SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
ระบบเลขฐานที่ใชในคอมพิวเตอร
        เปนที่ทราบกันดีวาคอมพิวเตอรทํางานดวยกระแสไฟฟา ดังนั้นจึงมีการแทนที่สภาวะของกระแสไฟฟา
ได 2 สภาวะ คือ สภาวะที่มกระแสไฟฟา และสภาวะที่ไมมีกระแสไฟฟา และเพื่อใหโปรแกรมเมอรสามารถสั่ง
                           ี
การคอมพิวเตอรได จึงไดมการสรางระบบตัวเลขที่นํามาแทนสภาวะของกระแสไฟฟา โดยตัวเลข 0 จะแทน
                             ี
สภาวะไมมีกระแสไฟฟา และเลข 1 แทนสภาวะมีกระแสไฟฟา


      สภาวะมีกระแสไฟฟา แทนดวยตัวเลข 1


      สภาวะไมมีกระแสไฟฟา แทนดวยตัวเลข 0
ระบบตัวเลขทีมีจํานวน 2 จํานวน (2 คา) เรียกวาระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ซึ่งเปนระบบตัว
              ่
เลขที่สามารถนํามาใชในการสั่งงานคอมพิวเตอร โดยการแทนที่สภาวะตางๆ ของกระแสไฟฟา แตใน
ชีวิตประจําวันของคนเราจะคุนเคยกับตัวเลขที่มีจํานวน 10 จํานวน คือ เลข 0 - 9 ซึ่งเรียกวาระบบเลขฐานสิบ
(Decimal Number System) ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองศึกษาระบบเลขฐาน ประกอบการการศึกษาวิชาดาน
คอมพิวเตอร
ระบบจํานวนที่ใชในทางคอมพิวเตอร ประกอบดวย
     • ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1

     • ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) ประกอบดวยตัวเลข 0 - 7

     • ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ประกอบดวยตัวเลข 0 - 9

     • ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) ประกอบดวยตัว เลข 0 - 9 และ A - F




   ระบบจํานวน                                         จํานวนหลัก (Digit)
   ฐานสอง                   0 1
   ฐานแปด                   0 1 2 3 4 5 6 7 8
   ฐานสิบ                   0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
   ฐานสิบหก                 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System)
       ระบบเลขฐานสิบ เปนระบบเลขที่ใชกันในชีวิตประจําวัน ไมวาจะนําไปใชคานวณประเภทใด โดยจะมี
                                                                           ํ
สัญลักษณที่ใชแทนตัวเลขตางๆ ของเลขฐานสิบ (Symbol) จํานวน 10 ตัว ตัวเลขหรือที่เรียกวา Digit ที่ใชแทน
ระบบเลขฐานสิบ ไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9
                                                  เลขฐาน 10
              0         1           2   3        4         5          6    7           8         9
ตัวเลขแตละตัวจะมีคาประจําตัว โดยกําหนดใหคาที่นอยที่สุด คือ 0 (ศูนย) และเพิ่มคาทีละหนึ่ง จนครบจํานวน
10 ตัว ดังนันคามากที่สุด คือ 9 การนําตัวเลขเหลานี้ มารวมกลุมกัน ทําใหเกิดความหมายเปน "คา" นัน อาศัย
            ้                                                                                     ้
วิธีการกําหนด "หลัก" ของตัวเลข (Position Notation) กลาวคือ คาของตัวเลขจํานวนหนึ่ง พิจารณาไดจากสอง
สิ่งคือ
     • คาประจําตัวของตัวเลขแตละตัว

     • คาหลักในตําแหนงที่ตวเลขนั้นปรากฎอยู
                                ั
ในระบบทีวาดวยตําแหนงของตัวเลข ตําแหนงที่อยูทางขวาสุด จะเปนหลักที่มีคานอยที่สุด เรียกวา Least
           ่
Sinificant Digit (L S D) และตัวเลขที่อยูในหลักซายสุดจะมีคามากที่สด เรียกวา Most Sinificant Digit (M S D)
                                                                  ุ
                                                คาตัวเลข 1,545
    Most Sinificant Digit (M S D)                                              Least Sinificant Digit (L S D)
                  1                         5                     4                          5
นิยาม คาหลักของตัวเลขใดๆ คือ คาของฐานยกกําลังดวยคาประจําตําแหนง ของแตละหลัก โดยกําหนดใหคา
ประจําตําแหนงของหลักของ LSD มีคาเปน 0
        ในระบบเลขฐานสิบ จะมีสญลักษณอยู 10 อยาง คือ 0 - 9 จํานวนขนาดของเลขฐานสิบ สามารถอธิบาย
                                      ั
ได โดยใชตําแหนงน้ําหนักของแตละหลัก (Postional Weight) โดยพิจารณาจากเลข ดังตอไปนี้
3472 สามารถขยายไดดังนี้
                            = 3000 + 400 + 70 + 2
                 3472
                            = (3 x 103) + (4 x 102) + (7 x 101) + (2 x 100)
จะเห็นวาน้ําหนักตามตําแหนง ของตัวเลขตางๆ สามารถขยายตามระบบจํานวนได และถูกแทนที่ดวยสมการ
                                                                                        
ดังตอไปนี้
N = dnRn + ... + d3R3 + d2R2 + D1R1 + D0R0               เมื่อ
       N          คือ คาของจํานวนฐานสิบทีตองการ
                                              ่
       dn         คือ ตัวเลขที่อยูในตําแหนงตางๆ
       R          คือ ฐานของจํานวนตัวเลขนันๆ    ้
       n          คือ คายกกําลังของฐานตามตําแหนงตางๆ
ดังนั้น
   1257 =               1 x 103       +        2 x 102       +           5 x 101   +        7 x 100
เลขที่เปนเศษสวน หรือจํานวนผสมนั้น ก็สามารถจะเขียนในรูป Positional Notation ไดเชนกัน โดยตัวเลขแต
ละหลัก จะอยูในตําแหนงหลังจุดทศนิยม กําลังของหลัก จะมีคาเปนลบ เริ่มจากลบ 1 เปนตนไป นับจากนอยไป
              
