SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
เรื่อง กรดจากน้าผลไม้
จัดทาโดย
1. นางสาวเยาวรัตน์ ตอสูงเนิน เลขที่32
2. นางสาวสไบนาง สนิทภักดี เลขที่42
3. นางสาวสุมินตรา ขวัญถาวร เลขที่45
ครูที่ปรึกษาการจัดทาโครงงาน
คุณครูสราวุธ โครตมา
โรงเรียนภูเขียว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 2
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตรื เรื่อง กรกจากน้าผลไม้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทดลองหาระดับความเป็นกรด
ของน้าผลไม้แต่ละชนิดที่มาผสมกันและทดสอบความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกันแล้ว
นามาเติมเกลือละลายน้าว่ามีททิิใในการขจัดคราบสกปรกของเหรียหหรือไม่ โดยได้รับการสนับสนนนจาก
ท่านคนณครู สราวนิ โครตมา ครนประจาวิชาและได้รับการสนับสนนนจากผน้อานวยการโรงเรียนภูเขียวและ
ขอขอบพระคนณที่ได้ให้คาปรึกษาในการจัดทาโครงงานและได้รับความอนนเคราะห์จากพ่อแม่ผู้ปกครองที่ได้
ให้ข้อเสนอแนะ แนะนาเอกสารตาราต่างๆให้ศึกษาค้นคว้า
คณะผู้จัดทา ขอขอบพระคนณทนกท่านดังที่ได้กล่าวถึงมาข้างหน้าและที่ไม่ได้กล่าวถึงไว้ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง
คณะผู้จัดทา
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง กรดจากน้าผลไม้การทดลองนี้มีจนดมน่งหมายเพื่อ ทดสอบหาระดับความเป็นกรด
และความสามารถในการกัดกร่อน โดยแบ่งการทดลองออกเป็น2ตอนดังนี้ คือ ตอนที่ 1 ศึกษาหาระดับค่า
ความเป็นกรด โดยการนาน้ามะนาวผสมกับน้าสับปะรด น้ามะนาวผสมกับน้าส้ม และน้าสับปะรดผสมกับ
น้าส้ม เพื่อทดสอบหาระดับค่าความเป็นกรด ว่าน้าผลไม้ที่ผสมกันนั้น แบบใดมีค่าความเป็นกรดเรียงลาดับ
จากค่า และในตอนที่ 2 จะศึกษาเกี่ยวกับความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกันในตอนที่ 1
โดยการเติมเกลือละลายน้าลงไปในน้าผลไม้ที่ผสมกันไว้ทั้ง 3 แบบ แล้วหลังจากนั้นนาเหรียหที่มีคราบ
สกปรกมาใส่ในน้าผลไม้ทั้ง 3 แบบ และสังเกตผลการทดลอง
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ประชาชนส่วนใหห่นิยมดื่มน้าผลไม้เพื่อคลายร้อยและกระหาย บางครั้งก็นานาผลไม้มาแปรรูปซึ่งเป็นการ
ถนอมอาหารอีกรูปแบบหนึ่งหรือนามารับประทานแทนของว่างก็ได้กลน่มของดิฉันจึงได้นาข้อมนลเหล่านี้มา
คนยและปรึกษากันกับสมาชิกภายในกลน่มว่าเราสามารถนาผลไม้บางชนิดที่มีททิิใความเป็นกรดมาขจัดคราบ
สกปรกบนเหรียหได้หรือไม่และถ้าต้องจัดระดับค่าความเป็นกรดเมื่อนาน้าผลไม้มาผสมกับนั้นจะสามารถ
เรียงลาดับว่าอับว่าอันไหนมีค่าความเป็นกรดสูงสนดจากข้อสงสัยต่างๆเหล่านี้กลน่มของดิฉันจึงได้คิดค้นจัดทา
โครงงานนี้ขึ้นมา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาหาระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมื่อนามาผสมกัน
2. เพื่อศึกษาว่ากรดจากน้าผลไม้ที่ผสมแล้วเติมเกลือละลายน้าลงไปจะมีความสามรถใน ในการขจัดคราบ
สกปรกหรือไม่
3. เพื่อศึกษาหาความสามรในการกัดกร่อนของน้าผลไม้เมื่อนาเกลือละลายน้ามาผสม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ทราบถึงระดับกรดเมื่อทาการทดสอบจากน้าผลไม้เมื่อนามาผสมกับและ
เรียงลาดับค่าจากมากไปหาน้อย
2. ได้ทราบถึงความสามารถในการขจัดคราบสกปรกของน้าผลไม้ที่ผสมกันแล้วเติมเกลือละลายน้าลง
ไปว่าสามารถนามาใช้ประโยชน์ในการทาความสะอาดได้จริง
3. ได้ทราบถึงความสามรถในการการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกับแล้วนาเกลือละลายน้ามาผสมว่า มี
ททิิใกัดกร่อนจนสามารถขจัดสกปรกได้
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1. ศึกษาหาระดับค่าความเป็นกรด ของน้าผลไม้ที่นามาผสมกัน
2. ศึกษาหาความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกัน แล้วเติมเกลือ
ละลายน้าลงไปและความสามารถในการขจัดคราบสกปรกบนเหรียห
สมมุติฐานของการศึกษา
ตอนที่1 วัตถนดิบที่นามาทดลอง มื่อนามาผสมกันจะทาให้ระดับค่าความเป็นกรดเปลี่ยนไป
