy34/plantanatomy/plant_cells.htm
เวสเซล (Vessel)
• เป็นเซลล์ที่มีลักษณะเป็นท่อสั้นๆ
ปลายเซลล์อาจเฉียง หรือ ตรง เมื่อ
เซลล์เจริญเต็มที่แล้วเซลล์จะตายไป
ท่อสั้นแต่ละท่อเรียกว่า vessel
member หรือ vessel element
• ผนังหนาเป็นสารพวกลิกนินมาสะสม
มีช่องทะลุถึงกัน ซึ่งมีลักษณะเป็น
รอยปรุหรือรูพรุนที่
• ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
ที่มา http://www.dbdmart.com/lifesigngatc/product.php?cat=88432&lang=en
ผนังหนา รูปร่างยาวเรียว หัวท้ายแหลม มีลักษณะคล้ายเส้นใย
เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว แต่ยังคงทาหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่พืชเท่านั้น
ไซเลมไฟเบอร์ (xylem fiber)
ไซเลม พาเรงคิมา (xylem parenchyma)
เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตมีผนังบาง แต่เมื่อแก่แล้วจะมีสาร
ลิกนินมาสะสม ทาให้ผนังหนาขึ้น ปกติจะเรียงตัวในแนวตั้งแต่
บางกลุ่มจะเรียงตัวตามขวาง หรือตามแนวรัศมี
ทาหน้าที่ ลาเลียงน้าและเกลือแร่ไปตามด้านข้าง เรียกว่า
ไซเลมเรย์ (xylem ray) และสะสมอาหารพวกแป้ง น้ามัน
โพลเอ็ม (phloem)
ทาหน้าที่ลาเลียงสารอาหาร ประกอบด้วย
1. Sieve tube member
2. Companion cell
3. Phloem fiber
4. Phloem parenchyma
โพลเอ็ม (phloem)
ซีพทิวบ์ (sieve tube)
มีรูปร่างยาว ปลายทั้ง 2 ด้านค่อนข้างแหลม มีรูเล็กคล้ายตะแกรง
เรียกว่า ซีพเพลท (Sieve plate) ซีพทิวบ์เมมเบอร์หลาย ๆ เซลล์มา
เรียงต่อกันเป็นท่อยาวๆ เรียกว่า ซีพทิวบ์ (Sieve tube) ซีฟทิวบ์เมื่อ
เกิดใหม่ๆ จะมีนิวเคลียส และออร์แกเนลล์ (organell) อื่นๆ ครบ
สมบูรณ์ แต่พอเจริญเต็มที่แล้ว นิวเคลียสจะสลาย ไปเหลือแต่ไซโทพลา
ซึมยังคงมีชีวิตอยู่
หน้าที่ของซีฟเทิวบ์แมมเบอร์ คือ ลาเลียงอาหาร
Sieve plate
แสดงลักษณะของ Sieve plate
เซลล์คอมพาเนียน (Companion cell)
เป็นเซลล์ขนาดเล็ก รูปร่างเรียวยาวปลายแหลม มี นิวเคลียสขนาด
ใหญ่ เห็นชัดเจน จะปรากฎอยู่ด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์ มีพิท (pit)
เชื่อมเซลล์ทั้ง สองเข้าด้วยกันทา ให้ส่งผ่านสาร เช่น เอนไซม์ให้แก่ซีฟทิวบ์
เมมเบอร์
หน้าที่ของเซลล์คอมพาเนียน
1. ช่วยในการลาเลียงอาหารของซีฟทิวบ์เมมเบอร์ให้ทางานได้ดีขึ้น
เนื่องจากซีฟทิวบ์เมมเบอร์ เมื่อแก่ลงไม่มีนิวเคลียสทาให้ทางานไม่เต็มที่
2. ควบคุมการทางานของซีฟทิวบ์เมมเบอร์โดยการสร้างเอนไซม์ไปควบคุม
3. เสริมสร้างความแข็งแรงให้กับซีฟทิวบ์เมมเบอร์
โพลเอ็มไฟเบอร์ (Phloem fiber)
รูปร่างเรียวยาวหัวแหลมท้ายแหลม เป็นเซลล์ไม่มีชีวิต ทาหน้าที่ให้
ความแข็งแรงแก่พืชเท่านั้น
โพลเอ็มพาเรงคิมา (Phloem parenchyma)
รูปร่างค่อนข้างกลม ผนังเซลล์บางเป็นเซลล์ที่มีชีวิต
หน้าที่ของโพลเอ็มพาเรงคิมา
1. สะสมอาหารที่สร้างจากแหล่งสร้างอาหาร รวมทั้งสารจา
พวกน้ายาง เช่นยางสน
2. ลาเลียงอาหารไปเลี้ยงเซลล์ที่อยู่ด้านข้าง (Phloem ray)
Tissue oui