หามาก ดังนั้นในระบบเลขฐานสิบ หลักแรกหลังจุดทศนิยม จะมีคาเทากับ เลขจํานวนนั้นคูณดวย 10-1 ตัวที่สอง
จะเปน -2 ไปเรือยๆ
                ่
   456.395 =       4 x 102 + 5 x 101 + 6 x 100 + 3 x 10-1 + 9 x 10-2 + 5 x 10-3
กฎการแทนตัวเลขนั้น สามารถนําไปใชกับระบบตัวเลขทัวๆ ไปได โดยไมคํานึงวา เลขนั้นจะเปนฐานอะไร
                                                ่

ระบบเลขฐานสอง
       ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณที่ใชเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 ถาเปรียบเทียบเลขฐานสอง กับ
เลขฐานสิบแลว คาของหลักที่ถัดจากหลักที่นอยที่สุด (LSD) ขึ้นไป จะมีคาเทากับ ฐานสองยกกําลังหมายเลข
                                                                     
หลัก แทนที่จะเปน 10 ยกกําลัง ดังนี้
                                       เลขฐานสิบ          เลขฐานสอง
                                    100 = 1    หนวย      20 = 1 หนึ่ง
                                    101 = 10 สิบ          21 = 2 สอง
                                    102 = 100 รอย        22 = 4 สี่
                                    103 = 1000 พัน        23 = 8 แปด
ระบบเลขฐานสองเกิดจากการใชตัวเลขเพียง 2 ตัว คือ 0 และ 1 ดังนั้น สมการคือ
        N = ... + (d3 x 23) + (d2 x 22) + (d1 x 21) + (d0 x 20)
        เมื่อ d คือคา 0 หรือ 1
        เชน 1101 = (1 x 23) + (1 x 22) + (0 x 21) + (1 x 20)
เพื่อตัดปญหายุงยาก ในการแทนคาของเลขระบบตางๆ เรานิยมเขียน ตัวเลขอยูในวงเล็บ และเขียนคาของฐาน
นั้น อยูนอกวงเล็บ เชน (101101)2 = (45)10
         
สําหรับเศษสวน จะเขียนคาของเศษสวนอยูหลังจุด (Binary Point) ยกกําลังเปนลบ เพิ่มขึ้นตามลําดับ ดังตัวอยาง
                                                
        (0.1011)2 = (1 x 2-1) + (0 x 2-2) + (1 x 2-3) + (1 x 2-4)

การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ
       การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ มีหลายวิธี แตทจะแนะนําคือ การกระจายคาประจําหลัก จากนั้น
                                                          ี่
นํามาบวกรวมกันอีกครั้ง ผลลัพธที่ไดจะเทากับคาในเลขฐานสิบ
ตัวอยาง 10111 มีคาเทากับเทาไรในระบบเลขฐานสิบ
วิธทํา
   ี
     1     0         1       1      1      =                            1 x 20
     1     0         1       1      1      =                            1 x 21
     1     0         1       1      1      =                            1 x 22
     1     0         1       1      1      =                            0 x 23
     1     0         1       1      1      =                            1 x 24
ดังนั้น (10111)2         = 1 x 24 + 0 x 23 + 1 x 22 + 1 x 21 + 1 x 20
                         = 16 + 0 + 4 + 2 + 1
(10111)2                 = 23
ตัวอยาง (110111)2 มีคาเทากับเทาไรในระบบเลขฐานสิบ
วิธทํา
   ี
N            = 1 x 25 + 1 x 24 + 0 x 23 + 1 x 22 + 1 x 21 + 1 x 20
             = 32 + 16 + 0 +4 + 2 + 1
1101112      = 5510

การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ # 2
          การแปลงเลขฐานสอง เปนเลขฐานสิบ วิธีที่สอง คือ Dibble Dobble Method โดยการนําเอาเลขหลัก
ซายสุด มาวางไว แลวคูณดวย 2 จากนั้นบวกดวยเลขบิททีอยู ทางขวามือ จากนั้นนําผลลัพธ มาคูณดวย 2 บอก
                                                      ่
ดวยเลขบิทตอไป ดังนี้
เชน ตองการแปลง (110111)2 เปนเลขฐานสิบ
บิทซายสุด                                          1
คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป              (2 x 1) + 1 = 3
คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป              (2 x 3) + 0 = 6
คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป           (2 x 6) + 1 = 13
คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป          (2 x 13) + 1 = 27
คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป          (2 x 27) + 1 = 55
ดังนั้น (110111)2 = (55)10
การแปลงเลขฐานสิบเปนฐานสอง
         การแปลงเลขฐานสิบเปนเลขฐานสองก็มีหลายวิธี แตทจะแนะนําคือ การหารดวย 2 แลวจดคาเศษจาก
                                                         ี่
การหารไว จนกระทั่งหารไมไดอีกแลว จากนั้นนําเศษ จากการหารแตละครั้ง มาไลลําดับจากลางขึนไปหาคา
                                                                                          ้
บนสุด ผลลัพธที่ไดจะเทากับคาในเลขฐานสอง
ตัวอยาง 2610 มีคาเทากับเทาไรในระบบเลขฐานสอง
วิธีทํา
         2 หาร               26          เทากับ        13        เศษ          0
         2 หาร               13          เทากับ            6     เศษ          1
         2 หาร                6          เทากับ            3     เศษ          0
         2 หาร                3          เทากับ            1     เศษ          1
         2 หาร                1           ไมได                  เศษ          1
ดังแสดงตามวิธีหารสั้น