ตอนที่2 ระดับค่าความเป็นกรด เมื่อนาเกลือละลายน้ามาผสมลงไปจะทาให้ความสามารถในการกัดกร่อน
และขจัดคราบสกปรกได้ดียิ่งขึ้น
ตัวแปร
ตัวแปรต้น
ตอนที่1 น้ามะนาว น้าสับปะรด น้าส้ม
ตอนที่2 น้ามะนาว น้าสับปะรด น้าส้ม เกลือละลายน้า
ตัวแปรตาม
ระดับค่า ph ที่วัดได้จากการทดลอง
ตัวแปรควบคนม
ตอนที่1 ปริมาณน้ามะนาว ปริมาณน้าสับปะรด ปริมาณน้าส้ม
ตอนที่2 ปริมาณน้ามะนาว ปริมาณน้าสับปะรด ปริมาณน้าส้ม ปริมาณเกลือละลายน้า
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ส้ม
การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร Plantae
ส่วน Magnoliophyta
ชั้น Magnoliopsida
ชั้นย่อย Rosidae
อันดับ Sapindales
วงศ์ Rutaceae
สกนล Citrus
ส้ม เป็นไม้พน่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิดในสกนล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโต
กระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ามันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉนน หากนาใบขึ้นส่องกับ
แสงแดด จะเห็นจนดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจนดเหล่านั้นก็คือแหล่งน้ามันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้
ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม ไวตามินเอ และไวตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้
จาพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคา ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น มะนาว มะกรูด
มะนาว
การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร Plantae
ส่วน Magnoliophyta
ชั้น Magnoliopsida
อันดับ Sapindales
วงศ์ Rutaceae
สกนล Citrus
สปีชีส์ C. aurantifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia Swing.
มะนาว (อังกทษ: lime) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ยวจัด จัดอยู่ในสกนล ส้ม (Citrus) ผลสีเขียว เมื่อสนกจัด
จะเป็นสีเหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชน่มน้ามาก นับเป็นผลไม้ที่มีคนณค่า นิยมใช้เป็นเครื่องปรนง
รส นอกจากนี้ยังถือว่ามีคนณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ด้วย
สับปะรด
การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร Plantae
ส่วน พืชดอก Magnoliophyta
ส่วนไม่จัดอันดับ Angiosperms
ชั้นไม่จัดอันดับ Monocots
ชั้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยว Liliopsida
อันดับไม่จัดอันดับ Commelinids
อันดับ Poales
วงศ์ Bromeliaceae
วงศ์ย่อย Bromelioideae
สับปะรด (ชื่อทางวิทยาศาตร์: Ananas comosus) เป็นพืชล้มลนกชนิดหนึ่ง ลาต้นมีขนาดสูงประมาณ 80-100
เซนติเมตร การปลูกก็สามารถปลูกได้ง่ายโดยการใช้หน่อหรือที่เป็นส่วนยอดของผลที่เรียก ว่า จนก มาฝังกลบ
ดินไว้และออกเป็นผล เปลือกของผลสับปะรดภายนอกมีลักษณะคล้ายตาล้อมรอบผล
บทที่ 3
วิธีดาเนินการโครงงาน
อุปกรณ์และวีธีการทดลอง
1. วัสดน
1.1 น้ามะนาว
1.2 น้าสับปะรด
1.3 น้าส้ม
1.4 เกลือละลายน้า
1.5 เหรียหหนึ่งบาท 3 แหรียห
2. อุปกรณ์
2.1 มีด
2.2 แก้วขนาดกลาง 3 ใบ
2.3 ชามใบเล็ก 2 ใบ
2.4 ช้อน 2 คัน
2.5 เขียง
2.6 กระดาษลิตมัส
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน
1. ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ
1.1 นามะนาว สับปะรดและส้มมาคั้นให้ได้น้าและกรองเอาตะกอนทิ้ง
1.2 นาเกลือมาละลายน้าละอาดทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที
ขั้นตอนการทดลอง
ตอนที่ 1 ศึกษาระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมื่อนามาผสมและเรียงลาดับจากค่า
มากไปหาค่าน้อย
1.1 นามะนาว ส้ม สับปะรด มาคั้นให้ได้น้า
1.2 เมื่อได้น้าผลไม้ทั้ง 3 ชนิด แล้วให้นามาผสมกันตามสัดส่วนดังนี้
1.2.1 นาน้าสับปะรดไปผสมกับน้ามะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน
1.2.2 นาน้าส้มไปผสมกับน้ามะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน
1.2.3 นาน้าส้มไปผสมกับน้าสับปะรด ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน
1.3 เมื่อนาไปผสมตามสัดส่วนแล้ว คนให้เข้ากันแล้วทดสอบหาระดับค่าความเป็นกรดด้วยกระดาษลิตมัส
1.4 บันทึกผลการทดลองที่ได้โดยการเรียงลาดับระดับค่าความเป็นกรด จากค่ามากไปหาค่าน้อย
ตอนที่ 2 ศึกษาหาความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียห เมื่อนาเกลือละลายน้าผสม
ลงไป
2.1 ให้นาเกลือละลายน้าที่ได้ไปผสมกับน้าผลไม้ในตอนที่1 ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะ
2.2 คนให้เข้ากัน แล้วนาเหรียหที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปในน้าผลไม้ที่ผสมเกลือละลายน้าไว้
2.3 ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที แล้วสังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
2.4 นาเหรียหออกมาล้างน้าสะอาด เช็ดให้แห้งนามาเปรียบเทียบกัน แล้วบันทึกผลการ ทดลองที่เกิดขึ้น
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/ผลการจัดทาโครงงาน
ผลการทดลอง
ตอนที่ 1 ระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมือนามาผสมกันเรียงลาดับจากค่ามากไปหาค่าน้อยเป็นนดังนี้
น้าผลไม้ที่นามาผสมกัน ระดับค่า pH ที่ได้
1. น้ามะนาว + น้าสับปะรด
2. น้ามะนาว + น้าส้ม
3. น้าส้ม + น้าสับปะรด
3.0
4.0
4.5
ตอนที่ 2 ความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียหเมื่อนาน้าน้าเกลือละลายน้าผสมลง
ไป
แก้วที่ 1 น้าส้ม + น้ามะนาว
แก้วที่ 2 น้ามะนาว + น้าสับปะรด
แก้วที่ 3 น้าส้ม + น้าสับปะรด
เหรียหหนึ่งบาทที่สกปรกจานวน 3 เหรียห
เหรียหที่มีสกปรกใส่ในแก้วน้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า
เหรียหที่ผ่านการแช่น้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า 30 นาที
บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผลการดานินการจัดทาโครงงาน
จากผลการทดลองสรนปได้ดังนี้
1. เมื่อนาน้าส้มผสมกับน้ามะนาวจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.0
2. เมื่อนาน้ามะนาวผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 3.0
3. เมื่อนาน้าสมผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.5
แสดงว่ามื่อนาน้ามะนาวมาผสมกับน้าสับปะรดจะพบว่าค่าความเป็นกรดสูงกว่า น้ามะนาวผสมกับน้าส้ม
และน้าส้มผสมกับน้าสับปะรด นอกจากนี้เรายังพบว่าเมื่อนาน้าผลไม้ที่ได้จากการผสมกันดังกล่าวทั้ง 3 ชนิด
มาเติมเกลือละลายน้าลงไปแล้วนาเหรียหที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปตั้งเวลาไว้ประมาณ 30 นาที ภายหลัง 30
นาที นาเหรียหออกมาล้างน้าสะอาดพบว่าเหรียหที่อยู่ในน้าผสมไม้ที่มีค่า pH สูงที่สนดมี่ความสะอาดมาก
ที่สนด เพราะกรดที่เข้มข้นจะมีททิิใการกัดกร่อนมากที่สนดตามลาดับความเข้มข้นของกรด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทดลอง
1. สามารถนาน้าผลไม้มาทาความสะอาดเหรียหที่มีคราบสกปรกได้
2. สามารถทราบถึงททิิใของกรดที่กัดกร่อนคราบสกปรกบนเหรียหได้
3. สามารถทราบว่าน้าผลไม้ชนิดใดมีค่าความเป็นกรดมากและมีททิิใการกัดกร่อนไดดีที่สนด
ข้อเสนอแนะ
1. เราอาจนาน้าผลไม้ชนิดอื่นที่มีททิิใเป็นกรดที่หาได้ง่ายตามครัวเรือนของคนณ
2. เราอาจนาการทดลองนี้ไปทดลองกับสิ่งอื่นๆที่มีคราบสกปรกติดอยู่ เช่น สร้อยคอ แหวน พวงกนหแจ
บรรณานุกรม
_____ . หนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เล่ม 4 (เคมี ). กรนงเทพ: 2550
_____ . ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์จากโรงเรียนอรนโณทัย จังหวัดลาปาง
_____. นพ.ประวิตร พิศาลบนตร.นิตยสารเพื่อสนขภาพ หมอชาวบ้าน (กรดคือ ?) . ฉบับที่ 322 : กรนงเทพ:
สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน บจก. , 2550
_____. www.doctor.or.th
_____. www.google.com 

