SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 95
Descargar para leer sin conexión
กลุมงานวิเคราะห์และพยากรณ์สถิตเิ ชิงเศรษฐกิจ
                          ่
หน่วยงานเจ้าของเรือง
                  ่
                       สำนักสถิตพยากรณ์
                                  ิ
                       สำนักงานสถิตแห่งชาติ
                                     ิ
                       โทรศัพท์ 0 2281 0333 ต่อ 1404-1405,1407
                       โทรสาร 0 2282 5861
                       ไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์ : pakamas@nso.go.th
                                ์

                       สำนักสถิตพยากรณ์
                                 ิ
หน่วยงานทีเ่ ผยแพร่
                       สำนักงานสถิตแห่งชาติ
                                     ิ
                       ถนนหลานหลวง เขตป้อมปราบศัตรูพาย กทม. 10100
                                                        ่
                       โทร 0 2281 0333 ต่อ 1413
                       โทรสาร 0 2281 6438
                       ไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์ services@nso.go.th
                               ์

                       2551
ปีที่พิมพ์
คำปรารภ

                 จากภารกิ จ ของสำนั ก งานสถิ ต ิ แ ห่ ง ชาติ ที ่ เ ป็ น หน่ ว ยงานกลางในการจั ด ทำสถิ ต ิ
และรวบรวมข้อมูลสถิติที่สำคัญ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ และเอกชน ในการกำหนดนโยบาย
จัดทำแผนงาน รวมทัง สนับสนุน ติดตาม วิเคราะห์ และประเมินผลการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
                        ้
                  แต่ ใ นปั จ จุ บ ั น ข้ อ มู ล และสถิ ต ิ ด ้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สาร (ICT)
มีอยูกระจัดกระจายในหลายๆ หน่วยงาน ดังนัน สำนักงานสถิตแห่งชาติได้ตระหนักถึงความสำคัญของข้อมูล
    ่                                                ้                  ิ
ICT ทีเ่ ป็นปัจจัยทีสำคัญในการพัฒนาประเทศให้กาวไปสูการเป็นสังคมและเศรษฐกิจแห่งภูมปญญาและการเรียนรู้
                    ่                                  ้่                                 ิั
(Knowledge – based Society/Economy)จึงได้ดำเนินการจัดทำเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสือสารของประเทศไทยขึน เป็นประจำทุกปี ตังแต่ปี 2547 เพือเสนอตัวชีวดทีสะท้อนให้เห็นการพัฒนา
            ่                          ้                     ้             ่         ้ั ่
ICT ของประเทศในปัจจุบัน รวมทั้ง สามารถใช้ในการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบาย
และแผนแม่บท ICT



                                                                 (นางธนนุช ตรีทพยบุตร)
                                                                                 ิ
                                                                  เลขาธิการสถิตแห่งชาติ
                                                                               ิ
คำนำ

                      สำนักงานสถิติแห่งชาติจัดทำเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ของประเทศไทย พ.ศ. 2551 นี้เป็นฉบับที่ 6 โดยรวบรวมข้อมูลสถิติที่สำคัญๆที่ได้มาจากสำนักงาน
สถิติแห่งชาติเป็นหลัก และข้อมูลจากหน่วยงานอื่นๆมาจัดทำเป็นตัวชี้วัดทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร เพื่อแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ของประเทศ รวมทั้ง
ใช้ในการประเมินนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศฯ โดยได้มการนำเสนอเป็น 6 บท คือ บทที่ 1 ภาพรวม
                                                                         ี
ทิ ศ ทาง และองค์ ป ระกอบการพั ฒ นา ICT ของประเทศ ซึ ่ ง จะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง นโยบาย เป้ า หมาย
และองค์ ป ระกอบที ่ ส ำคั ญ ของการพั ฒ นา ICT บทที ่ 2 เป็ น การแสดงการมี แ ละการใช้ ICT
ในปัจจุบันเปรียบเทียบกับอดีต รวมทั้ง เปรียบเทียบการใช้ ICT ในเขตเมืองและเขตชนบท บทที่ 3 ICT
กับระบบเศรษฐกิจ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการใช้ ICT ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งในระดับประเทศ
และระดับผู้ประกอบการ สำหรับบทที่ 4 ICT กับสังคม เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ ICT
กับการพัฒนาสังคม บทที่ 5 เปรียบเทียบการใช้ ICT กับประเทศต่างๆ ซึงแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ ICT
                                                                                  ่
เปรี ย บเที ย บกั บ ประเทศที ่ พ ั ฒ นาแล้ ว และประเทศที ่ ก ำลั ง พั ฒ นา และบทที ่ 6 สรุ ป ผลการพั ฒ นา
เพือสรุปสถานการณ์การพัฒนา ICT ของประเทศไทย
     ่
                        สำนั ก งานสถิ ต ิ แ ห่ ง ชาติ ขอขอบคุ ณ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที ่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามอนุ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล
ซึ ่ ง เป็ น ผลให้ ก ารทำรายงานฉบั บ นี ้ ส ำเร็ จ ลุ ล ่ ว งไปด้ ว ยดี และหวั ง เป็ น อย่ า งยิ ่ ง ว่ า รายงานฉบั บ นี ้
จะเป็นประโยชน์ตอหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และผูสนใจทุกท่าน
                      ่                                       ้
สารบัญแผนภูมิ
                                     บทที่ 1 บทนำ

1.3 องค์ประกอบการพัฒนา ICT ทีสำคัญ
                            ่
แผนภูมิ 1  จำนวนปีโดยเฉลียของการศึกษาในโรงเรียนสำหรับประชากรอายุ 15 ปีขนไป
                           ่                                             ้ึ
           พ.ศ. 2544 - 2550
แผนภูมิ 2 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 - 2550
                                      ้ึ
แผนภูมิ 3 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา จำแนกตามภาค
                                         ้ึ
           พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 4 สัดส่วนของครัวเรือนทีมไฟฟ้าใช้ พ.ศ. 2539 - 2550
                                ่ี
แผนภูมิ 5 สัดส่วนของครัวเรือนทีมโทรทัศน์ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541-2550
                                ่ี
แผนภูมิ 6 สัดส่วนของครัวเรือนทีมวทยุ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541-2550
                                ่ีิ
แผนภูมิ 7 จำนวนเลขหมายโทรศัพท์พ้นฐานทีให้บริการ และทีมผเู้ ช่าต่อประชากร 100 คน
                                    ื       ่           ่ี
            จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 8 จำนวนโทรศัพท์สาธารณะต่อประชากร 100 คน จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 9 จำนวนสถานีวทยุกระจายเสียง จำแนกตามประเภทของคลืน พ.ศ. 2550
                        ิ                                     ่
แผนภูมิ 10 จำนวนสถานีวทยุชมชน (ถึงเดือนกรกฎาคม) จำแนกตามภาค พ.ศ. 2551
                        ิุ
แผนภูมิ 11 ระดับความกว้างของช่องสัญญาณระหว่างประเทศ พ.ศ. 2544 - 2551
แผนภูมิ 12 ปริมาณข้อมูลทีสงไปมาภายในประเทศผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นรายเดือน
                          ่่
           พ.ศ. 2550 - 2551
สารบัญแผนภูมิ
             บทที่ 2 การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร
                                                            ่

2.1 การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร
                                           ่
แผนภูมิ 13 สัดส่วนประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีมโทรศัพท์มอถือ จำแนกตามภาค และเขต
                                      ้ึ ่ ี              ื
           การปกครอง พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 14 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค และเขต
                                          ้ึ ่
           การปกครอง พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 15 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามภาคและเขต
                                               ้ึ ่ ิ
           การปกครอง พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 16 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
                                            ้ึ      ่
           จำแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2550
                        ่
แผนภูมิ 17 สัดส่วนของครัวเรือนทีมเี ครืองโทรสาร จำแนกตามภาคและเขตการปกครอง พ.ศ. 2550
                               ่่
แผนภูมิ 18 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาคและเขตการปกครอง พ.ศ. 2550
                                ่ี
แผนภูมิ 19 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือมต่ออินเทอร์เน็ต จำแนกตามภาคและเขต
                                ่ี                    ่
           การปกครอง พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 20 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมการใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
                                                 ่ี
แผนภูมิ 21 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมการใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
                                                 ่ี     ิ
แผนภูมิ 22 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมการใช้เว็บไซต์ จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
                                                 ่ี

2.2 แนวโน้มการขยายตัวของการมีและการใช้ ICT ในครัวเรือนและสถานประกอบการ
แผนภูมิ 23 สัดส่วนของครัวเรือนทีมไฟฟ้า โทรศัพท์พนฐาน คอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์
                                 ่ี                ้ื
            เชือมต่ออินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2549-2550
               ่
แผนภูมิ 24 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามแหล่งทีใช้
                                         ้ึ ่ ิ                         ่
           พ.ศ. 2546-2550
แผนภูมิ 25 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามกิจกรรมทีใช้
                                           ้ึ ่ ิ                            ่
           พ.ศ. 2546-2550
แผนภูมิ 26 สัดส่วนของสถานประกอบการธุรกิจทีมการใช้คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2547 - 2550
                                                ่ี
แผนภูมิ 27 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมคอมพิวเตอร์ และใช้อนเทอร์เน็ต พ.ศ. 2547 - 2550
                                             ่ี             ิ
สารบัญแผนภูมิ
      บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ
                                       ่

3.1 การวิจยและการพัฒนา และสิทธิบตร
          ั                     ั
แผนภูมิ 28 ค่าใช้จายเพือการวิจยและการพัฒนา และร้อยละของค่าใช้จายทางการวิจย
                  ่่          ั                               ่          ั
           และการพัฒนาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ พ.ศ. 2542 - 2548
แผนภูมิ 29 ค่าใช้จายเพือการวิจยและการพัฒนาต่อประชากรรายหัว พ.ศ. 2542 - 2548
                  ่่            ั
แผนภูมิ 30 จำนวนสิทธิบตรจดทะเบียนต่อประชากร 1,000,000 คน พ.ศ. 2542 - 2550
                        ั
แผนภูมิ 31 จำนวนสิทธิบตรทีคนไทยและคนต่างชาติได้รบ พ.ศ. 2544 - 2550
                        ั่                        ั
แผนภูมิ 32 จำนวนสิทธิบตรทีได้รบ จำแนกตามประเภทสิทธิบตร พ.ศ. 2544 - 2550
                        ั่ั                            ั
แผนภูมิ 33 ร้อยละของสิทธิบตร จำแนกตามชนิดของสิทธิบตร พ.ศ. 2542 - 2550
                           ั                         ั
แผนภูมิ 34 อัตราการเติบโตของสิทธิบตร ICT พ.ศ. 2541 - 2551
                                   ั
สารบัญแผนภูมิ
      บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ
                                       ่

3.2 พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์
แผนภูมิ 35   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามประเภทผูประกอบการ พ.ศ. 2550
                                                                     ้
แผนภูมิ 36   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามกลุมอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550
                                                               ่
แผนภูมิ 37   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามขนาดธุรกิจ พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 38   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามขนาดธุรกิจ และประเภท
             ผูประกอบการ พ.ศ. 2550
                 ้
แผนภูมิ 39   ร้อยละของธุรกิจาพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์จำแนกตามระยะเวลาทีทำธุรกิจ
                                                                       ่
              พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 40   ร้อยละของมูลค่าธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามประเภทผูประกอบการ
                                                                               ้
             พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 41   ร้อยละของมูลค่าธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามตลาดทีขายสินค้า พ.ศ. 2550
                                                                           ่
แผนภูมิ 42   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามค่าใช้จายด้าน ICT พ.ศ. 2550
                                                                  ่
แผนภูมิ 43   ค่าใช้จายด้าน ICT เพือพัฒนาระบบพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามประเภท
                    ่             ่
             ผูประกอบการ พ.ศ. 2550
               ้
แผนภูมิ 44   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามการมีเว็บไซต์ พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 45   สัดส่วนของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการใช้เว็บไซต์
             พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 46   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามรูปแบบและวิธการ   ี
              ชำระค่าสินค้า/บริการของลูกค้า พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 47   ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามระบบการจัดส่งสินค้า พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 48    ร้อยละของธุรกิจพาณฺชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามความเห็นเกียวกับแนวโน้ม
                                                                         ่
                 ของยอดขายผ่านอิเล็กทรอนิกส์ และรูปแบบพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์เปรียบเทียบ
              ระหว่าง พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2549
สารบัญแผนภูมิ
      บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ
                                      ่