         เมื่อหารไมได ใหนําคาเศษมาเรียงตอกัน โดยเรียงจากคาลางสุด ไปหาคาบนสุด เพราะฉะนันจะไดคา
                                                                                              ้
เทากับ 11010 ดังนั้น 26 (ในฐานสิบ) จึงมีคาเทากับ 110102
การแปลงเลขเศษสวนฐานสอง (Fractional Binary Numbers) ใหเปนฐานสิบ
         เนื้อหาที่กลาวไปแลว ไดกลาวถึงระบบเลขฐาน และการแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ การแปลง
เลขฐานสิบเปนเลขฐานสอง ในสวนของเลขจํานวนเต็ม ในสวนนี้จะแนะนําการแปลงเลขฐานที่เปนเลข
เศษสวน
สมการการแปลงเลขเศษสวนฐานสองเปนฐานสิบ คือ


เมื่อ
                N คือ คาของจํานวนฐานสิบที่ตองการ
                dn คือ ตัวเลขเศษสวนที่อยูในตําแหนงตางๆ
                R คือ ฐานของจํานวนตัวเลขนั้น (ในที่นี้คือ 2)
                n คือ คายกกําลังของฐานตามตําแหนงตางๆ โดยคานี้จะเปนคาติดลบของเลขตําแหนงหลัก นับ
                เริ่มจาก 1 ไปเรื่อยๆ นั่นคือ -1 ตอดวย -2 จนครบตําแหนงหลักของคานันๆ
                                                                                    ้
ตัวอยาง ตองการแปลงเลขเศษสวนฐานสอง 0.1011 เปนเลขฐานสิบ
พิจารณาทีละจุด
                ตําแหนงแรกของจํานวนที่ระบุ (d1) คือ 1 ซึ่งมีคายกกําลังฐานสองคือ -1 ดังนั้นคาประจํา
                ตําแหนงนี้คือ 1 x 2-1
                ตําแหนงที่สอง (d2) คือ 0 มีคายกกําลังฐานสองคือ -2 ดังนั้นคาประจําตําแหนงคือ 0 x 2-2
                ตําแหนงที่สาม (d3) คือ 1 มีคายกกําลังฐานสองคือ -3 ดังนั้นคาประจําตําแหนงคือ 1 x 2-3
                ตําแหนงที่ส่ี (d4) คือ 1 มีคายกกําลังฐานสองคือ -4 ดังนั้นคาประจําตําแหนงคือ 1 x 2-4
                สามารถเขียนสมการไดคือ




การแปลงเลขหลังทศนิยม (เศษสวน) ฐานสิบ (Fractional Decimal Numbers) ใหเปนฐานสอง
         การเปลี่ยนเลขหลังทศนิยมฐานสิบ ใหเปนฐานสอง จะใชวิธีการนําคาเลขหลังทศนิยมตั้ง แลวคูณดวย
สอง จากนั้นนําผลลัพธที่ไดเปนตัวตั้งในการคูณครั้งตอไป จนกวาคาผลลัพธสวนที่เปน เลขหลังทศนิยมเทากับ
.00 กรณีที่คณแลวไมลงตัวเทากับ .00 ก็ใหคูณจนไดคาที่ตองการ สุดทายนําคาตัวเลขกอนทศนิยม จากผลลัพธ
            ู
แตละครั้ง มาเขียนเรียงตอกัน ก็จะไดคาฐานสองที่ตองการ ดังตัวอยาง
ตัวอยาง ตองการแปลงเลข (0.65625)10 เปนเลขฐานสอง
พิจารณาทีละจุด
                  นํา 0.65625 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 1.31250
                       • คา 1 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักแรกของคาเลขฐานสอง

                       • นํา .31250 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป

                  นํา 0.31250 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 0.62500
                       • คา 0 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่สองของคาเลขฐานสอง

                       • นํา .62500 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป

                  นํา 0.62500 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 1.25000
                       • คา 1 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่สามของคาเลขฐานสอง

                       • นํา .25000 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป

                  นํา 0.25000 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 0.50000
                       • คา 0 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่สี่ของคาเลขฐานสอง

                       • นํา .50000 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป

                  นํา 0.5000 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 1.00000
•   คา 1 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่หาของคาเลขฐานสอง
                      • เนื่องจากเลขหลังทศนิยมเทากับ .00000 จึงไมตองคูณตอ

                 นําเลขกอนทศนิยมของการคูณแตละครั้ง มาเขียนเรียงกัน จะไดคาเทากับ 10101 ดังนันเลข
                                                                                                ้
                 ทศนิยมฐานสิบ 0.65625 จะเทากับ 0.10101 ในฐานสอง




       ดังนั้น 169 เทากับ 2518
ตองการแปลง 169 เปนฐาน 16 กระทําไดโดย
     16 หาร            169            เทากับ                        10     เศษ       9
        16 หาร           10                 ไมสามารถหารได                 เศษ       10
                              แตเนื่องจาก 10 เปนคาที่แสดงดวย A
ดังนั้น 169 เทากับ A916
การแปลงเลขฐาน 8 หรือ 16 เปนฐาน 10 ก็ใชวิธีเดียวกับการแปลงเลขฐาน 2 เปนฐาน 10 ดังตัวอยางที่แนะนํา
ไปกอนแลว
ระบบตัวเลขกับรหัสขอมูล
         รหัสขอมูล (Data Representation) หมายถึง รหัสที่ใชแทนตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณตางๆ ที่ประกอบ
อยูในคําสั่ง และขอมูล เพื่อใชในการประมวลผล สามารถแบงได 2 ประเภทคือ
     • รหัสภายในระบบคอมพิวเตอร (Internal Code) เปนรหัสที่ใชแทนขอมูลในหนวยความจําของ

         คอมพิวเตอร เชน
               o รหัส BCD - Binary Code Decimal

               o รหัส EBCDIC - Extended Binary Coded Decimal Interchange Code

               o รหัส ASCII - American Standard Code for Information Interchange

               o รหัส สมอ.