Más contenido relacionado

Más de peenullt

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
peenullt
 
คอมพิว
คอมพิวคอมพิว
คอมพิว
peenullt
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
peenullt
 
M6 06e-health+art+tech
M6 06e-health+art+techM6 06e-health+art+tech
M6 06e-health+art+tech
peenullt
 
O net ภาษาไทย
O net ภาษาไทยO net ภาษาไทย
O net ภาษาไทย
peenullt
 
O net อังกฤษ
O net อังกฤษO net อังกฤษ
O net อังกฤษ
peenullt
 
O net สังคม
O net สังคมO net สังคม
O net สังคม
peenullt
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา
ใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยาใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา
peenullt
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา สุวรรณ
ใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา  สุวรรณใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา  สุวรรณ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา สุวรรณ
peenullt
 

Más de peenullt (15)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิว
คอมพิวคอมพิว
คอมพิว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
M6 06e-health+art+tech
M6 06e-health+art+techM6 06e-health+art+tech
M6 06e-health+art+tech
 
O net ภาษาไทย
O net ภาษาไทยO net ภาษาไทย
O net ภาษาไทย
 
O net อังกฤษ
O net อังกฤษO net อังกฤษ
O net อังกฤษ
 
O net สังคม
O net สังคมO net สังคม
O net สังคม
 
Pat7.4
Pat7.4Pat7.4
Pat7.4
 
Gat1
Gat1Gat1
Gat1
 
Gat2
Gat2Gat2
Gat2
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา
ใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยาใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา สุวรรณ
ใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา  สุวรรณใบงาน  แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา  สุวรรณ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นางสาวณัฐชยา สุวรรณ
 