3.3 การขยายตัวของตลาดสินค้า
แผนภูมิ 49 มูลค่าการขยายตัวของตลาดสินค้าประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร
                                                                      ่
            ทีมการซือขายภายในประเทศ พ.ศ. 2549 - 2551
              ่ี ้
แผนภูมิ 50 ร้อยละของมูลค่าสินค้า ICT ทีมการซือขายภายในประเทศ จำแนกตามประเภท
                                        ่ี ้
            สินค้า พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 51 ร้อยละของการบริโภคซอฟต์แวร์ จำแนกตามภาคเศรษฐกิจ พ.ศ. 2549 - 2550
แผนภูมิ 52 ร้อยละปริมาณการจำหน่ายเครืองคอมพิวเตอร์ จำแนกตามประเภทของคอมพิวเตอร์
                                      ่
           พ.ศ. 2547 - 2551

3.4 ดุลการค้าของสินค้า
แผนภูมิ 53 ดุลการค้าของสินค้า ICT พ.ศ. 2544 - 2549
สารบัญแผนภูมิ
      บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ
                                      ่

3.5 แรงงานด้าน ICT
             ร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 54               ้
             ร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ พ.ศ. 2544 - 2550
แผนภูมิ 55                 ้                      ่
             จำนวนและร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ และภาค พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 56                          ้                         ่
             จำนวนและร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ และระดับการศึกษา
แผนภูมิ 57                            ้                   ่
             ทีสำเร็จ พ.ศ. 2550
                ่
             จำนวนและร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ
แผนภูมิ 58                        ้                         ่
              และสถานภาพการทำงาน พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 59   กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทีมผทำงานมากทีสด 5 ลำดับแรก จำแนกตามกลุมทักษะ
                                        ่ ี ู้ ุ่                        ่
             พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 60    ร้อยละของผูปฏิบตหน้าทีดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จำแนกตามกิจกรรม
                             ้ ัิ ่้
             ทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 61   ร้อยละของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำแนกตามกลุมอาชีพ/ตำแหน่ง
                                                                ่
             พ.ศ. 2550

3.6 รายรับของสถานประกอบการทีมการใช้ ICT
                            ่ี
แผนภูมิ 62 ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามการเปลียนแปลงของรายรับ พ.ศ. 2550
                                                 ่
แผนภูมิ 63 ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามการเปลียนแปลงของรายรับ และ
                                                   ่
           กิจกรรมทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2550
แผนภูมิ 64 ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามการเปลียนแปลงของรายรับ และ
                                                     ่
           ขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2550
สารบัญแผนภูมิ
             บทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร เพือการพัฒนา
                                             ่        ่

4.3 การใช้ ICT ของภาครัฐ
แผนภูมิ 65 สัดส่วนขององค์การปกครองส่วนท้องถินทีมเี ว็บไซต์ จำแนกตามประเภทของหน่วยงาน
                                            ่่
           พ.ศ. 2551
สารบัญแผนภูมิ
       บทที่ 5 การมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในภูมภาคเอเชีย
                                                   ่        ิ

5.1 จำนวนเครืองคอมพิวเตอร์ตอประชากร
             ่             ่
แผนภูมิ 66 เปรียบเทียบจำนวนคอมพิวเตอร์ตอประชากร 100 คน ของประเทศในภูมภาค
                                       ่                             ิ
           เอเชีย พ.ศ. 2545 - 2548

5.2 การใช้อนเตอร์เน็ต
           ิ
แผนภูมิ 67 เปรียบเทียบการใช้อนเทอร์เน็ตกับประเทศในภูมภาคเอเชีย พ.ศ. 2545 - 2550
                             ิ                       ิ

5.3 จำนวนเลขหมายโทรศัพท์ตอประชากร
                         ่
แผนภูมิ 68 เปรียบเทียบการมีโทรศัพท์พนฐานต่อประชากร 100 คน กับประเทศในภูมภาค
                                      ้ื                                   ิ
           เอเชีย พ.ศ. 2545 - 2550
แผนภูมิ 69 เปรียบเทียบการมีโทรศัพท์มอถือกับประเทศในภูมภาคเอเชีย พ.ศ. 2545 - 2550
                                    ื                 ิ
สัญลักษณ์

--         หมายถึง ต่ำกว่าร้อยละ 0.1
-          หมายถึง ไม่มขอมูล
                       ี้




                                           ตัวย่อ

บ.                   บริษัท
พ.ร.บ.               พระราชบัญญัติ
อปท.                 องค์การปกครองส่วนท้องถิน  ่
อบท.                 องค์การบริหารส่วนท้องถิน่
GB                   กิกกะไบต์
                       ๊
GDP                  ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
ICT (ไอซีท)ี         เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร
                                                 ่
Inter NIC            ศูนย์กลางเครือข่ายระหว่างประเทศ
IP                   รูปแบบการสือสารทางอินเทอร์เน็ต
                                ่
IT (ไอที)            เทคโนโลยีสารสนเทศ
Mbps                 เมกกะบิตต่อวินาที
บทที่ 1
                                           บทนำ
         ในโลกยุคปัจจุบน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (Information and Communication Tech-
                        ั                            ่
nology: ICT) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาขีดความสามารถของประเทศและเป็นเครื่องมือที่สำคัญ
ที่จะช่วยขับเคลื่อนให้ประเทศก้าวสู่การเป็นสังคมและเศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge
Based Society /Economy) และเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
                                     ่

        1.1 ภาพรวมการพัฒนา ICT
                 ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ซึงเห็นได้จาก
                                                                                    ่   ่
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 - 2544 จนถึงฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554
ได้ให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนา และการสร้างองค์ความรู้
โดยกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
และยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน รวมทั้งได้มีการกำหนดแผนการพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ดังนี้
                                ่
                1.1.1 การจัดทำกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะที่ 1 หรือนโยบาย IT 2000 (พ.ศ.2539-
2543) โดยมีวตถุประสงค์ เพือพัฒนาโครงสร้างพืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และทรัพยากรมนุษย์
              ั              ่                    ้                          ่
                1.1.2 การจัดทำกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2544 – 2553 หรือนโยบาย IT
2010 โดยมีเป้าหมายหลัก 3 ประการ ได้แก่
                     1) การพัฒนาโครงสร้างพืนฐานของประเทศให้มความพร้อมทีจะเป็นประเทศทีมศกยภาพ
                                                ้                ี         ่                ่ีั
ที่จะเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้
                     2) เพิมจำนวนแรงงานทีมความรูในประเทศ
                           ่                  ่ี    ้
                     3) ส่งเสริมให้มการจัดตังอุตสาหกรรมฐานความรู้ (Knowledge Based Industries) ใน
                                    ี       ้
ประเทศ
                1.1.3 แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545 - 2549 ได้
                                                          ่
รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติทมนายกรัฐมนตรีเป็นประธานเมือวันที่ 3
                                                              ่ี ี                        ่
ตุลาคม พ.ศ. 2544 และจากคณะรัฐมนตรีเมือวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึงแผนแม่บทฉบับนีมเี ป้าหมาย
                                              ่                         ่             ้
หลัก ดังนี้
                      1) พัฒนา และยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศโดยใช้ ICT
                     2) ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT ของประเทศ
                    3) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยเพิมการประยุกต์ใช้ ICT ในด้านการศึกษา และฝึกอบรม
                                                      ่
                     4) สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในชนบทเพือการพัฒนาประเทศทียงยืน
                                                            ่                  ่ ่ั
1.2 ทิศทางการพัฒนา ICT
                  จากการทีประเทศไทยได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารจึงได้มการก่อ
                         ่                                                            ่          ี
ตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 โดยได้มีการกำหนด
ยุทธศาสตร์ของกระทรวงฯ ทีสำคัญ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
                             ่
                  ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารของ
                                                     ้                                   ่
ประเทศให้ทวถึง และมีประสิทธิภาพ
           ่ั
                  ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบมาตรฐานเพือการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลภาครัฐ
                                                          ่
                  ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมและผูประกอบการด้านเทคโนโลยี
                                                                       ้
สารสนเทศและการสือสารให้มศกยภาพเพิมขึน และสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก
                     ่         ีั        ่้
                  ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร และส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร  ่
                  ยุทธศาสตร์ท่ี 5 วิจยและพัฒนาด้านนโยบาย แผน กฎหมาย ระเบียบ มาตรการและ
                                     ั
นวัตกรรม ทีเ่ กียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร เพือประโยชน์ตอการพัฒนาประเทศ
                ่                                 ่         ่        ่
                  ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ส่งเสริม และสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารมาใช้ใน
                                                                                           ่
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ และบริการภาครัฐสูประชาชนอย่างมีคณภาพและทัวถึง เพือการพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                ่               ุ          ่     ่
สังคม การเมือง การเตือนภัย และความมันคงของประเทศ
                                         ่

          1.3 องค์ประกอบการพัฒนา ICT ทีสำคัญ
                                       ่
              เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการพัฒนา ICT ของประเทศไทย เพื่อก้าวสู่การ
เป็นสังคมและเศรษฐกิจแห่งภูมปญญาและการเรียนรูนน ประกอบด้วยปัจจัยทีสำคัญ ดังนี้
                           ิั                  ้ ้ั                ่
                1.3.1 ทรัพยากรมนุษย์
                      มนุษย์ ถือเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ตังแต่ ฉบับที่ 8 จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ได้กำหนดให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”
                    ้
โดยให้ความสำคัญ ต่อการพัฒนาคุณภาพของคน และยกระดับคุณภาพความรูของคนไทยให้เป็นกำลังแรงงาน
                                                                          ้
ที่มีคุณภาพ และสมบูรณ์ไปด้วยภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เนื่องจากคนเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสนับสนุน
การพัฒนาเศรษฐกิจและการเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศทีสำคัญ
                                ่                                       ่
                       ตัวชีวดทีสำคัญทีสะท้อนการพัฒนาคุณภาพของคน คือ จำนวนปีโดยเฉลียของการ
                            ้ั ่       ่                                                 ่
ศึกษาในโรงเรียนสำหรับประชากรอายุ 15 ปีขนไป ซึงจะเห็นได้วาเพิมขึนจาก 7.1 ปี ในปี 2544 เป็น 7.8 ปี ใน
                                          ้ึ    ่          ่่้
ปี 2550 (แผนภูมิ 1) ในขณะทีประชากรทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษาในปี 2550 มีรอยละ 7.3 เพิมขึน จากปี 2549
                              ่                                             ้         ่้
(ร้อยละ 7.1) ไม่มากนัก (แผนภูมิ 2) และเป็นทีนาสังเกตว่า ประชากรทีเ่ รียนจบอุดมศึกษาส่วนใหญ่อยูในเมือง
                                             ่่                                               ่
เช่น กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (แผนภูมิ 3)
แผนภูมิ 1 จำนวนปีโดยเฉลียของการศึกษาในโรงเรียนสำหรับประชากรอายุ 15 ปีขนไป พ.ศ. 2544 - 2550
                       ่                                              ้ึ

    จํานวนป
    10
                                                                                            7.8
                                                                               7.6
                                                   7.5          7.5
                              7.2     7.3
     8         7.1
     6
     4
     2
     0
               2544          2545     2546       2547          2548            2549         2550 พ.ศ.