               o รหัส Unicode

    •     รหัสภายนอกระบบคอมพิวเตอร (External Code) เปนรหัสที่พัฒนาสําหรับบันทึกขอมูลนอกเครื่อง
          คอมพิวเตอร เชนรหัสที่ใชกบบัตรเจาะรู
                                     ั
รหัสภายในคอมพิวเตอร แทนไดกับสภาวะของกระแสไฟฟา ตามจํานวนสายสัญญาณ เชน ถามีสายสัญญาณ 2
เสน ก็สามารถสรางรหัสแทนขอมูลได 4 คา (คิดจาก 22) คือ
                                           สภาวะไฟฟา 2 เสน       รหัสขอมูล

                                                                       00

                                                                       01


                                                                       10


                                                                       11

ดังนั้นถามีสายสัญญาณ 8 เสน ก็สามารถสรางรหัสแทนขอมูลได จํานวน 28 = 256 คา เปนตน
                                              สภาวะไฟฟา 8 เสน                     รหัสขอมูล


                                                                                    00000000




                                                                                    00000001




                                                                                    11111111




บิต (Bit)
              สภาวะไฟฟา 1 เสน หรือคา 0 หรือ 1 แตละคาเรียกวา บิต (Bit) ซึ่งเปนคํายอของ "BInary digiT"
ไบต (Byte)
        กลุมของบิตที่มีความหมายเฉพาะเรียกวา ไบต (Byte) ดังนั้นถามีสายสัญญาณ 8 เสน แสดงวามี
สัญญาณที่สามารถผสมผสานกันได 8 บิต เมื่อนําคาสัญญาณตางๆ มาผสมผสานกัน ก็สามารถสรางรหัสแทน
ขอมูลได จํานวน 28 = 256 คา เปนตน ดังตัวอยางในตารางที่แสดงอักขระ, การเรียงกันของบิต และคาเลขฐาน
10 ที่แทนอักขระ
Character   Bit pattern    Byte    Character   Bit pattern    Byte
                                                          number                             number

                                   A        01000001        65        ผ        10111100       188


                                   B        01000010        66         .       00101110        46


                                   C        01000011        67         :       00111010        58


                                    a       01100001        97        $        00100100        36


                                   b        01100010        98                01011100        92


                                   o        01101111       111        ~        01111110       126


                                   p        01110000       112        1        00110001        49


                                   q        01110001       113        2        00110010        50


                                    r       01110010       114        9        00111001        57


                                   x        01111000       120        ฉ        10101001       169


                                   y        01111001       121        >        00111110        62


                                    z       01111010       122                 10001001       137



         ดังนั้นถาตองการปอนคําวา Hello จะมีคาเทากับขอมูลจํานวน 6 ไบต ซึ่งมักจะไดยนวา 1 ไบต เทียบกับ
                                                                                          ิ
1 ตัวอักษรนั่นเอง
Binary Code Decimal (BCD
         BCD เปนรหัสขอมูลที่ประกอบดวยเลขฐานสอง 6 บิต แทนขอมูล 1 อักขระ (1 Character) จึงสามารถ
สรางรหัสขอมูลไดจํานวน 26 = 64 รหัส
รหัสทั้ง 6 บิต แบงไดเปน 2 กลุม โดย 2 บิตแรกเรียกวา Zone Bit และ 4 บิตถัดไปเรียกวา Numeric Bit
Extended Binary Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC)
         EBCDIC เปนรหัสแบบ 8 บิต โดยใชเลขฐานสอง 8 ตัวแทนขอมูล 1 อักขระ ทําให
สามารถสรางรหัสได 256 รหัส (28) และยังสามารถใชเลขฐาน 16 มาใชแสดงรหัสขอมูลได
เชนกัน เปนระบบการลงรหัสที่พัฒนาโดย IBM
เนื่องจากพัฒนาจาก IBM ทําใหเปนรหัสที่เดนกวา ASCII เมื่อนําไปใชกบบัตรเจาะรู
                                                                         ั
(Punched cards) ตั้งแตป 1960 อีกทั้งยังมีอกขระ "cent sign" ซึ่งไมมีใน ASCII
                                            ั
American Standard Code for Information Interchange (ASCII)
         ASCII เปนรหัสที่นิยมใชกนอยางแพรหลายในปจจุบัน พัฒนาโดยสถาบันมาตรฐานแหงชาติ
                                  ั
สหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute: ANSI) ประกอบดวยเลขฐานสอง 7 บิต (ปจจุบันใช 8
บิต) เรียกวา 1 ไบต (Byte) แทนอักขระ 1 ตัว ซึ่งเปนรหัสที่นิยมใชกนบนคอมพิวเตอรระบบ PC ทั้งนี้ได
                                                                   ั
แบงเปน 3 ชุดคือ
    • 32 ชุดแรก (ตําแหนงที่ 0 - 31) แทนรหัสควบคุมตางๆ

    • ตําแหนงที่ 32 - 127 แทนอักขระภาษาอังกฤษ, ตัวเลขและสัญลักษณตางๆ เรียกวา Lower ASCII

    • 128 ชุดหลัง (ตําแหนงที่ 128 - 255) แทนอักขระในภาษาตางๆ เชน อักขระภาษาไทย เปนตน ทําให

         คอมพิวเตอรสามารถรับ/สงขอมูลภาษาอื่นๆ ได เรียกวา Higher ASCII
                                                 Lower ASCII
Higher ASCII




เครื่องมือแปลงเลขฐาน
         Binary:

                                                                                                              20
                   215   214   213   212   211      210   29   28          27   26   25   24   23   22   21



                                             Decimal:               Hex:


การใชงานแปลงเลขฐาน 10 หรือฐาน 16
   • ปอนตัวเลขฐาน 10 หรือฐาน 16 ในกรอบสีเหลี่ยม แลวคลิกบนพื้นทีวางดานนอกกรอบ
                                             ่                   ่
การใชงานแปลงเลขฐาน 2
   • คลิกเลือกคาเลขฐาน 2 ใหตรงตําแหนง (จากขวามาซาย) โดย

           o คา 1 ใหคลิกเปนเครื่องหมายถูก

           o คา 0 ปลอยวางไว
•   ปรากฏผลลัพธในกรอบเลขฐาน 10 และฐาน 16 อัตโนมัติ
ที่มา : www.rw.ac.th/ftp/computer/%C3%D0%BA%BA%E0%C5%A2%E3%B9%A4%CD%C1.doc -