More Related Content

What's hot

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 

What's hot (20)

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
 

Similar to Tissue oui

9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์zidane36
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังKang ZenEasy
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 

Similar to Tissue oui (20)

9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Body
BodyBody
Body
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

More from Oui Nuchanart

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 

More from Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 

Tissue oui

  • 2. เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) มีหลายชนิดประกอบด้วยเซลล์ ที่มีลักษณะแตกต่างกันไป โดยมีลักษณะร่วมที่สาคัญ คือ การมีผนังเซลล ์(cell wall) - primary cell wall cellulose - middle lamella pectin **secondary cell wall หรือ secondary cell lignin
  • 3. ภาพ เซลล์พืช ที่มา : http:// www.phschool.com, 2554.
  • 4. เนื้อเยื่อของพืช (plant tissue) พืชเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยเซลล์ (cell) หลายๆ เซลล์รวมกลุ่มทางานร่วมกัน กลุ่มของเซลล์ที่มาทางานร่วมกันนี้ เราเรียกเนื้อเยื่อ(tissue) เนื้อเยื่อพืชแบ่งเป็น 2 ประเภท (ตามความสามารถในการแบ่งตัว) ได้แก่ 1.เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues) 2.เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)
  • 5. เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues) คือ กลุ่มของเซลล์ที่มีการเจริญและแบ่งตัวแบบ……….. อยู่ ตลอดเวลา ลักษณะของเนื้อเยื่อเจริญ • เซลลมีขนาดเล็ก • ผนังเซลลบาง • มีนิวเคลียสขนาดใหญ • vacuoles ไมมี หรือ มีขนาดเล็ก • ไมมี intercellular spaces
  • 6. ชนิดของเนื้อเยื่อเจริญ 1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem) คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณปลายยอด (shoot tip ) หรือปลายราก (root tip) ของพืช เมื่อมีการแบ่งตัวเพิ่มจานวนเซลล์จะทาให้ รากและลาต้นยืดยาวออก เพิ่มความสูงให้กับต้นพืช เป็นการ เจริญขั้นแรก (Primary growth) จาแนกตามตาเหนงที่อยูแบงไดเปน 3 ชนิด
  • 8. 2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem) คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณเหนือข้อ หรือโคนของปล้องในพืชใบ เลี้ยงเดี่ยว เช่น อ้อย ไผ่ ข้าวโพด หรือหญ้า เป็นต้น เมื่อมี การแบ่งตัวจะช่วยให้ปล้องยาวขึ้น
  • 10. 3. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem หรือ axillary meristem) คือ เนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวออกด้านข้างของลาต้นหรือราก เมื่อแบ่งตัวแล้วจะทาให้ลาต้น ราก ขยายขนาดออกทางด้านข้าง หรือมีขนาดใหญ่ขึ้น พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทั่วไป และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว บางชนิด เช่น จันทน์ผา หมากผู้หมากเมีย เป็นต้น เนื้อเยื่อเจริญ ด้านข้างเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แคมเบียม (cambium) แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