โครงงานเรื่อง กรดจากน้ำผลไม้

  • 1. เรื่อง กรดจากน้าผลไม้ จัดทาโดย 1. นางสาวเยาวรัตน์ ตอสูงเนิน เลขที่32 2. นางสาวสไบนาง สนิทภักดี เลขที่42 3. นางสาวสุมินตรา ขวัญถาวร เลขที่45 ครูที่ปรึกษาการจัดทาโครงงาน คุณครูสราวุธ โครตมา โรงเรียนภูเขียว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 2
  • 2. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตรื เรื่อง กรกจากน้าผลไม้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทดลองหาระดับความเป็นกรด ของน้าผลไม้แต่ละชนิดที่มาผสมกันและทดสอบความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกันแล้ว นามาเติมเกลือละลายน้าว่ามีททิิใในการขจัดคราบสกปรกของเหรียหหรือไม่ โดยได้รับการสนับสนนนจาก ท่านคนณครู สราวนิ โครตมา ครนประจาวิชาและได้รับการสนับสนนนจากผน้อานวยการโรงเรียนภูเขียวและ ขอขอบพระคนณที่ได้ให้คาปรึกษาในการจัดทาโครงงานและได้รับความอนนเคราะห์จากพ่อแม่ผู้ปกครองที่ได้ ให้ข้อเสนอแนะ แนะนาเอกสารตาราต่างๆให้ศึกษาค้นคว้า คณะผู้จัดทา ขอขอบพระคนณทนกท่านดังที่ได้กล่าวถึงมาข้างหน้าและที่ไม่ได้กล่าวถึงไว้ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง คณะผู้จัดทา บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง กรดจากน้าผลไม้การทดลองนี้มีจนดมน่งหมายเพื่อ ทดสอบหาระดับความเป็นกรด และความสามารถในการกัดกร่อน โดยแบ่งการทดลองออกเป็น2ตอนดังนี้ คือ ตอนที่ 1 ศึกษาหาระดับค่า ความเป็นกรด โดยการนาน้ามะนาวผสมกับน้าสับปะรด น้ามะนาวผสมกับน้าส้ม และน้าสับปะรดผสมกับ น้าส้ม เพื่อทดสอบหาระดับค่าความเป็นกรด ว่าน้าผลไม้ที่ผสมกันนั้น แบบใดมีค่าความเป็นกรดเรียงลาดับ จากค่า และในตอนที่ 2 จะศึกษาเกี่ยวกับความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกันในตอนที่ 1 โดยการเติมเกลือละลายน้าลงไปในน้าผลไม้ที่ผสมกันไว้ทั้ง 3 แบบ แล้วหลังจากนั้นนาเหรียหที่มีคราบ สกปรกมาใส่ในน้าผลไม้ทั้ง 3 แบบ และสังเกตผลการทดลอง
  • 3. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ประชาชนส่วนใหห่นิยมดื่มน้าผลไม้เพื่อคลายร้อยและกระหาย บางครั้งก็นานาผลไม้มาแปรรูปซึ่งเป็นการ ถนอมอาหารอีกรูปแบบหนึ่งหรือนามารับประทานแทนของว่างก็ได้กลน่มของดิฉันจึงได้นาข้อมนลเหล่านี้มา คนยและปรึกษากันกับสมาชิกภายในกลน่มว่าเราสามารถนาผลไม้บางชนิดที่มีททิิใความเป็นกรดมาขจัดคราบ สกปรกบนเหรียหได้หรือไม่และถ้าต้องจัดระดับค่าความเป็นกรดเมื่อนาน้าผลไม้มาผสมกับนั้นจะสามารถ เรียงลาดับว่าอับว่าอันไหนมีค่าความเป็นกรดสูงสนดจากข้อสงสัยต่างๆเหล่านี้กลน่มของดิฉันจึงได้คิดค้นจัดทา โครงงานนี้ขึ้นมา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาหาระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมื่อนามาผสมกัน 2. เพื่อศึกษาว่ากรดจากน้าผลไม้ที่ผสมแล้วเติมเกลือละลายน้าลงไปจะมีความสามรถใน ในการขจัดคราบ สกปรกหรือไม่ 