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆการแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆsiripaporn
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมSupaluck
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตNuunamnoy Singkham
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการjustymew
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7chunkidtid
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบkanjana2536
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยSukanda Panpetch
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานืnattakamon thongprung
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

La actualidad más candente (20)

ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
การแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆการแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆ
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
 
โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5          โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ใบงานที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Similar a bit byte

ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานPreecha Yeednoi
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานjibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองpharthid
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดjibjoy_butsaya
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานNakamaru Yuichi
 
Base
BaseBase
Basesa
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานAkkradet Keawyoo
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆNoii Kittiya
 

Similar a bit byte (20)

ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
Base
BaseBase
Base
 
ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
Number
NumberNumber
Number
 
4339
43394339
4339
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆ
 

Más de paween

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีpaween
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสีpaween
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16paween
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2paween
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqpaween
 

Más de paween (19)

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utq
 

bit byte

  • 1. ระบบเลขฐานที่ใชในคอมพิวเตอร เปนที่ทราบกันดีวาคอมพิวเตอรทํางานดวยกระแสไฟฟา ดังนั้นจึงมีการแทนที่สภาวะของกระแสไฟฟา ได 2 สภาวะ คือ สภาวะที่มกระแสไฟฟา และสภาวะที่ไมมีกระแสไฟฟา และเพื่อใหโปรแกรมเมอรสามารถสั่ง ี การคอมพิวเตอรได จึงไดมการสรางระบบตัวเลขที่นํามาแทนสภาวะของกระแสไฟฟา โดยตัวเลข 0 จะแทน ี สภาวะไมมีกระแสไฟฟา และเลข 1 แทนสภาวะมีกระแสไฟฟา สภาวะมีกระแสไฟฟา แทนดวยตัวเลข 1 สภาวะไมมีกระแสไฟฟา แทนดวยตัวเลข 0 ระบบตัวเลขทีมีจํานวน 2 จํานวน (2 คา) เรียกวาระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ซึ่งเปนระบบตัว ่ เลขที่สามารถนํามาใชในการสั่งงานคอมพิวเตอร โดยการแทนที่สภาวะตางๆ ของกระแสไฟฟา แตใน ชีวิตประจําวันของคนเราจะคุนเคยกับตัวเลขที่มีจํานวน 10 จํานวน คือ เลข 0 - 9 ซึ่งเรียกวาระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองศึกษาระบบเลขฐาน ประกอบการการศึกษาวิชาดาน คอมพิวเตอร ระบบจํานวนที่ใชในทางคอมพิวเตอร ประกอบดวย • ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1 • ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) ประกอบดวยตัวเลข 0 - 7 • ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ประกอบดวยตัวเลข 0 - 9 • ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) ประกอบดวยตัว เลข 0 - 9 และ A - F ระบบจํานวน จํานวนหลัก (Digit) ฐานสอง 0 1 ฐานแปด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 ฐานสิบ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ฐานสิบหก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