  • 12. แคมเบียม (cambium) เนื้อเยื่อเจริญด้านข้างมี 2 ชนิด ถ้าพบอยู่ระหว่าง xylem และ phloem จะเรียกว่า วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular cambium) ซึ่งเมื่อแบ่งเซลล์จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อท่อลาเลียง (vascular tissue) เพิ่มขึ้น และถ้าพบอยู่ในเนื้อเยื่อเอพิเดอร์มิส (epidermis) โดยอยู่ถัด เข้าไปจากเอพิเดอร์มิส เรียกว่าคอร์กแคมเบียม (cork cambium) ซึ่งเมื่อ แบ่งเซลล์จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อคอร์ก (cork)
  • 13. Vascular cambium Vascular cambium ในลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ สุมิตรา จันแย้, 2553
  • 14. cork cambium หรือ Phellogen เนื้อเยื่อเจริญคอร์กแคมเบียมในลาต้นพืช : Jane B. และคณะ, 1990 :752.
  • 15. เนื้อเยื่อเจริญจาแนกตามการเกิดและการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ แบงเปน3 ชนิด คือ Promeristem , Primary meristem และ Secondary meristem 1. PROMERISTEM เปนเนื้อเยื่อเจริญที่เกิดขึ้นใหม ๆ ประกอบขึ้น ดวยเซลลที่มีรูปรางคลายคลึงกันมาก และขนาดเทากันหมด มี Cell wall บาง ไมมีแวคิวโอล มีนิวเคลียสใหญ และไมมีชองวาง ระหวางเซลล พบมากตามปลายสุดของราก กิ่ง ตา
  • 16. 2. PRIMARY MERISTEM เปนเนื้อเยื่อเจริญที่เปลี่ยนแปลงไปจาก Promeristem แตยังไมสมบูรณ พบในบริเวณปลายยอดและปลาย ราก ในรากเปนบริเวณที่เรียกวา Zone of cell elongetion เนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้ยังมีการแบงเซลลตอไปอีกกลายเปนเนื้อเยื่อถาวร ชนิด Primary permanent tissue การแบงตัว ทาใหสวนตาง ๆ ของพืชมี (Primary growth ) ยืดยาวสูงขึ้น รวมทั้งขยายขนาดให้ อ้วนขึ้นไดประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 บริเวณ
  • 17. 2.1 Protoderm แบงตัว เจริญเติบโตเปลี่ยนแปลง เปน Epidermis 2.2 Ground meristem แบงตัวเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลง Cortex ซึ่งอยูถัด จาก epidermis เขาไปขางใน และยังจะไปเปน Pith และ Pith ray (ในลาตน) อีกดวย - Cortex ทาหนาที่เปนแหลงสะสมอาหาร และขณะที่ยังออนอยูก็ทาหนาที่ เปนแหลงสรางอาหารและปองกันดวย สวน Pith และ Pith ray ยังทาหนาที่ ลาเลียงน้าเกลือแร และอาหารไปทางดานขาง 2.3 Procambium เปนเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณชั้นในสุดที่เรียกวา Vascular Tissue ทาหนาที่เปนทอในการลาเลียงน้า เกลือแร และอาหาร
  • 18.
  • 19.
  • 20. 3. Secondary meristem เปนเนื้อเยื่อเจริญ พบในราก และลาตนของ พืชใบเลี้ยงคู และพวกจิมโนสเปรม (gymnosperm) เมื่อมันตองการขยาย ขนาดใหอวนใหญขึ้น โดยเนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้ มีการแบงตัวเจริญเติบโต เปลี่ยนแปลงไปเปนเนื้อเยื่อถาวรที่เรียกวา Secondary permanent tissue - Secondary meristem ประกอบดวย 2 ชนิด คือ Cambium และ Cork Cambium 3.1 Cambium ทาหนาที่สรางเนื้อเยื่อถาวรพวก Secondary vascular tissue 3.2 Cork cambium สวนใหญเกิดจากการแบงตัวของ Parenchyma cell เกิดขึ้นใน Cortex ของลาตนบริเวณใกล ๆ กับ Epidermis มีหนาที่ในการ สราง Cork ขึ้นหุมตน
  • 21.