3. เพื่อศึกษาหาความสามรในการกัดกร่อนของน้าผลไม้เมื่อนาเกลือละลายน้ามาผสม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงระดับกรดเมื่อทาการทดสอบจากน้าผลไม้เมื่อนามาผสมกับและ เรียงลาดับค่าจากมากไปหาน้อย 2. ได้ทราบถึงความสามารถในการขจัดคราบสกปรกของน้าผลไม้ที่ผสมกันแล้วเติมเกลือละลายน้าลง ไปว่าสามารถนามาใช้ประโยชน์ในการทาความสะอาดได้จริง 3. ได้ทราบถึงความสามรถในการการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกับแล้วนาเกลือละลายน้ามาผสมว่า มี ททิิใกัดกร่อนจนสามารถขจัดสกปรกได้
  • 4. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. ศึกษาหาระดับค่าความเป็นกรด ของน้าผลไม้ที่นามาผสมกัน 2. ศึกษาหาความสามารถในการกัดกร่อนของน้าผลไม้ที่ผสมกัน แล้วเติมเกลือ ละลายน้าลงไปและความสามารถในการขจัดคราบสกปรกบนเหรียห สมมุติฐานของการศึกษา ตอนที่1 วัตถนดิบที่นามาทดลอง มื่อนามาผสมกันจะทาให้ระดับค่าความเป็นกรดเปลี่ยนไป ตอนที่2 ระดับค่าความเป็นกรด เมื่อนาเกลือละลายน้ามาผสมลงไปจะทาให้ความสามารถในการกัดกร่อน และขจัดคราบสกปรกได้ดียิ่งขึ้น ตัวแปร ตัวแปรต้น ตอนที่1 น้ามะนาว น้าสับปะรด น้าส้ม ตอนที่2 น้ามะนาว น้าสับปะรด น้าส้ม เกลือละลายน้า ตัวแปรตาม ระดับค่า ph ที่วัดได้จากการทดลอง ตัวแปรควบคนม ตอนที่1 ปริมาณน้ามะนาว ปริมาณน้าสับปะรด ปริมาณน้าส้ม ตอนที่2 ปริมาณน้ามะนาว ปริมาณน้าสับปะรด ปริมาณน้าส้ม ปริมาณเกลือละลายน้า
  • 5. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ส้ม การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร Plantae ส่วน Magnoliophyta ชั้น Magnoliopsida ชั้นย่อย Rosidae อันดับ Sapindales วงศ์ Rutaceae สกนล Citrus ส้ม เป็นไม้พน่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิดในสกนล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโต กระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ามันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉนน หากนาใบขึ้นส่องกับ แสงแดด จะเห็นจนดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจนดเหล่านั้นก็คือแหล่งน้ามันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม ไวตามินเอ และไวตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้ จาพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคา ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น มะนาว มะกรูด
  • 6. มะนาว การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร Plantae ส่วน Magnoliophyta ชั้น Magnoliopsida อันดับ Sapindales วงศ์ Rutaceae สกนล Citrus สปีชีส์ C. aurantifolia ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia Swing. มะนาว (อังกทษ: lime) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ยวจัด จัดอยู่ในสกนล ส้ม (Citrus) ผลสีเขียว เมื่อสนกจัด จะเป็นสีเหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชน่มน้ามาก นับเป็นผลไม้ที่มีคนณค่า นิยมใช้เป็นเครื่องปรนง รส นอกจากนี้ยังถือว่ามีคนณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ด้วย