         ที่มา : รายงานการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร พ.ศ. 2544 - 2550
                 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


แผนภูมิ 2 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 - 2550
                                     ้ึ

     รอยละ
    10
                                                                                     7.3
     8                                            7.1
                      6.8
     6
     4
     2
     0
                      2548                       2549                                2550         พ.ศ.


         ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนภูมิ 3 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
                                     ้ึ


     รอยละ
    30

                                20.9
    20

    10                                            8.1
                7.3                                                                                 6.1
                                                                  5.5              3.8
      0
               ทั่วราช       กรุงเทพฯ           กลาง            เหนือ           ตะวันออก            ใต        ภาค
              อาณาจักร       และปริมณฑล                                         เฉียงเหนือ


            ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                    สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


          1.3.2 โครงสร้างพืนฐาน
                          ้
                 โครงสร้างพืนฐานทีสำคัญ ประกอบด้วยการมีไฟฟ้า เครืองมือ อุปกรณ์ และสิงอำนวยความ
                            ้     ่                              ่                    ่
สะดวกต่างๆ เพื่อให้ประชาชนในแต่ละพื้นที่ของประเทศ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศได้เท่าเทียมกัน
เพือไม่ให้เกิดปัญหาความเหลือมล้ำในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้ (Digital Divide)
  ่                           ่
                 1) การมีไฟฟ้า
                                  ไฟฟ้ า เป็ น สาธารณู ป โภคที ่ จ ำเป็ น ในชี ว ิ ต ประจำวั น ของคนในยุ ค ปั จ จุ บ ั น
รวมทั ้ ง เป็ น สิ ่ ง จำเป็ น ในการใช้ เ ครื ่ อ งมื อ สื ่ อ สารโทรคมนาคม และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต ่ า งๆ ดั ง นั ้ น
การมีไฟฟ้าใช้อย่างทั่วถึงจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญในการเข้าถึง ICT ของคนในแต่ละพื้นที่ โดยในปี 2550
ครัวเรือนในประเทศไทยร้อยละ 99.7 มีไฟฟ้าใช้ และมีเพียงร้อยละ 0.3 ที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ทั้งนี้ อาจเป็น
เพราะอยูหางไกล หรือมีปญหาทีไม่สามารถพัฒนาสาธารณูปโภคนีได้ (แผนภูมิ 4)
           ่่                   ั      ่                                  ้
แผนภูมิ 4 สัดส่วนของครัวเรือนทีมไฟฟ้าใช้ พ.ศ. 2539 - 2550
                               ่ี

      รอยละ                                                                        99.7
                                                 98.5
                                     98.3                    98.9       99.3
                          98.0
             96.8
    100
     80
     60
     40
     20
      0
              2539        2541       2543         2545        2547        2549       2550   พ.ศ.


          ที่มา : รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2539 - 2550
                  สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร



          2) โทรคมนาคม
                  หมายถึง การติดต่อสื่อสารทางไกล การรับส่งหรือแลกเปลี่ยนข่าวสารรูปแบบต่างๆ โดย
มีสารรับส่งคลื่นวิทยุ หรือสื่อกลางอื่นๆ เพื่อขยายขอบเขตการรับส่ง หรือแลกเปลี่ยนให้กว้างไกลขึ้น
สามารถแบ่งการสือสารโทรคมนาคมเป็น 2 ประเภท คือ แบบ Undirection การสือสารทางเดียว เช่น วิทยุ
                ่                                                           ่
โทรทัศน์ และแบบ Bidirection การสือสารทังสองทาง เช่น โทรศัพท์ โทรเลข
                                    ่     ้
                   เมื่อพิจารณาระหว่าง พ.ศ. 2541-2550 จะพบว่า ครัวเรือนทั่วประเทศมีโทรทัศน์มากขึ้น
และมีวิทยุลดลง โดยครัวเรือนในเขตเทศบาลมีสัดส่วนการมีโทรทัศน์และวิทยุมากกว่านอกเขตเทศบาลเพียง
เล็กน้อยโดยในปี 2550 ครัวเรือนในเขตเทศบาล ร้อยละ 96.4 มีโทรทัศน์ และร้อยละ 68.0 มีวิทยุ
ในขณะทีครัวเรือนนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 94.7 มีโทรทัศน์ และร้อยละ 56.6 มีวทยุ (แผนภูมิ 5 - 6)
        ่                                                                 ิ
แผนภูมิ 5 สัดส่วนของครัวเรือนทีมโทรทัศน์ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541 - 2550
                              ่ี
         รอยละ
    100
                                                                                    95.9              96.4
                                                                    95.2
                                                   94.1
                    93.1                                                                                  94.7
                                   93.0
                                                                                     93.2
                                                                     92.2
      90                            87.9            90.6
                    87.6

      80
                    2541      2543        2545                    2547              2549       2550              พ.ศ.
                              ในเขตเทศบาล                                          นอกเขตเทศบาล
             หมายเหตุ : ในพ.ศ. 2541 เป็นข้อมูลเฉพาะในเขตเทศบาลเท่านั้นไม่รวมข้อมูลในเขตสุขาภิบาล
                      : รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2541-2550
             ที่มา
                        สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

แผนภูมิ 6 สัดส่วนของครัวเรือนทีมวทยุ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541 - 2550
                               ่ีิ
    รอยละ
  100
             85.6
                    78.5   80.0            76.2
    80                                                                      70.4            68.0
                                  66.5                     68.7
                                                  64.1            58.5             56.3            56.6
    60
    40
    20
     0
              2541           2543           2545           2547               2549           2550         พ.ศ.
                           ในเขตเทศบาล                                      นอกเขตเทศบาล

             ที่มา : รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2541-2550
                     สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

                 เมือพิจารณาจำนวนเลขหมายโทรศัพท์พนฐานทีให้บริการ และทีมผเู้ ช่าต่อประชากร 100 คน ใน
                    ่                                  ้ื      ่             ่ี
พ.ศ.2550 พบว่า ทัวประเทศมีจำนวนเลขหมายโทรศัพท์พนฐานทีให้บริการร้อยละ 14.7 ในขณะทีมเี ลขหมาย
                         ่                                  ้ื    ่                           ่
ทีมผเู้ ช่าร้อยละ 11.2 เท่านัน และมีโทรศัพท์สาธารณะเพียงร้อยละ 0.5 โดยกรุงเทพฯและปริมณฑล มีสดส่วนการให้
  ่ี                         ้                                                              ั
บริการโทรศัพท์พนฐาน จำนวนเลขหมายโทรศัพท์พนฐานทีมผเู้ ช่า และโทรศัพท์สาธารณะสูงทีสด(แผนภูมิ 7-8)
                      ้ื                            ้ื     ่ี                          ุ่
แผนภูมิ 7 จำนวนเลขหมายโทรศัทพ์พนฐานทีให้บริการ และทีมผเู้ ช่าต่อประชากร 100 คน
                               ้ื    ่              ่ี
          จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550
    รอยละ
    60                      53.5
    45                             40.0

    30
             14.7
    15              11.2                                 9.9                               9.7 7.5
                                           7.4 5.8              7.6
                                                                           4.6 3.5
    0
                ทั่วราช     กรุงเทพฯ          กลาง             เหนือ       ตะวันออก        ใต            ภาค
                อาณาจักร    และปริมณฑล                                     เฉียงเหนือ
            จํานวนเลขหมายโทรศัพทพ้นฐานที่ใหบริการ
                                   ื                              จํานวนเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่มีผูเชา

         ทีมา : บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
           ่


แผนภูมิ 8 จำนวนโทรศัพท์สาธารณะต่อประชากร 100 คน จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550

   รอยละ
      2


                               1.2
    1

                0.5                                       0.4                              0.4
                                             0.3                            0.3

    0
              ทั่วราช        กรุงเทพฯ         กลาง        เหนือ          ตะวันออก           ใต         ภาค
             อาณาจักร      และปริมณฑล                                   เฉียงเหนือ

         ทีมา : บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
           ่
3) การแพร่ภาพและกระจายเสียง
             การแพร่ภาพและการกระจายเสียง หมายถึง การส่งกระจายภาพและเสียงออกไปในรูปสัญญาณ
แม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อให้เครื่องสามารถรับภาพ และเสียงได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันสื่อที่เป็นที่นิยม คือ วิทยุ
และโทรทัศน์ โดยสถานีวทยุกระจายเสียง แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบเอเอ็ม และระบบเอฟเอ็ม ใน พ.ศ.
                        ิ
2550 มีสถานีวทยุกระจายเสียงทังสิน จำนวน 524 สถานี เป็นระบบเอเอ็ม 211 สถานี และระบบเอฟเอ็ม 313
             ิ                  ้้
สถานี โดยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 85) เป็นสถานีที่อยู่ในภูมิภาค (แผนภูมิ 9) สำหรับจำนวนสถานีโทรทัศน์
มีจำนวนทังสิน 6 สถานี
         ้้
            และใน พ.ศ. 2551 ทั่วประเทศมีสถานีวิทยุชุมชนทั้งสิ้น 4,091 สถานี (แผนภูมิ 10) โดย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสถานีวทยุชมชนสูงทีสด จำนวน 1,477 สถานี (ร้อยละ 36.1) ในขณะทีภาคใต้
                                   ิุ       ุ่                                                       ่
มีเพียง 473 สถานี (ร้อยละ 11.6)




แผนภูมิ 9 จำนวนสถานีวทยุกระจายเสียง จำแนกตามประเภทของคลืน พ.ศ. 2550
                     ิ                                  ่

     สถานี
    400
                           313                                                      273
    300
                   211
                                                                            173
    200

    100
                                                38       40
      0
                  ทั่วราชอาณาจักร                กรุงเทพ                      ภูมิภาค              ภาค

                                    เอเอ็ม                              เอฟเอ็ม


             ทีมา : กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี
               ่
แผนภูมิ 10 จำนวนสถานีวทยุชมชน (ถึงเดือนกรกฎาคม) จำแนกตามภาค พ.ศ. 2551
                      ิุ

     สถานี
    5,000
                  4,091
    4,000
    3,000

    2,000                                                        1,477
                                    1,349
                                                      792
    1,000                                                                        473
       0
                  ทั่วราช            กลาง             เหนือ   ตะวันออก            ใต       ภาค
                  อาณาจักร                                    เฉียงเหนือ