  • 2. ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ระบบเลขฐานสิบ เปนระบบเลขที่ใชกันในชีวิตประจําวัน ไมวาจะนําไปใชคานวณประเภทใด โดยจะมี  ํ สัญลักษณที่ใชแทนตัวเลขตางๆ ของเลขฐานสิบ (Symbol) จํานวน 10 ตัว ตัวเลขหรือที่เรียกวา Digit ที่ใชแทน ระบบเลขฐานสิบ ไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 เลขฐาน 10 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตัวเลขแตละตัวจะมีคาประจําตัว โดยกําหนดใหคาที่นอยที่สุด คือ 0 (ศูนย) และเพิ่มคาทีละหนึ่ง จนครบจํานวน 10 ตัว ดังนันคามากที่สุด คือ 9 การนําตัวเลขเหลานี้ มารวมกลุมกัน ทําใหเกิดความหมายเปน "คา" นัน อาศัย ้ ้ วิธีการกําหนด "หลัก" ของตัวเลข (Position Notation) กลาวคือ คาของตัวเลขจํานวนหนึ่ง พิจารณาไดจากสอง สิ่งคือ • คาประจําตัวของตัวเลขแตละตัว • คาหลักในตําแหนงที่ตวเลขนั้นปรากฎอยู ั ในระบบทีวาดวยตําแหนงของตัวเลข ตําแหนงที่อยูทางขวาสุด จะเปนหลักที่มีคานอยที่สุด เรียกวา Least ่ Sinificant Digit (L S D) และตัวเลขที่อยูในหลักซายสุดจะมีคามากที่สด เรียกวา Most Sinificant Digit (M S D)  ุ คาตัวเลข 1,545 Most Sinificant Digit (M S D) Least Sinificant Digit (L S D) 1 5 4 5 นิยาม คาหลักของตัวเลขใดๆ คือ คาของฐานยกกําลังดวยคาประจําตําแหนง ของแตละหลัก โดยกําหนดใหคา ประจําตําแหนงของหลักของ LSD มีคาเปน 0 ในระบบเลขฐานสิบ จะมีสญลักษณอยู 10 อยาง คือ 0 - 9 จํานวนขนาดของเลขฐานสิบ สามารถอธิบาย ั ได โดยใชตําแหนงน้ําหนักของแตละหลัก (Postional Weight) โดยพิจารณาจากเลข ดังตอไปนี้ 3472 สามารถขยายไดดังนี้ = 3000 + 400 + 70 + 2 3472 = (3 x 103) + (4 x 102) + (7 x 101) + (2 x 100) จะเห็นวาน้ําหนักตามตําแหนง ของตัวเลขตางๆ สามารถขยายตามระบบจํานวนได และถูกแทนที่ดวยสมการ  ดังตอไปนี้ N = dnRn + ... + d3R3 + d2R2 + D1R1 + D0R0 เมื่อ N คือ คาของจํานวนฐานสิบทีตองการ ่ dn คือ ตัวเลขที่อยูในตําแหนงตางๆ R คือ ฐานของจํานวนตัวเลขนันๆ ้ n คือ คายกกําลังของฐานตามตําแหนงตางๆ
  • 3. ดังนั้น 1257 = 1 x 103 + 2 x 102 + 5 x 101 + 7 x 100 เลขที่เปนเศษสวน หรือจํานวนผสมนั้น ก็สามารถจะเขียนในรูป Positional Notation ไดเชนกัน โดยตัวเลขแต ละหลัก จะอยูในตําแหนงหลังจุดทศนิยม กําลังของหลัก จะมีคาเปนลบ เริ่มจากลบ 1 เปนตนไป นับจากนอยไป  หามาก ดังนั้นในระบบเลขฐานสิบ หลักแรกหลังจุดทศนิยม จะมีคาเทากับ เลขจํานวนนั้นคูณดวย 10-1 ตัวที่สอง จะเปน -2 ไปเรือยๆ ่ 456.395 = 4 x 102 + 5 x 101 + 6 x 100 + 3 x 10-1 + 9 x 10-2 + 5 x 10-3 กฎการแทนตัวเลขนั้น สามารถนําไปใชกับระบบตัวเลขทัวๆ ไปได โดยไมคํานึงวา เลขนั้นจะเปนฐานอะไร ่ ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณที่ใชเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 ถาเปรียบเทียบเลขฐานสอง กับ เลขฐานสิบแลว คาของหลักที่ถัดจากหลักที่นอยที่สุด (LSD) ขึ้นไป จะมีคาเทากับ ฐานสองยกกําลังหมายเลข  หลัก แทนที่จะเปน 10 ยกกําลัง ดังนี้ เลขฐานสิบ เลขฐานสอง 100 = 1 หนวย 20 = 1 หนึ่ง 101 = 10 สิบ 21 = 2 สอง 102 = 100 รอย 22 = 4 สี่ 103 = 1000 พัน 23 = 8 แปด ระบบเลขฐานสองเกิดจากการใชตัวเลขเพียง 2 ตัว คือ 0 และ 1 ดังนั้น สมการคือ N = ... + (d3 x 23) + (d2 x 22) + (d1 x 21) + (d0 x 20) เมื่อ d คือคา 0 หรือ 1 เชน 1101 = (1 x 23) + (1 x 22) + (0 x 21) + (1 x 20) เพื่อตัดปญหายุงยาก ในการแทนคาของเลขระบบตางๆ เรานิยมเขียน ตัวเลขอยูในวงเล็บ และเขียนคาของฐาน นั้น อยูนอกวงเล็บ เชน (101101)2 = (45)10  สําหรับเศษสวน จะเขียนคาของเศษสวนอยูหลังจุด (Binary Point) ยกกําลังเปนลบ เพิ่มขึ้นตามลําดับ ดังตัวอยาง  (0.1011)2 = (1 x 2-1) + (0 x 2-2) + (1 x 2-3) + (1 x 2-4) การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ มีหลายวิธี แตทจะแนะนําคือ การกระจายคาประจําหลัก จากนั้น ี่ นํามาบวกรวมกันอีกครั้ง ผลลัพธที่ไดจะเทากับคาในเลขฐานสิบ
  • 4. ตัวอยาง 10111 มีคาเทากับเทาไรในระบบเลขฐานสิบ วิธทํา ี 1 0 1 1 1 = 1 x 20 1 0 1 1 1 = 1 x 21 1 0 1 1 1 = 1 x 22 1 0 1 1 1 = 0 x 23 1 0 1 1 1 = 1 x 24 ดังนั้น (10111)2 = 1 x 24 + 0 x 23 + 1 x 22 + 1 x 21 + 1 x 20 = 16 + 0 + 4 + 2 + 1 (10111)2 = 23 ตัวอยาง (110111)2 มีคาเทากับเทาไรในระบบเลขฐานสิบ วิธทํา ี N = 1 x 25 + 1 x 24 + 0 x 23 + 1 x 22 + 1 x 21 + 1 x 20 = 32 + 16 + 0 +4 + 2 + 1 1101112 = 5510 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ # 2 การแปลงเลขฐานสอง เปนเลขฐานสิบ วิธีที่สอง คือ Dibble Dobble Method โดยการนําเอาเลขหลัก ซายสุด มาวางไว แลวคูณดวย 2 จากนั้นบวกดวยเลขบิททีอยู ทางขวามือ จากนั้นนําผลลัพธ มาคูณดวย 2 บอก ่ ดวยเลขบิทตอไป ดังนี้ เชน ตองการแปลง (110111)2 เปนเลขฐานสิบ บิทซายสุด 1 คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป (2 x 1) + 1 = 3 คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป (2 x 3) + 0 = 6 คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป (2 x 6) + 1 = 13 คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป (2 x 13) + 1 = 27 คูณดวย 2 และบวกบิทถัดไป (2 x 27) + 1 = 55 ดังนั้น (110111)2 = (55)10