  • 7. สับปะรด การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร Plantae ส่วน พืชดอก Magnoliophyta ส่วนไม่จัดอันดับ Angiosperms ชั้นไม่จัดอันดับ Monocots ชั้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยว Liliopsida อันดับไม่จัดอันดับ Commelinids อันดับ Poales วงศ์ Bromeliaceae วงศ์ย่อย Bromelioideae สับปะรด (ชื่อทางวิทยาศาตร์: Ananas comosus) เป็นพืชล้มลนกชนิดหนึ่ง ลาต้นมีขนาดสูงประมาณ 80-100 เซนติเมตร การปลูกก็สามารถปลูกได้ง่ายโดยการใช้หน่อหรือที่เป็นส่วนยอดของผลที่เรียก ว่า จนก มาฝังกลบ ดินไว้และออกเป็นผล เปลือกของผลสับปะรดภายนอกมีลักษณะคล้ายตาล้อมรอบผล
  • 8. บทที่ 3 วิธีดาเนินการโครงงาน อุปกรณ์และวีธีการทดลอง 1. วัสดน 1.1 น้ามะนาว 1.2 น้าสับปะรด 1.3 น้าส้ม 1.4 เกลือละลายน้า 1.5 เหรียหหนึ่งบาท 3 แหรียห 2. อุปกรณ์ 2.1 มีด 2.2 แก้วขนาดกลาง 3 ใบ 2.3 ชามใบเล็ก 2 ใบ 2.4 ช้อน 2 คัน 2.5 เขียง 2.6 กระดาษลิตมัส ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน 1. ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ 1.1 นามะนาว สับปะรดและส้มมาคั้นให้ได้น้าและกรองเอาตะกอนทิ้ง
  • 9. 1.2 นาเกลือมาละลายน้าละอาดทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที ขั้นตอนการทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษาระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมื่อนามาผสมและเรียงลาดับจากค่า มากไปหาค่าน้อย 1.1 นามะนาว ส้ม สับปะรด มาคั้นให้ได้น้า 1.2 เมื่อได้น้าผลไม้ทั้ง 3 ชนิด แล้วให้นามาผสมกันตามสัดส่วนดังนี้ 1.2.1 นาน้าสับปะรดไปผสมกับน้ามะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน 1.2.2 นาน้าส้มไปผสมกับน้ามะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน 1.2.3 นาน้าส้มไปผสมกับน้าสับปะรด ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน 1.3 เมื่อนาไปผสมตามสัดส่วนแล้ว คนให้เข้ากันแล้วทดสอบหาระดับค่าความเป็นกรดด้วยกระดาษลิตมัส 1.4 บันทึกผลการทดลองที่ได้โดยการเรียงลาดับระดับค่าความเป็นกรด จากค่ามากไปหาค่าน้อย ตอนที่ 2 ศึกษาหาความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียห เมื่อนาเกลือละลายน้าผสม ลงไป 2.1 ให้นาเกลือละลายน้าที่ได้ไปผสมกับน้าผลไม้ในตอนที่1 ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะ 2.2 คนให้เข้ากัน แล้วนาเหรียหที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปในน้าผลไม้ที่ผสมเกลือละลายน้าไว้ 2.3 ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที แล้วสังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 2.4 นาเหรียหออกมาล้างน้าสะอาด เช็ดให้แห้งนามาเปรียบเทียบกัน แล้วบันทึกผลการ ทดลองที่เกิดขึ้น