             ที่มา : กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี


            4) อินเทอร์เน็ต

               เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือเข้าด้วยกันนับล้านๆ เครื่อง ผ่านโครงสร้าง
พืนฐานทางโทรคมนาคม ทำให้สามารถส่งผ่านข่าวสารข้อมูลจากแหล่งหนึงไปยังอีกแหล่งหนึงโดยไม่จำกัดระยะทาง
  ้                                                                 ่             ่
การเชือมต่อระบบอินเทอร์เน็ตกับคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
      ่
                   1) การเชือมต่อโดยตรง (dial - up IP) เป็นการนำระบบเข้าเชือมต่อโดยตรงกับสายหลัก
                              ่                                            ่
(Backbone) ของอินเทอร์เน็ต โดยผ่านอุปกรณ์ทเ่ี รียกว่า เกตเวย์ (Gateway) หรือเร้าเตอร์ (Router) ร่วมกับ
สายสัญญาณความเร็วสูง โดยต้องติดต่อโดยตรงกับ InterNIC ซึงเป็นองค์กรทีทำหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางในการ
                                                                ่            ่
รับสมัครเป็นสมาชิกของชุมชนอินเทอร์เน็ต เพือขอชือโดเมนและติดตังเกตเวย์เข้ากับสายหลัก
                                              ่่                      ้
                   2) การเชือมต่อผ่านทางผูให้บริการ (dial - up access) โดยผูให้บริการเชือมต่อระบบ
                            ่               ้                                  ้          ่
อินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP) ซึง ISP แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
                                                   ่
                      - การเชือมต่อแบบองค์กร (Coorporate User Service) เป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์
                                ่
ขององค์กรเข้าเชือมกับ ISP
                 ่
                       - การเชือมโยงส่วนบุคคล (Individual User Service) เป็นการใช้เครืองคอมพิวเตอร์
                                  ่                                                     ่
เชือมต่อผ่านสายโทรศัพท์ โดยใช้อปกรณ์ทเ่ี รียกว่า โมเด็ม (Modem)
    ่                                  ุ
                    โดยในปัจจุบน ความกว้างของสัญญาณ (Bandwidth) มีขนาด 29,226 เมกะบิตต่อวินาที
                                    ั
(Megabit per second: Mbps) ซึงเพิมขนาดอย่างต่อเนือง รวมทัง ปริมาณข้อมูลทีสงไปมาภายในประเทศ
                                         ่่             ่         ้              ่่
ผ่านทางอินเทอร์เน็ต มีแนวโน้มเพิมขึนอย่างต่อเนืองทุกเดือน ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 มีปริมาณข้อมูล
                                      ่้       ่
ทีสงไปมาประมาณ 217 GBต่อวัน (Gigabyte per day)
  ่่
แผนภูมิ 11 ระดับความกว้างของช่องสัญญาณระหว่างประเทศ พ.ศ. 2544 - 2551
    Mbps
  40,000
                                                                                                29,226
                                                                                           29,226
  30,000                                                                               22,073
                                                                                   22,073
  20,000
                                                               9,909
                                                     6,808 9,909
  10,000                              1,438 3,006 6,808
                     527 1,011975 1,438 3,006
                 642
         0
                   2544 2545 2546           2547 2548 2549 2550                                    2551       พ.ศ.
                            เขาประเทศไทย                            ออกจากประเทศไทย

         หมายเหตุ : ข้อมูล พ.ศ. 2551 เป็นข้อมูลถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551
         ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ


แผนภูมิ 12 ปริมาณข้อมูลทีสงไปมาภายในประเทศผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นรายเดือน พ. ศ. 2550 -2551
                         ่่

   GB/วัน
   250                                                                                       216.96
                                                                                   177.94
   200                                                                                               216.96
                                                                   157.01 162.91
                                                                                          196.96
                                                          131.51
   150                                          124.711
                                                                       157.91 160.93
                                                    144.01
                          82.011 93.711      126.71
   100             69.711
                                      96.511
                               90.011
              60.251 77.011
    50
     0
         ม.ค.-50        เม.ย.-50      ก.ค.-50         ต.ค.-50       ม.ค.-51    เม.ย.-51        ก.ค.-51 เดือน/พ.ศ.

             หมายเหตุ : ข้อมูล พ.ศ. 2551 เป็นข้อมูลถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551
             ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บทที่ 2
                 การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร
                                                       ่
            รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารตังแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                                      ่     ้
และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) จนถึงปัจจุบัน นั่นคือได้มีการดำเนินการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข่าวสารและสารสนเทศต่างๆ
ที่แพร่ผ่านเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ไม่ว่าจะอยู่ใกล้
หรือไกลก็สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเท่าเทียมกัน ทำให้ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการเข้าถึงความรู้
จนมีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในด้านอืนๆ    ่

     2.1. การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร
                                                 ่

           ในปัจจุบันการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ สามารถทำได้ง่าย รวมทั้งมีช่องทางหลายช่องทาง
อีกทั้งในปัจจุบันการใช้อินเทอร์เน็ต เสียค่าใช้จ่ายไม่มาก และเป็นช่องทางที่สะดวก รวดเร็ว และง่าย
เพราะสามารถใช้ผานสือได้หลายประเภท เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอถือ ฯลฯ
                 ่่                                             ื
          2.1.1 บุคคลทัวไป
                       ่
                    การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ของบุคคลทัวไปสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครืองมือ
                                                              ่                              ่
เนื่องจากคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบ่งบอกถึงโอกาสในการเข้าถึงแหล่งความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
โดยใช้อนเทอร์เน็ตเป็นสือ (Medium) ทีเ่ ป็นตัวกลางให้ขอมูล/สารสนเทศผ่านจากจุดส่งถึงผูรบในระบบเครือข่าย
        ิ              ่                             ้                               ้ั
คอมพิวเตอร์ หรือระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายหนึ่งไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง และในปัจจุบันเครื่อง
คอมพิวเตอร์ มีราคาถูกลง และขนาดเล็กสามารถพกพาไปได้งาย และสะดวกมากยิงขึน รวมทังการรับและส่งข้อมูล
                                                        ่                ่้        ้
ข่าวสารทางโทรศัพท์มอถือเป็นสิงทีได้รบความนิยมเป็นอย่างมาก
                     ื          ่่ ั
                   จากการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (ครัวเรือน) พบว่า ในปี 2550
                                                                      ่
ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ในเขตเทศบาลทั่วประเทศมีโทรศัพท์มือถือร้อยละ 61.1 และนอกเขตเทศบาล
มีโทรศัพท์มือถือร้อยละ 41.0 เมื่อเปรียบเทียบการใช้คอมพิวเตอร์ และการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า
ประชากรที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 36.9 และร้อยละ 24.8
ตามลำดับ ซึ่งมีสัดส่วนสูงกว่าประชากรที่อยู่นอกเขตเทศบาลที่มีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์ และ
อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 22.2 และร้อยละ 11.4 ตามลำดับ และเมือพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า กรุงเทพฯ มีสดส่วนของ
                                                       ่                                    ั
ประชากรทีมโทรศัพท์มอถือ ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตสูงทีสด คือ ร้อยละ 68.4 ร้อยละ 40.2 และ
            ่ี         ื                                     ุ่
ร้อยละ 29.9 ตามลำดับ (แผนภูมิ 13-15)
เมือพิจารณาการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตตามกลุมอายุ พบว่า กลุมอายุ 6-14 ปี
                       ่                                             ่                 ่
มีการใช้คอมพิวเตอร์สงทีสดคือร้อยละ 61.1 และกลุมอายุ 15 – 24 ปี มีการใช้อนเทอร์เน็ตสูงทีสด คือ ร้อยละ
                     ู ุ่                     ่                         ิ              ุ่
39.7 ส่วนประชากรทีมอายุ 50 ปีขนไปมีการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตน้อยทีสด คือมีเพียงร้อยละ 4.4
                   ่ี          ้ึ                                          ุ่
และร้อยละ 2.9 ตามลำดับ (แผนภูมิ 16)

แผนภูมิ 13 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีมโทรศัพท์มอถือ จำแนกตามภาค และ
                                      ้ึ    ่ี        ื
           เขตการปกครอง พ.ศ. 2550
     รอยละ
     80                         68.4
                                             61.9
               61.1                                                                                 55.7
                                                             55.1
     60                                                                           52.0
                                                    51.7
                                                                                                            40.6
                                                                    40.6
                      41.0                                                               35.2
     40

     20

      0
                   ทั่วราช     กรุงเทพฯ       กลาง                เหนือ       ตะวันออก                    ใต         ภาค
                   อาณาจักร                                                   เฉียงเหนือ
                               ในเขตเทศบาล                                   นอกเขตเทศบาล
            ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                    สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนภูมิ 14 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง
                                      ้ึ    ่
           พ.ศ. 2550
          รอยละ
          50
                                 40.2                      37.4            36.8
          40        36.9                                                                    34.3
                                             33.5
          30
                                                              23.3
                                                    24.6
                        22.2                                                                       22.4
                                                                                  20.3
          20

          10

           0
                   ทั่วราช      กรุงเทพฯ      กลาง          เหนือ          ตะวันออก      ใต                    ภาค
                   อาณาจักร                                                เฉียงเหนือ
                               ในเขตเทศบาล                                    นอกเขตเทศบาล
            ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                    สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนภูมิ 15 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง
                                      ้ึ   ่ิ
           พ.ศ. 2550
    รอยละ
    40
                            29.9
    30                                                       25.5
             24.8                                                                 23.0
                                             20.5                                               21.0
    20
                                                    13.3            13.2
                    11.4                                                                               10.1
                                                                                         9.9
    10

     0
             ทั่วราช       กรุงเทพฯ           กลาง            เหนือ            ตะวันออก            ใต        ภาค
             อาณาจักร                                                          เฉียงเหนือ
                              ในเขตเทศบาล                                     นอกเขตเทศบาล

         ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร



แผนภูมิ 16 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต จำแนกตามกลุมอายุ
                                      ้ึ    ่                                        ่
           พ.ศ. 2550
    รอยละ
    70     61.1
    60                         51.8
    50                                39.7
    40
    30                                              23.6
                19.3                                       15.9
    20                                                                     12.8
                                                                                  8.4
    10                                                                                         4.4 2.9
      0
            6 -14 ป           15 - 24 ป             25 - 34 ป           35 - 49 ป          50 ปขึ้นไป     อายุ

                             ใชคอมพิวเตอร                                  ใชอินเทอรเน็ต
         ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2.1.2 ครัวเรือน

                      ครัวเรือนเป็นสถานที่ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศฯได้สะดวกที่สุด
โดยที่ผ่านมาครัวเรือนจะได้รับข้อมูลข่าวสารทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ จากโทรทัศน์ วิทยุ
และหนังสือพิมพ์ เท่านัน แต่ในปัจบนการรับข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตเป็นสิงทีสะดวก และรวดเร็วมากยิงขึน
                       ้         ุั                                       ่่                          ่้
เครืองโทรสารเป็นเครืองมืออีกชนิดหนึงในการรับส่งข้อมูล แต่สดส่วนของครัวเรือนทีมเี ครืองโทรสารยังมีไม่มากนัก
     ่              ่               ่                     ั                  ่่
โดยสัดส่วนของครัวเรือนทัวประเทศมีเพียงร้อยละ 1.5 เท่านันทีมเี ครืองโทรสาร โดยครัวเรือนในเขตเทศบาล
                           ่                                ้่ ่
มีสดส่วนการมีเครืองโทรสารสูงกว่าครัวเรือนนอกเขตเทศบาลประมาณ 7 เท่าตัว (แผนภูมิ 17)
   ั             ่
                        เมือพิจารณาสัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์และเชือมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่า ใน
                          ่                            ่ี                   ่
เขตเทศบาลทั่วประเทศ มีครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร์และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต สูงกว่านอกเขตเทศบาล
โดยครัวเรือนในเขตเทศบาลมีคอมพิวเตอร์ร้อยละ 30.1 และครัวเรือนนอกเขตเทศบาลมีคอมพิวเตอร์
ร้อยละ 11.6 (แผนภูมิ 18)ในขณะทีครัวเรือนในเขตเทศบาลทีมคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือมต่ออินเทอร์เน็ตร้อยละ 17.0
                                   ่                      ่ี              ่
และครัวเรือนนอกเขตเทศบาลที่มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพียงร้อยละ 3.2 เท่านั้น (แผนภูมิ 19)
และเป็นทีนาสังเกตว่า ในเขตเทศบาลของทุกภาคมีสดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์และมีคอมพิวเตอร์
            ่่                                       ั                 ่ี
ทีเ่ ชือมต่ออินเทอร์เน็ตมากกว่านอกเขตเทศบาล โดยเฉพาะกรุงเทพฯ มีสดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์
       ่                                                             ั                  ่ี
และเชือมต่ออินเทอร์เน็ตสูงทีสด คือ ร้อยละ 36.6 และร้อยละ 24.7 ตามลำดับ
         ่                     ุ่