  • 22. • ระบบเนื้อเยื่อของพืช แบ่งออกตามระบบของซาค (Sach’ classification) แบ่งเนื้อเยื่อออกเป็น 3 ชนิด 1. เนื้อเยื่อผิว (dermal tissue) ประกอบด้วยเอพิเดอร์มิส ซึ่งทาหน้าที่ ป้องกันเนื้อเยื่อส่วนในของพืช 2. เนื้อเยื่อลาเลียง (vascular tissue) ประกอบด้วยโฟลเอ็มและไซเล็ม 3. เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) ประกอบด้วยเนื้อเยื่ออื่นๆ นอกจาก เนื้อเยื่อผิวและเนื้อเยื่อลาเลียง
  • 23.
  • 24.
  • 25. เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues) หมายถึงเนื้อเยือที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่เจริญ เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ จะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกต่อไป มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ขนาด เพื่อไปทาหน้าที่เฉพาะอย่าง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue) 2. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน(Compount permanent tissue)
  • 26. ลักษณะสาคัญของเนื้อเยื่อถาวร มีลักษณะดังนี้ 1. ไม่มีการแบ่งเซลล์ 2. รูปร่างของเซลล์คงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 3. มีการสะสมสารบนผนังเซลล์มาก ก่อให้เกิดความแข็งแรง 4. มีแวคิวโอลขนาดใหญ่
  • 27. เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue) 2. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Compount permanent tissue)
  • 28. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue) เปนเนื้อเยื่อที่เกิดจากเซลลถาวรชนิดเดียวกันมาอยูรวม กันและทาหนาที่รวมกันมีหลายชนิดพบทั้งในราก ลาต้น ใบและ ส่วนต่างๆ ของพืชเช่น - เอพิเดอรมิส (Epidermis) - คอรก (Cork) Protective tissue - พาเรงคิมา(Parenchyma) - คอลเลงคิมา(Collenchyma) Ground tissue - สเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma)
  • 29. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์หลายชนิดมา ทางานร่วมกันเพื่อทาหน้าที่อย่างเดียวกัน ได้แก่ เนื้อเยื่อลาเลียง (vascular tissue) ประกอบด้วย เนื้อเยื่อลาเลียงน้า (xylem)และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร(phloem)
  • 30. เอพิเดอร์มิส (Epidermis) 1. เปนเนื้อเยื่อที่อยูรอบนอกสุด ของพืชที่เจริญในขั้นตน (primary growth) 2. เซลลเรียงแถวเดียวเบียดกันแนนไมมีชองวางระหวางเซลล 3. ผนังเซลลมีสารคิวติน(Cutin)มาเคลือบ เรียกชั้นที่เกิดจากการสะสมของ สารคิวตินนี้วาชั้นคิวติเคิล (Cuticle) 4. บางเซลลเปลี่ยนแปลงไปทาหนาที่พิเศษ เชน Guard cell , Root hair 5. ไมมีคลอโรพลาสต บริเวณที่พบ : เปนเนื้อเยื่อที่อยูชั้นนอกสุด พบทุกสวนของลาตน กิ่ง ราก ชั้นนอกของกลีบดอก ใบ และผลออน
  • 31. หน้าที่ของ Epidermis 1. เป็นเครื่องห่อหุ้ม ป้องกันเนื้อเยื่อของพืชที่อยู่ข้างในทั้งหมด และช่วยเสริม ความแข็งแรง 2. ช่วยป้องกันการระเหยของน้า เพราะมีสารพวกคิวติน (cutin) เคลือบด้าน นอกไว้ 3. เซลล์คุมช่วยควบคุมการแลกเปลี่ยนก๊าซ CO2 , O2 และคายน้า 4. ขนรากช่วยในการดูดน้า และสารละลายแร่ธาตุผ่านทางขนราก (root hair)
  • 35. เอนโดเดอร์มิส (Endodermis) เปนเนื้อเยื่อที่อยูดานนอกของเนื้อเยื่อลาเลียงของราก เซลล มีรูปรางคลายเซลลพาเรงคิมา ที่ผนังเซลลมีสารลิกนิน และ ซูเบอริน มาพอกหนาทั้งทางดานรัศมีและดานขวาง มี ลักษณะเปนแถบ เรียกวา แถบแคสพาเรียนสตริพ (Casparianstrip) เซลลเรียงตัวกันแนนไมมีชองวาง