  • 10. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/ผลการจัดทาโครงงาน ผลการทดลอง ตอนที่ 1 ระดับค่าความเป็นกรดของน้าผลไม้เมือนามาผสมกันเรียงลาดับจากค่ามากไปหาค่าน้อยเป็นนดังนี้ น้าผลไม้ที่นามาผสมกัน ระดับค่า pH ที่ได้ 1. น้ามะนาว + น้าสับปะรด 2. น้ามะนาว + น้าส้ม 3. น้าส้ม + น้าสับปะรด 3.0 4.0 4.5
  • 11. ตอนที่ 2 ความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียหเมื่อนาน้าน้าเกลือละลายน้าผสมลง ไป แก้วที่ 1 น้าส้ม + น้ามะนาว แก้วที่ 2 น้ามะนาว + น้าสับปะรด แก้วที่ 3 น้าส้ม + น้าสับปะรด เหรียหหนึ่งบาทที่สกปรกจานวน 3 เหรียห เหรียหที่มีสกปรกใส่ในแก้วน้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า เหรียหที่ผ่านการแช่น้าผลไม้ผสมเกลือละลายน้า 30 นาที
  • 12. บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดานินการจัดทาโครงงาน จากผลการทดลองสรนปได้ดังนี้ 1. เมื่อนาน้าส้มผสมกับน้ามะนาวจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.0 2. เมื่อนาน้ามะนาวผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 3.0 3. เมื่อนาน้าสมผสมกับน้าสับปะรดจะได้ค่า pH เท่ากับ 4.5 แสดงว่ามื่อนาน้ามะนาวมาผสมกับน้าสับปะรดจะพบว่าค่าความเป็นกรดสูงกว่า น้ามะนาวผสมกับน้าส้ม และน้าส้มผสมกับน้าสับปะรด นอกจากนี้เรายังพบว่าเมื่อนาน้าผลไม้ที่ได้จากการผสมกันดังกล่าวทั้ง 3 ชนิด มาเติมเกลือละลายน้าลงไปแล้วนาเหรียหที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปตั้งเวลาไว้ประมาณ 30 นาที ภายหลัง 30 นาที นาเหรียหออกมาล้างน้าสะอาดพบว่าเหรียหที่อยู่ในน้าผสมไม้ที่มีค่า pH สูงที่สนดมี่ความสะอาดมาก ที่สนด เพราะกรดที่เข้มข้นจะมีททิิใการกัดกร่อนมากที่สนดตามลาดับความเข้มข้นของกรด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทดลอง 1. สามารถนาน้าผลไม้มาทาความสะอาดเหรียหที่มีคราบสกปรกได้ 2. สามารถทราบถึงททิิใของกรดที่กัดกร่อนคราบสกปรกบนเหรียหได้ 3. สามารถทราบว่าน้าผลไม้ชนิดใดมีค่าความเป็นกรดมากและมีททิิใการกัดกร่อนไดดีที่สนด ข้อเสนอแนะ 1. เราอาจนาน้าผลไม้ชนิดอื่นที่มีททิิใเป็นกรดที่หาได้ง่ายตามครัวเรือนของคนณ 2. เราอาจนาการทดลองนี้ไปทดลองกับสิ่งอื่นๆที่มีคราบสกปรกติดอยู่ เช่น สร้อยคอ แหวน พวงกนหแจ
  • 13. บรรณานุกรม _____ . หนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เล่ม 4 (เคมี ). กรนงเทพ: 2550 _____ . ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์จากโรงเรียนอรนโณทัย จังหวัดลาปาง _____. นพ.ประวิตร พิศาลบนตร.นิตยสารเพื่อสนขภาพ หมอชาวบ้าน (กรดคือ ?) . ฉบับที่ 322 : กรนงเทพ: สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน บจก. , 2550 _____. www.doctor.or.th _____. www.google.com