แผนภูมิ 17 สัดส่วนของครัวเรือนทีมเี ครืองโทรสาร จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง พ.ศ. 2550
                               ่่
     รอยละ
       8
                            6.1
       6
              3.7
       4
                                                          2.7                         2.6
                                           2.5                         2.0
       2                                         1.2                                        0.6
                    0.5                                         0.3          0.1
       0
              ทั่วราช      กรุงเทพฯ          กลาง          เหนือ        ตะวันออก         ใต         ภาค
              อาณาจักร                                                 เฉียงเหนือ
                          ในเขตเทศบาล                                 นอกเขตเทศบาล

           ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                   สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนภูมิ 18 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง พ.ศ.2550
                                 ่ี

      รอยละ
      40
                              36.6
               30.1                                       29.6           28.1
      30
                                           25.6                                         24.0
      20                                          16.4
                                                                 12.6                           11.1
                      11.6
                                                                                8.3
      10

       0
                ทั่วราช       กรุงเทพฯ       กลาง          เหนือ         ตะวันออก     ใต              ภาค
                อาณาจักร                                                 เฉียงเหนือ
                             ในเขตเทศบาล                                 นอกเขตเทศบาล

           ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                   สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


แผนภูมิ 19 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือมต่ออินเทอร์เน็ต จำแนกตามภาค
                               ่ี                  ่
           และเขตการปกครอง พ.ศ. 2550

      รอยละ
      30
                             24.7

      20       17.0
                                                         14.4
                                           13.5                                        12.9
                                                                        11.6
      10
                                                  5.6
                      3.2                                        3.7                          3.1
                                                                               1.5
       0
                ทั่วราช      กรุงเทพฯ        กลาง          เหนือ        ตะวันออก          ใต          ภาค
               อาณาจักร                                                  เฉียงเหนือ
                             ในเขตเทศบาล                                นอกเขตเทศบาล

           ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550
                   สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตIsriya Paireepairit
 
Classical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By PantapongClassical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By Pantapongpantapong
 
ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??
ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??
ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??KASETSART UNIVERSITY
 
บรรยายการสื่อสารออนไลน์
บรรยายการสื่อสารออนไลน์บรรยายการสื่อสารออนไลน์
บรรยายการสื่อสารออนไลน์Sakulsri Srisaracam
 
Creative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsCreative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsSarinee Achavanuntakul
 
Creativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By PantapongCreativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By Pantapongpantapong
 
New HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessNew HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessDrDanai Thienphut
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaSarinee Achavanuntakul
 

La actualidad más candente (19)

Flipalbum6
Flipalbum6Flipalbum6
Flipalbum6
 
KKU Faculty Staff Development
KKU Faculty Staff DevelopmentKKU Faculty Staff Development
KKU Faculty Staff Development
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
Macromedia Captivate
Macromedia CaptivateMacromedia Captivate
Macromedia Captivate
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
Classical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By PantapongClassical Triz Workshop By Pantapong
Classical Triz Workshop By Pantapong
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??
ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??
ECONOMIC INPERSPECTIVE AND INNOVATION WHY AND HOW ??
 
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
 
Health Eco
Health EcoHealth Eco
Health Eco
 
บรรยายการสื่อสารออนไลน์
บรรยายการสื่อสารออนไลน์บรรยายการสื่อสารออนไลน์
บรรยายการสื่อสารออนไลน์
 
Microsoft PowerPoint
Microsoft PowerPointMicrosoft PowerPoint
Microsoft PowerPoint
 
Creative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsCreative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business Models
 
Creativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By PantapongCreativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By Pantapong
 
New HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessNew HRD Concept for Business
New HRD Concept for Business
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social Media
 
Case Study 3 -OD & Change
Case Study 3 -OD & ChangeCase Study 3 -OD & Change
Case Study 3 -OD & Change
 
NECTEC Social Network2
NECTEC Social Network2NECTEC Social Network2
NECTEC Social Network2
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 

Destacado

บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 

Destacado (10)

3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 

Más de Pawoot (Pom) Pongvitayapanu

Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incThailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comMobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 

Más de Pawoot (Pom) Pongvitayapanu (20)

E-Commerce Bubble 2016
E-Commerce Bubble 2016E-Commerce Bubble 2016
E-Commerce Bubble 2016
 
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
 
Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015
 
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
 
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
 
A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business
 
Content Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
Content Marketing by Pawoot Pom PongvitayapanuContent Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
Content Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
 
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
 
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
 
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
 
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
 
9 fundamentals for e-commerce in thailand
9 fundamentals for e-commerce in thailand9 fundamentals for e-commerce in thailand
9 fundamentals for e-commerce in thailand
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
 
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
 
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incThailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
 
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
 
Thailand e-commerce report 55
Thailand e-commerce report 55Thailand e-commerce report 55
Thailand e-commerce report 55
 
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comMobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
 

รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551

  • 1.
  • 2.
  • 3. กลุมงานวิเคราะห์และพยากรณ์สถิตเิ ชิงเศรษฐกิจ ่ หน่วยงานเจ้าของเรือง ่ สำนักสถิตพยากรณ์ ิ สำนักงานสถิตแห่งชาติ ิ โทรศัพท์ 0 2281 0333 ต่อ 1404-1405,1407 โทรสาร 0 2282 5861 ไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์ : pakamas@nso.go.th ์ สำนักสถิตพยากรณ์ ิ หน่วยงานทีเ่ ผยแพร่ สำนักงานสถิตแห่งชาติ ิ ถนนหลานหลวง เขตป้อมปราบศัตรูพาย กทม. 10100 ่ โทร 0 2281 0333 ต่อ 1413 โทรสาร 0 2281 6438 ไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์ services@nso.go.th ์ 2551 ปีที่พิมพ์
  • 4. คำปรารภ จากภารกิ จ ของสำนั ก งานสถิ ต ิ แ ห่ ง ชาติ ที ่ เ ป็ น หน่ ว ยงานกลางในการจั ด ทำสถิ ต ิ และรวบรวมข้อมูลสถิติที่สำคัญ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ และเอกชน ในการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนงาน รวมทัง สนับสนุน ติดตาม วิเคราะห์ และประเมินผลการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ้ แต่ ใ นปั จ จุ บ ั น ข้ อ มู ล และสถิ ต ิ ด ้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สาร (ICT) มีอยูกระจัดกระจายในหลายๆ หน่วยงาน ดังนัน สำนักงานสถิตแห่งชาติได้ตระหนักถึงความสำคัญของข้อมูล ่ ้ ิ ICT ทีเ่ ป็นปัจจัยทีสำคัญในการพัฒนาประเทศให้กาวไปสูการเป็นสังคมและเศรษฐกิจแห่งภูมปญญาและการเรียนรู้ ่ ้่ ิั (Knowledge – based Society/Economy)จึงได้ดำเนินการจัดทำเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือสารของประเทศไทยขึน เป็นประจำทุกปี ตังแต่ปี 2547 เพือเสนอตัวชีวดทีสะท้อนให้เห็นการพัฒนา ่ ้ ้ ่ ้ั ่ ICT ของประเทศในปัจจุบัน รวมทั้ง สามารถใช้ในการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนแม่บท ICT (นางธนนุช ตรีทพยบุตร) ิ เลขาธิการสถิตแห่งชาติ ิ
  • 5. คำนำ สำนักงานสถิติแห่งชาติจัดทำเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของประเทศไทย พ.ศ. 2551 นี้เป็นฉบับที่ 6 โดยรวบรวมข้อมูลสถิติที่สำคัญๆที่ได้มาจากสำนักงาน สถิติแห่งชาติเป็นหลัก และข้อมูลจากหน่วยงานอื่นๆมาจัดทำเป็นตัวชี้วัดทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เพื่อแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ของประเทศ รวมทั้ง ใช้ในการประเมินนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศฯ โดยได้มการนำเสนอเป็น 6 บท คือ บทที่ 1 ภาพรวม ี ทิ ศ ทาง และองค์ ป ระกอบการพั ฒ นา ICT ของประเทศ ซึ ่ ง จะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง นโยบาย เป้ า หมาย และองค์ ป ระกอบที ่ ส ำคั ญ ของการพั ฒ นา ICT บทที ่ 2 เป็ น การแสดงการมี แ ละการใช้ ICT ในปัจจุบันเปรียบเทียบกับอดีต รวมทั้ง เปรียบเทียบการใช้ ICT ในเขตเมืองและเขตชนบท บทที่ 3 ICT กับระบบเศรษฐกิจ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการใช้ ICT ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งในระดับประเทศ และระดับผู้ประกอบการ สำหรับบทที่ 4 ICT กับสังคม เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ ICT กับการพัฒนาสังคม บทที่ 5 เปรียบเทียบการใช้ ICT กับประเทศต่างๆ ซึงแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ ICT ่ เปรี ย บเที ย บกั บ ประเทศที ่ พ ั ฒ นาแล้ ว และประเทศที ่ ก ำลั ง พั ฒ นา และบทที ่ 6 สรุ ป ผลการพั ฒ นา เพือสรุปสถานการณ์การพัฒนา ICT ของประเทศไทย ่ สำนั ก งานสถิ ต ิ แ ห่ ง ชาติ ขอขอบคุ ณ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที ่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามอนุ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ซึ ่ ง เป็ น ผลให้ ก ารทำรายงานฉบั บ นี ้ ส ำเร็ จ ลุ ล ่ ว งไปด้ ว ยดี และหวั ง เป็ น อย่ า งยิ ่ ง ว่ า รายงานฉบั บ นี ้ จะเป็นประโยชน์ตอหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และผูสนใจทุกท่าน ่ ้
  • 6. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 1 บทนำ 1.3 องค์ประกอบการพัฒนา ICT ทีสำคัญ ่ แผนภูมิ 1 จำนวนปีโดยเฉลียของการศึกษาในโรงเรียนสำหรับประชากรอายุ 15 ปีขนไป ่ ้ึ พ.ศ. 2544 - 2550 แผนภูมิ 2 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 - 2550 ้ึ แผนภูมิ 3 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา จำแนกตามภาค ้ึ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 4 สัดส่วนของครัวเรือนทีมไฟฟ้าใช้ พ.ศ. 2539 - 2550 ่ี แผนภูมิ 5 สัดส่วนของครัวเรือนทีมโทรทัศน์ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541-2550 ่ี แผนภูมิ 6 สัดส่วนของครัวเรือนทีมวทยุ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541-2550 ่ีิ แผนภูมิ 7 จำนวนเลขหมายโทรศัพท์พ้นฐานทีให้บริการ และทีมผเู้ ช่าต่อประชากร 100 คน ื ่ ่ี จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 8 จำนวนโทรศัพท์สาธารณะต่อประชากร 100 คน จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 9 จำนวนสถานีวทยุกระจายเสียง จำแนกตามประเภทของคลืน พ.ศ. 2550 ิ ่ แผนภูมิ 10 จำนวนสถานีวทยุชมชน (ถึงเดือนกรกฎาคม) จำแนกตามภาค พ.ศ. 2551 ิุ แผนภูมิ 11 ระดับความกว้างของช่องสัญญาณระหว่างประเทศ พ.ศ. 2544 - 2551 แผนภูมิ 12 ปริมาณข้อมูลทีสงไปมาภายในประเทศผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นรายเดือน ่่ พ.ศ. 2550 - 2551
  • 7. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 2 การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ่ 2.1 การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ่ แผนภูมิ 13 สัดส่วนประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีมโทรศัพท์มอถือ จำแนกตามภาค และเขต ้ึ ่ ี ื การปกครอง พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 14 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค และเขต ้ึ ่ การปกครอง พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 15 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามภาคและเขต ้ึ ่ ิ การปกครอง พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 16 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ้ึ ่ จำแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2550 ่ แผนภูมิ 17 สัดส่วนของครัวเรือนทีมเี ครืองโทรสาร จำแนกตามภาคและเขตการปกครอง พ.ศ. 2550 ่่ แผนภูมิ 18 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาคและเขตการปกครอง พ.ศ. 2550 ่ี แผนภูมิ 19 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือมต่ออินเทอร์เน็ต จำแนกตามภาคและเขต ่ี ่ การปกครอง พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 20 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมการใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 ่ี แผนภูมิ 21 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมการใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 ่ี ิ แผนภูมิ 22 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมการใช้เว็บไซต์ จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 ่ี 2.2 แนวโน้มการขยายตัวของการมีและการใช้ ICT ในครัวเรือนและสถานประกอบการ แผนภูมิ 23 สัดส่วนของครัวเรือนทีมไฟฟ้า โทรศัพท์พนฐาน คอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์ ่ี ้ื เชือมต่ออินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2549-2550 ่ แผนภูมิ 24 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามแหล่งทีใช้ ้ึ ่ ิ ่ พ.ศ. 2546-2550 แผนภูมิ 25 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไปทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามกิจกรรมทีใช้ ้ึ ่ ิ ่ พ.ศ. 2546-2550 แผนภูมิ 26 สัดส่วนของสถานประกอบการธุรกิจทีมการใช้คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2547 - 2550 ่ี แผนภูมิ 27 สัดส่วนของสถานประกอบการทีมคอมพิวเตอร์ และใช้อนเทอร์เน็ต พ.ศ. 2547 - 2550 ่ี ิ
  • 8. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ่ 3.1 การวิจยและการพัฒนา และสิทธิบตร ั ั แผนภูมิ 28 ค่าใช้จายเพือการวิจยและการพัฒนา และร้อยละของค่าใช้จายทางการวิจย ่่ ั ่ ั และการพัฒนาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ พ.ศ. 2542 - 2548 แผนภูมิ 29 ค่าใช้จายเพือการวิจยและการพัฒนาต่อประชากรรายหัว พ.ศ. 2542 - 2548 ่่ ั แผนภูมิ 30 จำนวนสิทธิบตรจดทะเบียนต่อประชากร 1,000,000 คน พ.ศ. 2542 - 2550 ั แผนภูมิ 31 จำนวนสิทธิบตรทีคนไทยและคนต่างชาติได้รบ พ.ศ. 2544 - 2550 ั่ ั แผนภูมิ 32 จำนวนสิทธิบตรทีได้รบ จำแนกตามประเภทสิทธิบตร พ.ศ. 2544 - 2550 ั่ั ั แผนภูมิ 33 ร้อยละของสิทธิบตร จำแนกตามชนิดของสิทธิบตร พ.ศ. 2542 - 2550 ั ั แผนภูมิ 34 อัตราการเติบโตของสิทธิบตร ICT พ.ศ. 2541 - 2551 ั
  • 9. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ่ 3.2 พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ แผนภูมิ 35 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามประเภทผูประกอบการ พ.ศ. 2550 ้ แผนภูมิ 36 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามกลุมอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550 ่ แผนภูมิ 37 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามขนาดธุรกิจ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 38 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามขนาดธุรกิจ และประเภท ผูประกอบการ พ.ศ. 2550 ้ แผนภูมิ 39 ร้อยละของธุรกิจาพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์จำแนกตามระยะเวลาทีทำธุรกิจ ่ พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 40 ร้อยละของมูลค่าธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามประเภทผูประกอบการ ้ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 41 ร้อยละของมูลค่าธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามตลาดทีขายสินค้า พ.ศ. 2550 ่ แผนภูมิ 42 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามค่าใช้จายด้าน ICT พ.ศ. 2550 ่ แผนภูมิ 43 ค่าใช้จายด้าน ICT เพือพัฒนาระบบพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามประเภท ่ ่ ผูประกอบการ พ.ศ. 2550 ้ แผนภูมิ 44 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามการมีเว็บไซต์ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 45 สัดส่วนของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการใช้เว็บไซต์ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 46 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามรูปแบบและวิธการ ี ชำระค่าสินค้า/บริการของลูกค้า พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 47 ร้อยละของธุรกิจพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามระบบการจัดส่งสินค้า พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 48 ร้อยละของธุรกิจพาณฺชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ จำแนกตามความเห็นเกียวกับแนวโน้ม ่ ของยอดขายผ่านอิเล็กทรอนิกส์ และรูปแบบพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์เปรียบเทียบ ระหว่าง พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2549
  • 10. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ่ 3.3 การขยายตัวของตลาดสินค้า แผนภูมิ 49 มูลค่าการขยายตัวของตลาดสินค้าประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ่ ทีมการซือขายภายในประเทศ พ.ศ. 2549 - 2551 ่ี ้ แผนภูมิ 50 ร้อยละของมูลค่าสินค้า ICT ทีมการซือขายภายในประเทศ จำแนกตามประเภท ่ี ้ สินค้า พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 51 ร้อยละของการบริโภคซอฟต์แวร์ จำแนกตามภาคเศรษฐกิจ พ.ศ. 2549 - 2550 แผนภูมิ 52 ร้อยละปริมาณการจำหน่ายเครืองคอมพิวเตอร์ จำแนกตามประเภทของคอมพิวเตอร์ ่ พ.ศ. 2547 - 2551 3.4 ดุลการค้าของสินค้า แผนภูมิ 53 ดุลการค้าของสินค้า ICT พ.ศ. 2544 - 2549
  • 11. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ่ 3.5 แรงงานด้าน ICT ร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 54 ้ ร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ พ.ศ. 2544 - 2550 แผนภูมิ 55 ้ ่ จำนวนและร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ และภาค พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 56 ้ ่ จำนวนและร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ และระดับการศึกษา แผนภูมิ 57 ้ ่ ทีสำเร็จ พ.ศ. 2550 ่ จำนวนและร้อยละของผูทำงานด้าน ICT จำแนกตามกลุมทักษะ แผนภูมิ 58 ้ ่ และสถานภาพการทำงาน พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 59 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทีมผทำงานมากทีสด 5 ลำดับแรก จำแนกตามกลุมทักษะ ่ ี ู้ ุ่ ่ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 60 ร้อยละของผูปฏิบตหน้าทีดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จำแนกตามกิจกรรม ้ ัิ ่้ ทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 61 ร้อยละของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำแนกตามกลุมอาชีพ/ตำแหน่ง ่ พ.ศ. 2550 3.6 รายรับของสถานประกอบการทีมการใช้ ICT ่ี แผนภูมิ 62 ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามการเปลียนแปลงของรายรับ พ.ศ. 2550 ่ แผนภูมิ 63 ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามการเปลียนแปลงของรายรับ และ ่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2550 แผนภูมิ 64 ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามการเปลียนแปลงของรายรับ และ ่ ขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2550