  • 5. การแปลงเลขฐานสิบเปนฐานสอง การแปลงเลขฐานสิบเปนเลขฐานสองก็มีหลายวิธี แตทจะแนะนําคือ การหารดวย 2 แลวจดคาเศษจาก ี่ การหารไว จนกระทั่งหารไมไดอีกแลว จากนั้นนําเศษ จากการหารแตละครั้ง มาไลลําดับจากลางขึนไปหาคา ้ บนสุด ผลลัพธที่ไดจะเทากับคาในเลขฐานสอง ตัวอยาง 2610 มีคาเทากับเทาไรในระบบเลขฐานสอง วิธีทํา 2 หาร 26 เทากับ 13 เศษ 0 2 หาร 13 เทากับ 6 เศษ 1 2 หาร 6 เทากับ 3 เศษ 0 2 หาร 3 เทากับ 1 เศษ 1 2 หาร 1 ไมได เศษ 1 ดังแสดงตามวิธีหารสั้น เมื่อหารไมได ใหนําคาเศษมาเรียงตอกัน โดยเรียงจากคาลางสุด ไปหาคาบนสุด เพราะฉะนันจะไดคา ้ เทากับ 11010 ดังนั้น 26 (ในฐานสิบ) จึงมีคาเทากับ 110102 การแปลงเลขเศษสวนฐานสอง (Fractional Binary Numbers) ใหเปนฐานสิบ เนื้อหาที่กลาวไปแลว ไดกลาวถึงระบบเลขฐาน และการแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ การแปลง เลขฐานสิบเปนเลขฐานสอง ในสวนของเลขจํานวนเต็ม ในสวนนี้จะแนะนําการแปลงเลขฐานที่เปนเลข เศษสวน สมการการแปลงเลขเศษสวนฐานสองเปนฐานสิบ คือ เมื่อ N คือ คาของจํานวนฐานสิบที่ตองการ dn คือ ตัวเลขเศษสวนที่อยูในตําแหนงตางๆ R คือ ฐานของจํานวนตัวเลขนั้น (ในที่นี้คือ 2) n คือ คายกกําลังของฐานตามตําแหนงตางๆ โดยคานี้จะเปนคาติดลบของเลขตําแหนงหลัก นับ เริ่มจาก 1 ไปเรื่อยๆ นั่นคือ -1 ตอดวย -2 จนครบตําแหนงหลักของคานันๆ ้
  • 6. ตัวอยาง ตองการแปลงเลขเศษสวนฐานสอง 0.1011 เปนเลขฐานสิบ พิจารณาทีละจุด ตําแหนงแรกของจํานวนที่ระบุ (d1) คือ 1 ซึ่งมีคายกกําลังฐานสองคือ -1 ดังนั้นคาประจํา ตําแหนงนี้คือ 1 x 2-1 ตําแหนงที่สอง (d2) คือ 0 มีคายกกําลังฐานสองคือ -2 ดังนั้นคาประจําตําแหนงคือ 0 x 2-2 ตําแหนงที่สาม (d3) คือ 1 มีคายกกําลังฐานสองคือ -3 ดังนั้นคาประจําตําแหนงคือ 1 x 2-3 ตําแหนงที่ส่ี (d4) คือ 1 มีคายกกําลังฐานสองคือ -4 ดังนั้นคาประจําตําแหนงคือ 1 x 2-4 สามารถเขียนสมการไดคือ การแปลงเลขหลังทศนิยม (เศษสวน) ฐานสิบ (Fractional Decimal Numbers) ใหเปนฐานสอง การเปลี่ยนเลขหลังทศนิยมฐานสิบ ใหเปนฐานสอง จะใชวิธีการนําคาเลขหลังทศนิยมตั้ง แลวคูณดวย สอง จากนั้นนําผลลัพธที่ไดเปนตัวตั้งในการคูณครั้งตอไป จนกวาคาผลลัพธสวนที่เปน เลขหลังทศนิยมเทากับ .00 กรณีที่คณแลวไมลงตัวเทากับ .00 ก็ใหคูณจนไดคาที่ตองการ สุดทายนําคาตัวเลขกอนทศนิยม จากผลลัพธ ู แตละครั้ง มาเขียนเรียงตอกัน ก็จะไดคาฐานสองที่ตองการ ดังตัวอยาง ตัวอยาง ตองการแปลงเลข (0.65625)10 เปนเลขฐานสอง พิจารณาทีละจุด นํา 0.65625 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 1.31250 • คา 1 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักแรกของคาเลขฐานสอง • นํา .31250 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป นํา 0.31250 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 0.62500 • คา 0 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่สองของคาเลขฐานสอง • นํา .62500 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป นํา 0.62500 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 1.25000 • คา 1 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่สามของคาเลขฐานสอง • นํา .25000 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป นํา 0.25000 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 0.50000 • คา 0 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่สี่ของคาเลขฐานสอง • นํา .50000 (เลขหลังทศนิยม) ไปเปนตัวตั้งในการคูณครั้งถัดไป นํา 0.5000 คูณดวย 2 ไดคาเทากับ 1.00000
  • 7. คา 1 (เลขกอนทศนิยม) จะเปนคาหลักที่หาของคาเลขฐานสอง • เนื่องจากเลขหลังทศนิยมเทากับ .00000 จึงไมตองคูณตอ นําเลขกอนทศนิยมของการคูณแตละครั้ง มาเขียนเรียงกัน จะไดคาเทากับ 10101 ดังนันเลข ้ ทศนิยมฐานสิบ 0.65625 จะเทากับ 0.10101 ในฐานสอง ดังนั้น 169 เทากับ 2518 ตองการแปลง 169 เปนฐาน 16 กระทําไดโดย 16 หาร 169 เทากับ 10 เศษ 9 16 หาร 10 ไมสามารถหารได เศษ 10 แตเนื่องจาก 10 เปนคาที่แสดงดวย A ดังนั้น 169 เทากับ A916 การแปลงเลขฐาน 8 หรือ 16 เปนฐาน 10 ก็ใชวิธีเดียวกับการแปลงเลขฐาน 2 เปนฐาน 10 ดังตัวอยางที่แนะนํา ไปกอนแลว ระบบตัวเลขกับรหัสขอมูล รหัสขอมูล (Data Representation) หมายถึง รหัสที่ใชแทนตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณตางๆ ที่ประกอบ อยูในคําสั่ง และขอมูล เพื่อใชในการประมวลผล สามารถแบงได 2 ประเภทคือ • รหัสภายในระบบคอมพิวเตอร (Internal Code) เปนรหัสที่ใชแทนขอมูลในหนวยความจําของ คอมพิวเตอร เชน o รหัส BCD - Binary Code Decimal o รหัส EBCDIC - Extended Binary Coded Decimal Interchange Code o รหัส ASCII - American Standard Code for Information Interchange o รหัส สมอ. o รหัส Unicode • รหัสภายนอกระบบคอมพิวเตอร (External Code) เปนรหัสที่พัฒนาสําหรับบันทึกขอมูลนอกเครื่อง คอมพิวเตอร เชนรหัสที่ใชกบบัตรเจาะรู ั
  • 8. รหัสภายในคอมพิวเตอร แทนไดกับสภาวะของกระแสไฟฟา ตามจํานวนสายสัญญาณ เชน ถามีสายสัญญาณ 2 เสน ก็สามารถสรางรหัสแทนขอมูลได 4 คา (คิดจาก 22) คือ สภาวะไฟฟา 2 เสน รหัสขอมูล 00 01 10 11 ดังนั้นถามีสายสัญญาณ 8 เสน ก็สามารถสรางรหัสแทนขอมูลได จํานวน 28 = 256 คา เปนตน สภาวะไฟฟา 8 เสน รหัสขอมูล 00000000 00000001 11111111 บิต (Bit) สภาวะไฟฟา 1 เสน หรือคา 0 หรือ 1 แตละคาเรียกวา บิต (Bit) ซึ่งเปนคํายอของ "BInary digiT" ไบต (Byte) กลุมของบิตที่มีความหมายเฉพาะเรียกวา ไบต (Byte) ดังนั้นถามีสายสัญญาณ 8 เสน แสดงวามี สัญญาณที่สามารถผสมผสานกันได 8 บิต เมื่อนําคาสัญญาณตางๆ มาผสมผสานกัน ก็สามารถสรางรหัสแทน ขอมูลได จํานวน 28 = 256 คา เปนตน ดังตัวอยางในตารางที่แสดงอักขระ, การเรียงกันของบิต และคาเลขฐาน 10 ที่แทนอักขระ
  • 9. Character Bit pattern Byte Character Bit pattern Byte number number A 01000001 65 ผ 10111100 188 B 01000010 66 . 00101110 46 C 01000011 67 : 00111010 58 a 01100001 97 $ 00100100 36 b 01100010 98 01011100 92 o 01101111 111 ~ 01111110 126 p 01110000 112 1 00110001 49 q 01110001 113 2 00110010 50 r 01110010 114 9 00111001 57 x 01111000 120 ฉ 10101001 169 y 01111001 121 > 00111110 62 z 01111010 122 10001001 137 ดังนั้นถาตองการปอนคําวา Hello จะมีคาเทากับขอมูลจํานวน 6 ไบต ซึ่งมักจะไดยนวา 1 ไบต เทียบกับ ิ 1 ตัวอักษรนั่นเอง Binary Code Decimal (BCD BCD เปนรหัสขอมูลที่ประกอบดวยเลขฐานสอง 6 บิต แทนขอมูล 1 อักขระ (1 Character) จึงสามารถ สรางรหัสขอมูลไดจํานวน 26 = 64 รหัส รหัสทั้ง 6 บิต แบงไดเปน 2 กลุม โดย 2 บิตแรกเรียกวา Zone Bit และ 4 บิตถัดไปเรียกวา Numeric Bit Extended Binary Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC) EBCDIC เปนรหัสแบบ 8 บิต โดยใชเลขฐานสอง 8 ตัวแทนขอมูล 1 อักขระ ทําให สามารถสรางรหัสได 256 รหัส (28) และยังสามารถใชเลขฐาน 16 มาใชแสดงรหัสขอมูลได เชนกัน เปนระบบการลงรหัสที่พัฒนาโดย IBM เนื่องจากพัฒนาจาก IBM ทําใหเปนรหัสที่เดนกวา ASCII เมื่อนําไปใชกบบัตรเจาะรู ั (Punched cards) ตั้งแตป 1960 อีกทั้งยังมีอกขระ "cent sign" ซึ่งไมมีใน ASCII ั
  • 10.
  • 11. American Standard Code for Information Interchange (ASCII) ASCII เปนรหัสที่นิยมใชกนอยางแพรหลายในปจจุบัน พัฒนาโดยสถาบันมาตรฐานแหงชาติ ั สหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute: ANSI) ประกอบดวยเลขฐานสอง 7 บิต (ปจจุบันใช 8 บิต) เรียกวา 1 ไบต (Byte) แทนอักขระ 1 ตัว ซึ่งเปนรหัสที่นิยมใชกนบนคอมพิวเตอรระบบ PC ทั้งนี้ได ั แบงเปน 3 ชุดคือ • 32 ชุดแรก (ตําแหนงที่ 0 - 31) แทนรหัสควบคุมตางๆ • ตําแหนงที่ 32 - 127 แทนอักขระภาษาอังกฤษ, ตัวเลขและสัญลักษณตางๆ เรียกวา Lower ASCII • 128 ชุดหลัง (ตําแหนงที่ 128 - 255) แทนอักขระในภาษาตางๆ เชน อักขระภาษาไทย เปนตน ทําให คอมพิวเตอรสามารถรับ/สงขอมูลภาษาอื่นๆ ได เรียกวา Higher ASCII Lower ASCII
  • 12. Higher ASCII เครื่องมือแปลงเลขฐาน Binary: 20 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 Decimal: Hex: การใชงานแปลงเลขฐาน 10 หรือฐาน 16 • ปอนตัวเลขฐาน 10 หรือฐาน 16 ในกรอบสีเหลี่ยม แลวคลิกบนพื้นทีวางดานนอกกรอบ ่ ่ การใชงานแปลงเลขฐาน 2 • คลิกเลือกคาเลขฐาน 2 ใหตรงตําแหนง (จากขวามาซาย) โดย o คา 1 ใหคลิกเปนเครื่องหมายถูก o คา 0 ปลอยวางไว
  • 13. ปรากฏผลลัพธในกรอบเลขฐาน 10 และฐาน 16 อัตโนมัติ ที่มา : www.rw.ac.th/ftp/computer/%C3%D0%BA%BA%E0%C5%A2%E3%B9%A4%CD%C1.doc -