  • 37. คอร์ก (Cork) หรือเฟลเลม (Phellem) cork เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของรากและลาต้นที่แก่แล้วของไม้ยืนต้น ประกอบด้วยเซลล์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า คอร์กเป็นเซลล์ที่เกิดมาไม่นาน เซลล์ก็ตาย และมีสารพวกลิกนิน (lignin) เพกติน (pectin) และซูเบอริน (suberin) มาสะสมแทรกปะปนกับเซลลูโลสของ ผนังเซลล์มากขึ้น พืชที่มีอายุมากแล้ว เปลือกนอกมีสีน้าตาล น้าผ่าน ไม่ได้ คอร์กทาหน้าที่ให้ความแข็งแรง ชดเชย เอพิเดอร์มิสที่หายไป เนื่องจากการกร่อนและถูกทาลายโดยเชื้อรา
  • 38. Cork
  • 40. พาเรงคิมา (parenchyma) พบได้แทบทุกส่วนของอวัยวะพืช รูปร่างหลายแบบ บางเซลล์ ค่อนข้างกลม รี ทรงกระบอกหรือ เป็นเหลี่ยม มีช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space) ถ้าเซลล์ ชนิดนี้มีเม็ดคลอโรพลาสต์อยู่ด้วย เรียกว่า คลอเรงคิมา (chlorenchyma)ช่องว่างระหว่างเซลล์ ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
  • 41.
  • 42. ตัดตามยาว (long section) ตัดตามขวาง (cross section) พาเรงคิมา (parenchyma) ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
  • 43. พาเรงคิมา (parenchyma) ช่องอากาศ (air space) สะสมแป้ง ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
  • 44. หน้าที่ของพาเรงคิมา 1. สะสมน้าและอาหารพวกแป้ง โปรตีน และไขมัน 2. ในลาต้นพืชอ่อน ๆ ทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง 3. ในพืชตระกูลถั่วจะอยู่รวมเป็นกลุ่มที่โคนก้านใบทาหน้าที่เกี่ยวกับ การหุบใบ กางใบในรอบวัน 4. สามารถแปรสภาพเปนเนื้อเยื่อเจริญไดเมื่อถูกกระตุนเชน เมื่อเกิด บาดแผลจะทาสมานบาดแผล 5. ใบพืชบางชนิดจะเจริญเปลี่ยนไปเป็นต่อมสร้างสาร เช่น สร้างน้ามัน 6. พาเรงคิมาในมัดท่อลาเลียงจะทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร
  • 45. คอลเลงคิมา (collenchyma) 1. เซลลมีรูปรางหลายเหลี่ยมคอนขางยาว 2. ผนังเซลลหนาไมสม่าเสมอมักหนาตามมุมเซลล เพราะมี สารพวก เพคตินมาสะสม (Pectin) 3. เมื่อโตเต็มที่เซลลยังมีชีวิต บริเวณที่พบ พบมีอยูมากทั้งในสวนออนและสวนแกของพืช บริเวณ ใตชั้นเอพิเดอรมิสลงมา พบที่กานใบ เสนกลางใบ ไม่พบในราก หน้าที่ ชวยทาใหสวนตางๆของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยูได และยังชวยปองกันแรงเสียดทาน
  • 48. สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma) เปนเซลลที่ใหความแข็งแรงแกสวนตาง ๆ ของพืช เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว มักจะกระจายอยูเปนกลุมๆ ผนังเซลลหนาและแข็งแรง ประกอบด้วย เซลลูโลส ลิกนิน เพกติน และซูเบอริน บริเวณกลางเซลล์ที่เคยมีไซ โทพลาซึมอยู่ จะกลายเป็นที่ว่างเพราะไซโทพลาซึมจะสลายไปเรียก บริเวณกลางเซลล์ว่า ลูเมน (lumen)
  • 49. สเกลอเรงคิมาแบงออกเปน 2 พวก ตามรูปราง คือ 1. ไฟเบอร (fiber) เปนเซลลที่มีรูปรางหลายเหลี่ยมและยาว อยูรวมกันเปนกลุม แข็งเหนียว พบในพืชที่ใหเสนใยตางๆ เชน ปาน ปอ สับปะรด หน่อไม้ เปนตน นอกนั้นยังพบในกลุมของ ทอน้า ทออาหาร
  • 50. 2) สเกลอรีด (sclereid) หรือเซลล์หิน (stone cell) เป็นเซลล์ที่ตายแล้วมี สารพวกเพกติน (pectin) และลิกนิน (lignin) มาสะสมอยู่มาก จึงแข็งและ กรอบ มีหลายรูปร่าง เช่น รูปหลายเหลี่ยม รูปดาว เป็นต้น พบบริเวณ เช่น เปลือกหุ้มเมล็ดของพวกพุทรา มะยม กะลามะพร้าว เปลือกถั่วลิสง และ ก้านบัว
  • 52. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์หลายชนิดมา ทางานร่วมกันเพื่อทาหน้าที่อย่างเดียวกัน ได้แก่ เนื้อเยื่อลาเลียง (vascular tissue) ประกอบด้วย เนื้อเยื่อลาเลียงน้า (xylem)และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร(phloem)
  • 54. รูปร่างยาว หัวท้ายค่อนข้าง แหลม ผนังเซลล์หนามี สารพวกลิกนินสะสม ผนังมี รูพรุนที่เรียกว่า pit เมื่อโต เต็มที่จะตาย พบมากในเฟริ์น จิมโนสเปิร์ม หน้าที่ ลาเลียงน้าแร่ธาตุช่วย ค้าจุน เทรคีด (Tracheid) ที่มา http://facweb.furman.edu/~lthompson/bgy34/plantanatomy/plant_cells.htm
  • 55. เวสเซล (Vessel) • เป็นเซลล์ที่มีลักษณะเป็นท่อสั้นๆ ปลายเซลล์อาจเฉียง หรือ ตรง เมื่อ เซลล์เจริญเต็มที่แล้วเซลล์จะตายไป ท่อสั้นแต่ละท่อเรียกว่า vessel member หรือ vessel element • ผนังหนาเป็นสารพวกลิกนินมาสะสม มีช่องทะลุถึงกัน ซึ่งมีลักษณะเป็น รอยปรุหรือรูพรุนที่ • ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ ที่มา http://www.dbdmart.com/lifesigngatc/product.php?cat=88432&lang=en
  • 56. ผนังหนา รูปร่างยาวเรียว หัวท้ายแหลม มีลักษณะคล้ายเส้นใย เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว แต่ยังคงทาหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่พืชเท่านั้น ไซเลมไฟเบอร์ (xylem fiber)
  • 57. ไซเลม พาเรงคิมา (xylem parenchyma) เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตมีผนังบาง แต่เมื่อแก่แล้วจะมีสาร ลิกนินมาสะสม ทาให้ผนังหนาขึ้น ปกติจะเรียงตัวในแนวตั้งแต่ บางกลุ่มจะเรียงตัวตามขวาง หรือตามแนวรัศมี ทาหน้าที่ ลาเลียงน้าและเกลือแร่ไปตามด้านข้าง เรียกว่า ไซเลมเรย์ (xylem ray) และสะสมอาหารพวกแป้ง น้ามัน
  • 60. ซีพทิวบ์ (sieve tube) มีรูปร่างยาว ปลายทั้ง 2 ด้านค่อนข้างแหลม มีรูเล็กคล้ายตะแกรง เรียกว่า ซีพเพลท (Sieve plate) ซีพทิวบ์เมมเบอร์หลาย ๆ เซลล์มา เรียงต่อกันเป็นท่อยาวๆ เรียกว่า ซีพทิวบ์ (Sieve tube) ซีฟทิวบ์เมื่อ เกิดใหม่ๆ จะมีนิวเคลียส และออร์แกเนลล์ (organell) อื่นๆ ครบ สมบูรณ์ แต่พอเจริญเต็มที่แล้ว นิวเคลียสจะสลาย ไปเหลือแต่ไซโทพลา ซึมยังคงมีชีวิตอยู่ หน้าที่ของซีฟเทิวบ์แมมเบอร์ คือ ลาเลียงอาหาร
  • 62. เซลล์คอมพาเนียน (Companion cell) เป็นเซลล์ขนาดเล็ก รูปร่างเรียวยาวปลายแหลม มี นิวเคลียสขนาด ใหญ่ เห็นชัดเจน จะปรากฎอยู่ด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์ มีพิท (pit) เชื่อมเซลล์ทั้ง สองเข้าด้วยกันทา ให้ส่งผ่านสาร เช่น เอนไซม์ให้แก่ซีฟทิวบ์ เมมเบอร์ หน้าที่ของเซลล์คอมพาเนียน 1. ช่วยในการลาเลียงอาหารของซีฟทิวบ์เมมเบอร์ให้ทางานได้ดีขึ้น เนื่องจากซีฟทิวบ์เมมเบอร์ เมื่อแก่ลงไม่มีนิวเคลียสทาให้ทางานไม่เต็มที่ 2. ควบคุมการทางานของซีฟทิวบ์เมมเบอร์โดยการสร้างเอนไซม์ไปควบคุม 3. เสริมสร้างความแข็งแรงให้กับซีฟทิวบ์เมมเบอร์
  • 63. โพลเอ็มไฟเบอร์ (Phloem fiber) รูปร่างเรียวยาวหัวแหลมท้ายแหลม เป็นเซลล์ไม่มีชีวิต ทาหน้าที่ให้ ความแข็งแรงแก่พืชเท่านั้น
  • 64. โพลเอ็มพาเรงคิมา (Phloem parenchyma) รูปร่างค่อนข้างกลม ผนังเซลล์บางเป็นเซลล์ที่มีชีวิต หน้าที่ของโพลเอ็มพาเรงคิมา 1. สะสมอาหารที่สร้างจากแหล่งสร้างอาหาร รวมทั้งสารจา พวกน้ายาง เช่นยางสน 2. ลาเลียงอาหารไปเลี้ยงเซลล์ที่อยู่ด้านข้าง (Phloem ray)