  • 12. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร เพือการพัฒนา ่ ่ 4.3 การใช้ ICT ของภาครัฐ แผนภูมิ 65 สัดส่วนขององค์การปกครองส่วนท้องถินทีมเี ว็บไซต์ จำแนกตามประเภทของหน่วยงาน ่่ พ.ศ. 2551
  • 13. สารบัญแผนภูมิ บทที่ 5 การมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในภูมภาคเอเชีย ่ ิ 5.1 จำนวนเครืองคอมพิวเตอร์ตอประชากร ่ ่ แผนภูมิ 66 เปรียบเทียบจำนวนคอมพิวเตอร์ตอประชากร 100 คน ของประเทศในภูมภาค ่ ิ เอเชีย พ.ศ. 2545 - 2548 5.2 การใช้อนเตอร์เน็ต ิ แผนภูมิ 67 เปรียบเทียบการใช้อนเทอร์เน็ตกับประเทศในภูมภาคเอเชีย พ.ศ. 2545 - 2550 ิ ิ 5.3 จำนวนเลขหมายโทรศัพท์ตอประชากร ่ แผนภูมิ 68 เปรียบเทียบการมีโทรศัพท์พนฐานต่อประชากร 100 คน กับประเทศในภูมภาค ้ื ิ เอเชีย พ.ศ. 2545 - 2550 แผนภูมิ 69 เปรียบเทียบการมีโทรศัพท์มอถือกับประเทศในภูมภาคเอเชีย พ.ศ. 2545 - 2550 ื ิ
  • 14. สัญลักษณ์ -- หมายถึง ต่ำกว่าร้อยละ 0.1 - หมายถึง ไม่มขอมูล ี้ ตัวย่อ บ. บริษัท พ.ร.บ. พระราชบัญญัติ อปท. องค์การปกครองส่วนท้องถิน ่ อบท. องค์การบริหารส่วนท้องถิน่ GB กิกกะไบต์ ๊ GDP ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ICT (ไอซีท)ี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ่ Inter NIC ศูนย์กลางเครือข่ายระหว่างประเทศ IP รูปแบบการสือสารทางอินเทอร์เน็ต ่ IT (ไอที) เทคโนโลยีสารสนเทศ Mbps เมกกะบิตต่อวินาที
  • 15. บทที่ 1 บทนำ ในโลกยุคปัจจุบน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (Information and Communication Tech- ั ่ nology: ICT) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาขีดความสามารถของประเทศและเป็นเครื่องมือที่สำคัญ ที่จะช่วยขับเคลื่อนให้ประเทศก้าวสู่การเป็นสังคมและเศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge Based Society /Economy) และเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ่ 1.1 ภาพรวมการพัฒนา ICT ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ซึงเห็นได้จาก ่ ่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 - 2544 จนถึงฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554 ได้ให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนา และการสร้างองค์ความรู้ โดยกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ และยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน รวมทั้งได้มีการกำหนดแผนการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ดังนี้ ่ 1.1.1 การจัดทำกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะที่ 1 หรือนโยบาย IT 2000 (พ.ศ.2539- 2543) โดยมีวตถุประสงค์ เพือพัฒนาโครงสร้างพืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และทรัพยากรมนุษย์ ั ่ ้ ่ 1.1.2 การจัดทำกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2544 – 2553 หรือนโยบาย IT 2010 โดยมีเป้าหมายหลัก 3 ประการ ได้แก่ 1) การพัฒนาโครงสร้างพืนฐานของประเทศให้มความพร้อมทีจะเป็นประเทศทีมศกยภาพ ้ ี ่ ่ีั ที่จะเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้ 2) เพิมจำนวนแรงงานทีมความรูในประเทศ ่ ่ี ้ 3) ส่งเสริมให้มการจัดตังอุตสาหกรรมฐานความรู้ (Knowledge Based Industries) ใน ี ้ ประเทศ 1.1.3 แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545 - 2549 ได้ ่ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติทมนายกรัฐมนตรีเป็นประธานเมือวันที่ 3 ่ี ี ่ ตุลาคม พ.ศ. 2544 และจากคณะรัฐมนตรีเมือวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึงแผนแม่บทฉบับนีมเี ป้าหมาย ่ ่ ้ หลัก ดังนี้ 1) พัฒนา และยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศโดยใช้ ICT 2) ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT ของประเทศ 3) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยเพิมการประยุกต์ใช้ ICT ในด้านการศึกษา และฝึกอบรม ่ 4) สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในชนบทเพือการพัฒนาประเทศทียงยืน ่ ่ ่ั
  • 16. 1.2 ทิศทางการพัฒนา ICT จากการทีประเทศไทยได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารจึงได้มการก่อ ่ ่ ี ตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 โดยได้มีการกำหนด ยุทธศาสตร์ของกระทรวงฯ ทีสำคัญ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ่ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารของ ้ ่ ประเทศให้ทวถึง และมีประสิทธิภาพ ่ั ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบมาตรฐานเพือการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลภาครัฐ ่ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมและผูประกอบการด้านเทคโนโลยี ้ สารสนเทศและการสือสารให้มศกยภาพเพิมขึน และสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก ่ ีั ่้ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร และส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ่ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 วิจยและพัฒนาด้านนโยบาย แผน กฎหมาย ระเบียบ มาตรการและ ั นวัตกรรม ทีเ่ กียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร เพือประโยชน์ตอการพัฒนาประเทศ ่ ่ ่ ่ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ส่งเสริม และสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารมาใช้ใน ่ การพัฒนาระบบบริหารจัดการ และบริการภาครัฐสูประชาชนอย่างมีคณภาพและทัวถึง เพือการพัฒนาเศรษฐกิจ ่ ุ ่ ่ สังคม การเมือง การเตือนภัย และความมันคงของประเทศ ่ 1.3 องค์ประกอบการพัฒนา ICT ทีสำคัญ ่ เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการพัฒนา ICT ของประเทศไทย เพื่อก้าวสู่การ เป็นสังคมและเศรษฐกิจแห่งภูมปญญาและการเรียนรูนน ประกอบด้วยปัจจัยทีสำคัญ ดังนี้ ิั ้ ้ั ่ 1.3.1 ทรัพยากรมนุษย์ มนุษย์ ถือเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ตังแต่ ฉบับที่ 8 จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ได้กำหนดให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ้ โดยให้ความสำคัญ ต่อการพัฒนาคุณภาพของคน และยกระดับคุณภาพความรูของคนไทยให้เป็นกำลังแรงงาน ้ ที่มีคุณภาพ และสมบูรณ์ไปด้วยภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เนื่องจากคนเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสนับสนุน การพัฒนาเศรษฐกิจและการเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศทีสำคัญ ่ ่ ตัวชีวดทีสำคัญทีสะท้อนการพัฒนาคุณภาพของคน คือ จำนวนปีโดยเฉลียของการ ้ั ่ ่ ่ ศึกษาในโรงเรียนสำหรับประชากรอายุ 15 ปีขนไป ซึงจะเห็นได้วาเพิมขึนจาก 7.1 ปี ในปี 2544 เป็น 7.8 ปี ใน ้ึ ่ ่่้ ปี 2550 (แผนภูมิ 1) ในขณะทีประชากรทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษาในปี 2550 มีรอยละ 7.3 เพิมขึน จากปี 2549 ่ ้ ่้ (ร้อยละ 7.1) ไม่มากนัก (แผนภูมิ 2) และเป็นทีนาสังเกตว่า ประชากรทีเ่ รียนจบอุดมศึกษาส่วนใหญ่อยูในเมือง ่่ ่ เช่น กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (แผนภูมิ 3)
  • 17. แผนภูมิ 1 จำนวนปีโดยเฉลียของการศึกษาในโรงเรียนสำหรับประชากรอายุ 15 ปีขนไป พ.ศ. 2544 - 2550 ่ ้ึ จํานวนป 10 7.8 7.6 7.5 7.5 7.2 7.3 8 7.1 6 4 2 0 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 พ.ศ. ที่มา : รายงานการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร พ.ศ. 2544 - 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนภูมิ 2 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 - 2550 ้ึ รอยละ 10 7.3 8 7.1 6.8 6 4 2 0 2548 2549 2550 พ.ศ. ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 18. แผนภูมิ 3 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีเ่ รียนจบระดับอุดมศึกษา จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 ้ึ รอยละ 30 20.9 20 10 8.1 7.3 6.1 5.5 3.8 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร และปริมณฑล เฉียงเหนือ ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.3.2 โครงสร้างพืนฐาน ้ โครงสร้างพืนฐานทีสำคัญ ประกอบด้วยการมีไฟฟ้า เครืองมือ อุปกรณ์ และสิงอำนวยความ ้ ่ ่ ่ สะดวกต่างๆ เพื่อให้ประชาชนในแต่ละพื้นที่ของประเทศ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศได้เท่าเทียมกัน เพือไม่ให้เกิดปัญหาความเหลือมล้ำในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้ (Digital Divide) ่ ่ 1) การมีไฟฟ้า ไฟฟ้ า เป็ น สาธารณู ป โภคที ่ จ ำเป็ น ในชี ว ิ ต ประจำวั น ของคนในยุ ค ปั จ จุ บ ั น รวมทั ้ ง เป็ น สิ ่ ง จำเป็ น ในการใช้ เ ครื ่ อ งมื อ สื ่ อ สารโทรคมนาคม และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต ่ า งๆ ดั ง นั ้ น การมีไฟฟ้าใช้อย่างทั่วถึงจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญในการเข้าถึง ICT ของคนในแต่ละพื้นที่ โดยในปี 2550 ครัวเรือนในประเทศไทยร้อยละ 99.7 มีไฟฟ้าใช้ และมีเพียงร้อยละ 0.3 ที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ทั้งนี้ อาจเป็น เพราะอยูหางไกล หรือมีปญหาทีไม่สามารถพัฒนาสาธารณูปโภคนีได้ (แผนภูมิ 4) ่่ ั ่ ้
  • 19. แผนภูมิ 4 สัดส่วนของครัวเรือนทีมไฟฟ้าใช้ พ.ศ. 2539 - 2550 ่ี รอยละ 99.7 98.5 98.3 98.9 99.3 98.0 96.8 100 80 60 40 20 0 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2550 พ.ศ. ที่มา : รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2539 - 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) โทรคมนาคม หมายถึง การติดต่อสื่อสารทางไกล การรับส่งหรือแลกเปลี่ยนข่าวสารรูปแบบต่างๆ โดย มีสารรับส่งคลื่นวิทยุ หรือสื่อกลางอื่นๆ เพื่อขยายขอบเขตการรับส่ง หรือแลกเปลี่ยนให้กว้างไกลขึ้น สามารถแบ่งการสือสารโทรคมนาคมเป็น 2 ประเภท คือ แบบ Undirection การสือสารทางเดียว เช่น วิทยุ ่ ่ โทรทัศน์ และแบบ Bidirection การสือสารทังสองทาง เช่น โทรศัพท์ โทรเลข ่ ้ เมื่อพิจารณาระหว่าง พ.ศ. 2541-2550 จะพบว่า ครัวเรือนทั่วประเทศมีโทรทัศน์มากขึ้น และมีวิทยุลดลง โดยครัวเรือนในเขตเทศบาลมีสัดส่วนการมีโทรทัศน์และวิทยุมากกว่านอกเขตเทศบาลเพียง เล็กน้อยโดยในปี 2550 ครัวเรือนในเขตเทศบาล ร้อยละ 96.4 มีโทรทัศน์ และร้อยละ 68.0 มีวิทยุ ในขณะทีครัวเรือนนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 94.7 มีโทรทัศน์ และร้อยละ 56.6 มีวทยุ (แผนภูมิ 5 - 6) ่ ิ
  • 20. แผนภูมิ 5 สัดส่วนของครัวเรือนทีมโทรทัศน์ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541 - 2550 ่ี รอยละ 100 95.9 96.4 95.2 94.1 93.1 94.7 93.0 93.2 92.2 90 87.9 90.6 87.6 80 2541 2543 2545 2547 2549 2550 พ.ศ. ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล หมายเหตุ : ในพ.ศ. 2541 เป็นข้อมูลเฉพาะในเขตเทศบาลเท่านั้นไม่รวมข้อมูลในเขตสุขาภิบาล : รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2541-2550 ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนภูมิ 6 สัดส่วนของครัวเรือนทีมวทยุ จำแนกตามเขตการปกครอง พ.ศ. 2541 - 2550 ่ีิ รอยละ 100 85.6 78.5 80.0 76.2 80 70.4 68.0 66.5 68.7 64.1 58.5 56.3 56.6 60 40 20 0 2541 2543 2545 2547 2549 2550 พ.ศ. ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ที่มา : รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2541-2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมือพิจารณาจำนวนเลขหมายโทรศัพท์พนฐานทีให้บริการ และทีมผเู้ ช่าต่อประชากร 100 คน ใน ่ ้ื ่ ่ี พ.ศ.2550 พบว่า ทัวประเทศมีจำนวนเลขหมายโทรศัพท์พนฐานทีให้บริการร้อยละ 14.7 ในขณะทีมเี ลขหมาย ่ ้ื ่ ่ ทีมผเู้ ช่าร้อยละ 11.2 เท่านัน และมีโทรศัพท์สาธารณะเพียงร้อยละ 0.5 โดยกรุงเทพฯและปริมณฑล มีสดส่วนการให้ ่ี ้ ั บริการโทรศัพท์พนฐาน จำนวนเลขหมายโทรศัพท์พนฐานทีมผเู้ ช่า และโทรศัพท์สาธารณะสูงทีสด(แผนภูมิ 7-8) ้ื ้ื ่ี ุ่
  • 21. แผนภูมิ 7 จำนวนเลขหมายโทรศัทพ์พนฐานทีให้บริการ และทีมผเู้ ช่าต่อประชากร 100 คน ้ื ่ ่ี จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 รอยละ 60 53.5 45 40.0 30 14.7 15 11.2 9.9 9.7 7.5 7.4 5.8 7.6 4.6 3.5 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร และปริมณฑล เฉียงเหนือ จํานวนเลขหมายโทรศัพทพ้นฐานที่ใหบริการ ื จํานวนเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่มีผูเชา ทีมา : บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ่ แผนภูมิ 8 จำนวนโทรศัพท์สาธารณะต่อประชากร 100 คน จำแนกตามภาค พ.ศ. 2550 รอยละ 2 1.2 1 0.5 0.4 0.4 0.3 0.3 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร และปริมณฑล เฉียงเหนือ ทีมา : บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ่
  • 22. 3) การแพร่ภาพและกระจายเสียง การแพร่ภาพและการกระจายเสียง หมายถึง การส่งกระจายภาพและเสียงออกไปในรูปสัญญาณ แม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อให้เครื่องสามารถรับภาพ และเสียงได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันสื่อที่เป็นที่นิยม คือ วิทยุ และโทรทัศน์ โดยสถานีวทยุกระจายเสียง แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบเอเอ็ม และระบบเอฟเอ็ม ใน พ.ศ. ิ 2550 มีสถานีวทยุกระจายเสียงทังสิน จำนวน 524 สถานี เป็นระบบเอเอ็ม 211 สถานี และระบบเอฟเอ็ม 313 ิ ้้ สถานี โดยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 85) เป็นสถานีที่อยู่ในภูมิภาค (แผนภูมิ 9) สำหรับจำนวนสถานีโทรทัศน์ มีจำนวนทังสิน 6 สถานี ้้ และใน พ.ศ. 2551 ทั่วประเทศมีสถานีวิทยุชุมชนทั้งสิ้น 4,091 สถานี (แผนภูมิ 10) โดย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสถานีวทยุชมชนสูงทีสด จำนวน 1,477 สถานี (ร้อยละ 36.1) ในขณะทีภาคใต้ ิุ ุ่ ่ มีเพียง 473 สถานี (ร้อยละ 11.6) แผนภูมิ 9 จำนวนสถานีวทยุกระจายเสียง จำแนกตามประเภทของคลืน พ.ศ. 2550 ิ ่ สถานี 400 313 273 300 211 173 200 100 38 40 0 ทั่วราชอาณาจักร กรุงเทพ ภูมิภาค ภาค เอเอ็ม เอฟเอ็ม ทีมา : กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี ่
  • 23. แผนภูมิ 10 จำนวนสถานีวทยุชมชน (ถึงเดือนกรกฎาคม) จำแนกตามภาค พ.ศ. 2551 ิุ สถานี 5,000 4,091 4,000 3,000 2,000 1,477 1,349 792 1,000 473 0 ทั่วราช กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร เฉียงเหนือ ที่มา : กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี 4) อินเทอร์เน็ต เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือเข้าด้วยกันนับล้านๆ เครื่อง ผ่านโครงสร้าง พืนฐานทางโทรคมนาคม ทำให้สามารถส่งผ่านข่าวสารข้อมูลจากแหล่งหนึงไปยังอีกแหล่งหนึงโดยไม่จำกัดระยะทาง ้ ่ ่ การเชือมต่อระบบอินเทอร์เน็ตกับคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ ่ 1) การเชือมต่อโดยตรง (dial - up IP) เป็นการนำระบบเข้าเชือมต่อโดยตรงกับสายหลัก ่ ่ (Backbone) ของอินเทอร์เน็ต โดยผ่านอุปกรณ์ทเ่ี รียกว่า เกตเวย์ (Gateway) หรือเร้าเตอร์ (Router) ร่วมกับ สายสัญญาณความเร็วสูง โดยต้องติดต่อโดยตรงกับ InterNIC ซึงเป็นองค์กรทีทำหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางในการ ่ ่ รับสมัครเป็นสมาชิกของชุมชนอินเทอร์เน็ต เพือขอชือโดเมนและติดตังเกตเวย์เข้ากับสายหลัก ่่ ้ 2) การเชือมต่อผ่านทางผูให้บริการ (dial - up access) โดยผูให้บริการเชือมต่อระบบ ่ ้ ้ ่ อินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP) ซึง ISP แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ่ - การเชือมต่อแบบองค์กร (Coorporate User Service) เป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์ ่ ขององค์กรเข้าเชือมกับ ISP ่ - การเชือมโยงส่วนบุคคล (Individual User Service) เป็นการใช้เครืองคอมพิวเตอร์ ่ ่ เชือมต่อผ่านสายโทรศัพท์ โดยใช้อปกรณ์ทเ่ี รียกว่า โมเด็ม (Modem) ่ ุ โดยในปัจจุบน ความกว้างของสัญญาณ (Bandwidth) มีขนาด 29,226 เมกะบิตต่อวินาที ั (Megabit per second: Mbps) ซึงเพิมขนาดอย่างต่อเนือง รวมทัง ปริมาณข้อมูลทีสงไปมาภายในประเทศ ่่ ่ ้ ่่ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต มีแนวโน้มเพิมขึนอย่างต่อเนืองทุกเดือน ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 มีปริมาณข้อมูล ่้ ่ ทีสงไปมาประมาณ 217 GBต่อวัน (Gigabyte per day) ่่
  • 24. แผนภูมิ 11 ระดับความกว้างของช่องสัญญาณระหว่างประเทศ พ.ศ. 2544 - 2551 Mbps 40,000 29,226 29,226 30,000 22,073 22,073 20,000 9,909 6,808 9,909 10,000 1,438 3,006 6,808 527 1,011975 1,438 3,006 642 0 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 พ.ศ. เขาประเทศไทย ออกจากประเทศไทย หมายเหตุ : ข้อมูล พ.ศ. 2551 เป็นข้อมูลถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ แผนภูมิ 12 ปริมาณข้อมูลทีสงไปมาภายในประเทศผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นรายเดือน พ. ศ. 2550 -2551 ่่ GB/วัน 250 216.96 177.94 200 216.96 157.01 162.91 196.96 131.51 150 124.711 157.91 160.93 144.01 82.011 93.711 126.71 100 69.711 96.511 90.011 60.251 77.011 50 0 ม.ค.-50 เม.ย.-50 ก.ค.-50 ต.ค.-50 ม.ค.-51 เม.ย.-51 ก.ค.-51 เดือน/พ.ศ. หมายเหตุ : ข้อมูล พ.ศ. 2551 เป็นข้อมูลถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 25. บทที่ 2 การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ่ รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารตังแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ่ ้ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) จนถึงปัจจุบัน นั่นคือได้มีการดำเนินการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข่าวสารและสารสนเทศต่างๆ ที่แพร่ผ่านเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ไม่ว่าจะอยู่ใกล้ หรือไกลก็สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเท่าเทียมกัน ทำให้ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการเข้าถึงความรู้ จนมีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในด้านอืนๆ ่ 2.1. การมีและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร ่ ในปัจจุบันการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ สามารถทำได้ง่าย รวมทั้งมีช่องทางหลายช่องทาง อีกทั้งในปัจจุบันการใช้อินเทอร์เน็ต เสียค่าใช้จ่ายไม่มาก และเป็นช่องทางที่สะดวก รวดเร็ว และง่าย เพราะสามารถใช้ผานสือได้หลายประเภท เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอถือ ฯลฯ ่่ ื 2.1.1 บุคคลทัวไป ่ การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ของบุคคลทัวไปสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครืองมือ ่ ่ เนื่องจากคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบ่งบอกถึงโอกาสในการเข้าถึงแหล่งความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร โดยใช้อนเทอร์เน็ตเป็นสือ (Medium) ทีเ่ ป็นตัวกลางให้ขอมูล/สารสนเทศผ่านจากจุดส่งถึงผูรบในระบบเครือข่าย ิ ่ ้ ้ั คอมพิวเตอร์ หรือระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายหนึ่งไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง และในปัจจุบันเครื่อง คอมพิวเตอร์ มีราคาถูกลง และขนาดเล็กสามารถพกพาไปได้งาย และสะดวกมากยิงขึน รวมทังการรับและส่งข้อมูล ่ ่้ ้ ข่าวสารทางโทรศัพท์มอถือเป็นสิงทีได้รบความนิยมเป็นอย่างมาก ื ่่ ั จากการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (ครัวเรือน) พบว่า ในปี 2550 ่ ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ในเขตเทศบาลทั่วประเทศมีโทรศัพท์มือถือร้อยละ 61.1 และนอกเขตเทศบาล มีโทรศัพท์มือถือร้อยละ 41.0 เมื่อเปรียบเทียบการใช้คอมพิวเตอร์ และการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ประชากรที่อยู่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 36.9 และร้อยละ 24.8 ตามลำดับ ซึ่งมีสัดส่วนสูงกว่าประชากรที่อยู่นอกเขตเทศบาลที่มีสัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์ และ อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 22.2 และร้อยละ 11.4 ตามลำดับ และเมือพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า กรุงเทพฯ มีสดส่วนของ ่ ั ประชากรทีมโทรศัพท์มอถือ ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตสูงทีสด คือ ร้อยละ 68.4 ร้อยละ 40.2 และ ่ี ื ุ่ ร้อยละ 29.9 ตามลำดับ (แผนภูมิ 13-15)
  • 26. เมือพิจารณาการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตตามกลุมอายุ พบว่า กลุมอายุ 6-14 ปี ่ ่ ่ มีการใช้คอมพิวเตอร์สงทีสดคือร้อยละ 61.1 และกลุมอายุ 15 – 24 ปี มีการใช้อนเทอร์เน็ตสูงทีสด คือ ร้อยละ ู ุ่ ่ ิ ุ่ 39.7 ส่วนประชากรทีมอายุ 50 ปีขนไปมีการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตน้อยทีสด คือมีเพียงร้อยละ 4.4 ่ี ้ึ ุ่ และร้อยละ 2.9 ตามลำดับ (แผนภูมิ 16) แผนภูมิ 13 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีมโทรศัพท์มอถือ จำแนกตามภาค และ ้ึ ่ี ื เขตการปกครอง พ.ศ. 2550 รอยละ 80 68.4 61.9 61.1 55.7 55.1 60 52.0 51.7 40.6 40.6 41.0 35.2 40 20 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร เฉียงเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนภูมิ 14 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง ้ึ ่ พ.ศ. 2550 รอยละ 50 40.2 37.4 36.8 40 36.9 34.3 33.5 30 23.3 24.6 22.2 22.4 20.3 20 10 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร เฉียงเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 27. แผนภูมิ 15 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้อนเทอร์เน็ต จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง ้ึ ่ิ พ.ศ. 2550 รอยละ 40 29.9 30 25.5 24.8 23.0 20.5 21.0 20 13.3 13.2 11.4 10.1 9.9 10 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร เฉียงเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนภูมิ 16 สัดส่วนของประชากรอายุ 6 ปีขนไป ทีใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต จำแนกตามกลุมอายุ ้ึ ่ ่ พ.ศ. 2550 รอยละ 70 61.1 60 51.8 50 39.7 40 30 23.6 19.3 15.9 20 12.8 8.4 10 4.4 2.9 0 6 -14 ป 15 - 24 ป 25 - 34 ป 35 - 49 ป 50 ปขึ้นไป อายุ ใชคอมพิวเตอร ใชอินเทอรเน็ต ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 28. 2.1.2 ครัวเรือน ครัวเรือนเป็นสถานที่ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศฯได้สะดวกที่สุด โดยที่ผ่านมาครัวเรือนจะได้รับข้อมูลข่าวสารทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ จากโทรทัศน์ วิทยุ และหนังสือพิมพ์ เท่านัน แต่ในปัจบนการรับข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตเป็นสิงทีสะดวก และรวดเร็วมากยิงขึน ้ ุั ่่ ่้ เครืองโทรสารเป็นเครืองมืออีกชนิดหนึงในการรับส่งข้อมูล แต่สดส่วนของครัวเรือนทีมเี ครืองโทรสารยังมีไม่มากนัก ่ ่ ่ ั ่่ โดยสัดส่วนของครัวเรือนทัวประเทศมีเพียงร้อยละ 1.5 เท่านันทีมเี ครืองโทรสาร โดยครัวเรือนในเขตเทศบาล ่ ้่ ่ มีสดส่วนการมีเครืองโทรสารสูงกว่าครัวเรือนนอกเขตเทศบาลประมาณ 7 เท่าตัว (แผนภูมิ 17) ั ่ เมือพิจารณาสัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์และเชือมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่า ใน ่ ่ี ่ เขตเทศบาลทั่วประเทศ มีครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร์และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต สูงกว่านอกเขตเทศบาล โดยครัวเรือนในเขตเทศบาลมีคอมพิวเตอร์ร้อยละ 30.1 และครัวเรือนนอกเขตเทศบาลมีคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 11.6 (แผนภูมิ 18)ในขณะทีครัวเรือนในเขตเทศบาลทีมคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือมต่ออินเทอร์เน็ตร้อยละ 17.0 ่ ่ี ่ และครัวเรือนนอกเขตเทศบาลที่มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพียงร้อยละ 3.2 เท่านั้น (แผนภูมิ 19) และเป็นทีนาสังเกตว่า ในเขตเทศบาลของทุกภาคมีสดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์และมีคอมพิวเตอร์ ่่ ั ่ี ทีเ่ ชือมต่ออินเทอร์เน็ตมากกว่านอกเขตเทศบาล โดยเฉพาะกรุงเทพฯ มีสดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ ่ ั ่ี และเชือมต่ออินเทอร์เน็ตสูงทีสด คือ ร้อยละ 36.6 และร้อยละ 24.7 ตามลำดับ ่ ุ่ แผนภูมิ 17 สัดส่วนของครัวเรือนทีมเี ครืองโทรสาร จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง พ.ศ. 2550 ่่ รอยละ 8 6.1 6 3.7 4 2.7 2.6 2.5 2.0 2 1.2 0.6 0.5 0.3 0.1 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร เฉียงเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 29. แผนภูมิ 18 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง พ.ศ.2550 ่ี รอยละ 40 36.6 30.1 29.6 28.1 30 25.6 24.0 20 16.4 12.6 11.1 11.6 8.3 10 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร เฉียงเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนภูมิ 19 สัดส่วนของครัวเรือนทีมคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือมต่ออินเทอร์เน็ต จำแนกตามภาค ่ี ่ และเขตการปกครอง พ.ศ. 2550 รอยละ 30 24.7 20 17.0 14.4 13.5 12.9 11.6 10 5.6 3.2 3.7 3.1 1.5 0 ทั่วราช กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ภาค อาณาจักร เฉียงเหนือ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ที่มา : รายงานการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร