SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
นาฏศิลป
ขอบข่ายเนื้อหา
*นาฏยนิยาม
*สุนทรียะทางนาฏศิลป
*นาฏศิลปสากลเพื่อนบานของไทย
*ละครทีไดรับอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตก
่
*ประเภทของละคร
*ละครกับภูมิปญญาสากล
นาฏยนิยาม คืออะไร
นาฏยนิยาม หมายถึง คาอธิบาย คาจากัดความ ขอบเขต
บทบาท และรู ปลักษณ์ ของนาฏศิลป์ ซึ่งล้ วน
แสดงความหมายของนาฏยศิลป์ ทีหลากหลาย อันเป็ น
่
เครื่องบ่ งชี้ว่านาฏยศิลป์ มีความสาคัญ เกียวข้ องกับชีวต
่
ิ
และสั งคมมาตั้งแต่ อดีตกาล
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ
ทรงอธิบาย..........
“การฟอนราเป็ นประเพณีของมนุษย์ ทุกชาติทุกภาษา ไม่ เลือกว่าจะอยู่ ณ ประเทศถินสถานที่ใดในพิภพ
้
่
นี้ อย่ าว่าแต่ มนุษย์ เลย ถึงแม้ สัตว์เดรัจฉานก็มีวธีฟอน เช่ น สุ นัขไก่กา เวลาใดสบอารมณ์ มันก็จะเต้ นโลดกรีด
ิ ้
กรายทากิริยาท่ าทางได้ต่าง ๆ ก็คอการฟอนราตามวิสัยสัตว์น้ ันเอง ปราชญ์ แห่ งการฟอนราจึงเล็งเห็น การฟอนรา
ื
้
้
้
นีมูลรากเกิดแต่ วสัยสัตว์เมื่อเวทนาเสวยอารมณ์ จะเป็ นสุ ขเวทนาก็ตามหรือทุกขเวทนาก็ตาม ถ้ าเสวยอารมณ์
้
ิ
แรงกล้าไม่ กลั้นไว้ได้ ก็แล่นออกมาเป็ นกิริยาให้ เห็นปรากฏยกเป็ นนิทัศนอุทาหรณ์ ดงเช่ นธรรมดาทารก เวลา
ั
อารมณ์ เสวยสุ ขเวทนาก็เต้ นแร้ งเต้ นแฉ่ งสนุกสนาน
ถ้ าอารมณ์เสวยทุกขเวทนาก็ดนโดยให้ แสดงกิริยาปรากฏ
ิ้
ออกให้ รู้ว่าอารมณ์ เป็ นอย่ างไร ยิงเติบโตรู้เดียงสาขึนเพียงไร กิริยาที่อารมณ์ เล่นออกมาก็ยงมากมายหลายอย่ าง
่
้
ิ่
ออกไป จนถึงกิริยาที่แสดงความกาหนัดยินดีในอารมณ์ และกิริยาซึ่งแสดงความอาฆาตโกรธแค้น เป็ นต้ น กิริยา
อันเกิดแต่ เวทนาเสวยอารมณ์ นีนับเป็ นขั้นต้ นของการฟอนรา
้
้
ประวัติประเพณีการฟ้ อนรา
• โขนละครเท่ านันหามิได้ แต่ เดิมมาย่ อมเป็ นประเพณีสาหรั บบุคคล
้
ทุกชันบรรดาศักดิ์และมีท่ ใช้ ไปจนถึงการยุทธ์ และการพิธีต่าง ๆ
้
ี
หลายอย่ าง จะยกตัวอย่ างแต่ ประเพณีการฟอนราที่มีมาในสยาม
้
ประเทศของเรานี ้ ดังเช่ นในตาราคชศาสตร์ ซึ่งนับถือว่ าเป็ นวิชาชันสูง
้
สาหรั บการรณรงค์ สงครามแต่ โบราณ ใครหัดขี่ช้างชนก็ต้องหัดฟอน
้
ราให้ เป็ นสง่ าราศีด้วยแม้ พระเจ้ าแผ่ นดินก็ต้องฝึ กหัด มีตัวอย่ างมา
จนถึงรั ชกาลที่ 5 เมื่อพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หว
ั
ทรงศึกษาวิชาคชศาสตร์ ต่อสมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ เจ้ าฟากรม
้
พระยาบาราบปรปั กษ์ ก็ได้ ทรงหัดฟอนรา ได้ ยินเคยทรงราพระแสง
้
ขอบนคอช้ างพระที่น่ ังเป็ นพุทธบูชาเมื่อครั งเสด็จพระพุทธบาท
้
ธนิต อยู่โพธิ์
ได้อธิบายความหมายของนาฏยศิลป์ ดังที่ปรากฏใน
คุมภีร์อินเดีย
“คาว่ า “นาฏย” ตามคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาและสูจิ ท่ านให้ วเคราะห์
ิ
ศัพท์ ว่า “นฏสเสตนตินาฏย” ความว่ า ศิลปะของผู้ฟอนผู้รา เรี ยกว่ า
้
นาฏย และให้ อรรถาธิบายว่ า “นจจ วาทิต คีต อิท ตุริยติก นาฏยนาเม
นุจจเต” แปลว่ า การฟอนรา การบรรเลง (ดนตรี ) การขับร้ อง หมาวด 3
้
แห่ งตุริยะนี ้ ท่ าน (รวม) เรี ยกโดยชื่อว่ า นาฏย ซึ่งตามนีท่านจะเห็นได้ ว่า
้
คาว่ า นาฏะ หรื อนาฏยะ นัน การขับร้ อง 1 หรื อพูดอย่ างง่ าย ๆ ก็ว่าคา
้
“นาฏย” นันมี ความหมายรวมทังฟอนราขับร้ องและประโคมดนตรี ด้วย
้
้ ้
ไม่ ใช่ มีความหมายแต่ เฉพาะศิลปฟอนราอย่ างเดียว
้
ดังที่บางท่ านเข้ าใจกัน แม้ จะใช้ คาว่ าหมวด 3 แห่ งตุริยะหรือตุริยะ 3
อย่ าง แสดงให้ เห็นว่ าใช้ คา “ตุริยะ” หมายถึง เครื่ องตีเครื่ องเป่ า แต่
แปลงกันว่ า “ดนตรี
“นาฏศิลป” หมายถึง ศิลปะแหงการละคร
หรือการฟอนรา
อารี สุทธิพนธุให้ ความหมายสุนทรียะ” หมายถึง
ั
ความรู้สกของบุคคลทีมีความซาบซึง้ และเห็นคุณค่าใน
ึ
สิง ดีงาม และไพเราะจากสิง ทีเกิดขึ ้น ตามธรรมชาติ หรื อ
่
่
อาจเป็ นสิงที่มนุษย์ประดิษฐ์ ขึ ้น ด้ วยความประณีต
่
คาถามท้ายบทวิชานาฏศิลป์
1. นาฏยนิยม หมายถึง
2. นาฎศิลปแสดงในรูปแบบของการฟอนราเกิดจากอะไร
์
้
3. ประวัตประเพณีการฟอนรา
ิ
้
4. สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพอธิบาย
นาฎศิลปว่ า....
์
นาฏศิลป์ สากลเพือนบ้ านของไทย
่
1. นาฏศิลปประเทศพม่า
์
2. นาฏศิลปประเทศลาว
์
3. นาฏศิลปประเทศกัมพูชา (เขมร)
์
4. นาฏศิลปประเทศมาเลเชีย
์
5. นาฏศิลปประเทศอินโดนีเซีย
์
6. นาฏศิลปประเทศอินเดีย
์
7. นาฏศิลปประเทศจีน
์
8. นาฏศิลปประเทศทิเบต
์
9. นาฏศิลปประเทศเกาหลี
์
10. นาฏศิลปประเทศญี่ปน
์
ุ่
นาฏศิลป์ประเทศพม่ า
กรุงศรี อยุธยาแตกครังที่ 2 พม่าได้ รับอิทธิพลนาฏศิลปไปจากไทยเดิมพม่ามี
้
์
เรื่ องรามยะณะหรื อมหาภารตะ มี 3 ยุค
1. ยุคก่ อนนับถือพระพุทธศาสนา เป็ นยุคของการนับถือผี
2. ยุคนับถือพระพุทธศาสนา พม่านับถือพระพุทธศาสนาการละครแบบ
หนึง เรี ยกว่า “นิพทขิ่น ” เป็ นละครเร่
่
ั
3. ยุคอิทธิพลละครไทย หลังเสียกรุงศรี อยุธยาแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310
การแสดงอยู่ 2 เรื่ อง คือ รามเกียรติ์ เล่นแบบโขน และอิเหนา เล่นแบบละคร
ใน
นาฏศิลป์ประเทศลาว
ศิลปะดนตรี แห่งชาติ ก่อกําเนิดมาตังแต่ปี พ.ศ. 2501 โดย Blanchat
dela Broche และเจ้ าเสถียนนะ จําปาสัก “โรงเรียนศิลปะดนตรี
แห่งชาติ” เดิมชื่อเท้ าประเสิด สีสานน
นาฏศิลป์ ประเทศกัมพูชา (เขมร)
นาฏศิลปชันสูง (Classical Dance) รํ าร่ายถวายเทพเจ้ าเมืองแมน
์ ้
เมื่อศตวรรษที่ 7 จากศิลาจารึกในพระตะบอง
เมื่อศตวรรษที่ 10 จากศิลาจารึกในลพบุรี
เมื่อศตวรรษที่ 11 จากศิลาจารึกในสะด่อกก๊ อกธม
เมื่อศตวรรษที่ 12 จากศิลาจารึกในปราสาทตาพรหม
“ละครใน”มหาราชวัง เปลี่ยนชื่อ มาเป็ นกรมศิลปากร
แบบทดสอบหลังเรี ยน
1.จงอธิบายนาฏศิลปพม่ามาเข้ าใจ
์
2.บอกประวัติความเป็ นมานาฏศิลปลาว
์
3.จงอธิบายนาฏศิลปเขมรมีอะไรบ้ าง
์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002Thidarat Termphon
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxPamPSeehatip1
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆleemeanshun minzstar
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002Thidarat Termphon
 
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)อิ๋ว ติวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 

La actualidad más candente (20)

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
 
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 

Similar a นาฏศิลป

งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์bambookruble
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมAttaporn Saranoppakun
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 

Similar a นาฏศิลป (20)

งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 

Más de peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

Más de peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

นาฏศิลป

  • 3. นาฏยนิยาม คืออะไร นาฏยนิยาม หมายถึง คาอธิบาย คาจากัดความ ขอบเขต บทบาท และรู ปลักษณ์ ของนาฏศิลป์ ซึ่งล้ วน แสดงความหมายของนาฏยศิลป์ ทีหลากหลาย อันเป็ น ่ เครื่องบ่ งชี้ว่านาฏยศิลป์ มีความสาคัญ เกียวข้ องกับชีวต ่ ิ และสั งคมมาตั้งแต่ อดีตกาล
  • 4. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงอธิบาย.......... “การฟอนราเป็ นประเพณีของมนุษย์ ทุกชาติทุกภาษา ไม่ เลือกว่าจะอยู่ ณ ประเทศถินสถานที่ใดในพิภพ ้ ่ นี้ อย่ าว่าแต่ มนุษย์ เลย ถึงแม้ สัตว์เดรัจฉานก็มีวธีฟอน เช่ น สุ นัขไก่กา เวลาใดสบอารมณ์ มันก็จะเต้ นโลดกรีด ิ ้ กรายทากิริยาท่ าทางได้ต่าง ๆ ก็คอการฟอนราตามวิสัยสัตว์น้ ันเอง ปราชญ์ แห่ งการฟอนราจึงเล็งเห็น การฟอนรา ื ้ ้ ้ นีมูลรากเกิดแต่ วสัยสัตว์เมื่อเวทนาเสวยอารมณ์ จะเป็ นสุ ขเวทนาก็ตามหรือทุกขเวทนาก็ตาม ถ้ าเสวยอารมณ์ ้ ิ แรงกล้าไม่ กลั้นไว้ได้ ก็แล่นออกมาเป็ นกิริยาให้ เห็นปรากฏยกเป็ นนิทัศนอุทาหรณ์ ดงเช่ นธรรมดาทารก เวลา ั อารมณ์ เสวยสุ ขเวทนาก็เต้ นแร้ งเต้ นแฉ่ งสนุกสนาน ถ้ าอารมณ์เสวยทุกขเวทนาก็ดนโดยให้ แสดงกิริยาปรากฏ ิ้ ออกให้ รู้ว่าอารมณ์ เป็ นอย่ างไร ยิงเติบโตรู้เดียงสาขึนเพียงไร กิริยาที่อารมณ์ เล่นออกมาก็ยงมากมายหลายอย่ าง ่ ้ ิ่ ออกไป จนถึงกิริยาที่แสดงความกาหนัดยินดีในอารมณ์ และกิริยาซึ่งแสดงความอาฆาตโกรธแค้น เป็ นต้ น กิริยา อันเกิดแต่ เวทนาเสวยอารมณ์ นีนับเป็ นขั้นต้ นของการฟอนรา ้ ้
  • 5. ประวัติประเพณีการฟ้ อนรา • โขนละครเท่ านันหามิได้ แต่ เดิมมาย่ อมเป็ นประเพณีสาหรั บบุคคล ้ ทุกชันบรรดาศักดิ์และมีท่ ใช้ ไปจนถึงการยุทธ์ และการพิธีต่าง ๆ ้ ี หลายอย่ าง จะยกตัวอย่ างแต่ ประเพณีการฟอนราที่มีมาในสยาม ้ ประเทศของเรานี ้ ดังเช่ นในตาราคชศาสตร์ ซึ่งนับถือว่ าเป็ นวิชาชันสูง ้ สาหรั บการรณรงค์ สงครามแต่ โบราณ ใครหัดขี่ช้างชนก็ต้องหัดฟอน ้ ราให้ เป็ นสง่ าราศีด้วยแม้ พระเจ้ าแผ่ นดินก็ต้องฝึ กหัด มีตัวอย่ างมา จนถึงรั ชกาลที่ 5 เมื่อพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หว ั ทรงศึกษาวิชาคชศาสตร์ ต่อสมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ เจ้ าฟากรม ้ พระยาบาราบปรปั กษ์ ก็ได้ ทรงหัดฟอนรา ได้ ยินเคยทรงราพระแสง ้ ขอบนคอช้ างพระที่น่ ังเป็ นพุทธบูชาเมื่อครั งเสด็จพระพุทธบาท ้
  • 6. ธนิต อยู่โพธิ์ ได้อธิบายความหมายของนาฏยศิลป์ ดังที่ปรากฏใน คุมภีร์อินเดีย “คาว่ า “นาฏย” ตามคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาและสูจิ ท่ านให้ วเคราะห์ ิ ศัพท์ ว่า “นฏสเสตนตินาฏย” ความว่ า ศิลปะของผู้ฟอนผู้รา เรี ยกว่ า ้ นาฏย และให้ อรรถาธิบายว่ า “นจจ วาทิต คีต อิท ตุริยติก นาฏยนาเม นุจจเต” แปลว่ า การฟอนรา การบรรเลง (ดนตรี ) การขับร้ อง หมาวด 3 ้ แห่ งตุริยะนี ้ ท่ าน (รวม) เรี ยกโดยชื่อว่ า นาฏย ซึ่งตามนีท่านจะเห็นได้ ว่า ้ คาว่ า นาฏะ หรื อนาฏยะ นัน การขับร้ อง 1 หรื อพูดอย่ างง่ าย ๆ ก็ว่าคา ้ “นาฏย” นันมี ความหมายรวมทังฟอนราขับร้ องและประโคมดนตรี ด้วย ้ ้ ้ ไม่ ใช่ มีความหมายแต่ เฉพาะศิลปฟอนราอย่ างเดียว ้ ดังที่บางท่ านเข้ าใจกัน แม้ จะใช้ คาว่ าหมวด 3 แห่ งตุริยะหรือตุริยะ 3 อย่ าง แสดงให้ เห็นว่ าใช้ คา “ตุริยะ” หมายถึง เครื่ องตีเครื่ องเป่ า แต่ แปลงกันว่ า “ดนตรี
  • 7. “นาฏศิลป” หมายถึง ศิลปะแหงการละคร หรือการฟอนรา อารี สุทธิพนธุให้ ความหมายสุนทรียะ” หมายถึง ั ความรู้สกของบุคคลทีมีความซาบซึง้ และเห็นคุณค่าใน ึ สิง ดีงาม และไพเราะจากสิง ทีเกิดขึ ้น ตามธรรมชาติ หรื อ ่ ่ อาจเป็ นสิงที่มนุษย์ประดิษฐ์ ขึ ้น ด้ วยความประณีต ่
  • 8. คาถามท้ายบทวิชานาฏศิลป์ 1. นาฏยนิยม หมายถึง 2. นาฎศิลปแสดงในรูปแบบของการฟอนราเกิดจากอะไร ์ ้ 3. ประวัตประเพณีการฟอนรา ิ ้ 4. สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพอธิบาย นาฎศิลปว่ า.... ์
  • 9. นาฏศิลป์ สากลเพือนบ้ านของไทย ่ 1. นาฏศิลปประเทศพม่า ์ 2. นาฏศิลปประเทศลาว ์ 3. นาฏศิลปประเทศกัมพูชา (เขมร) ์ 4. นาฏศิลปประเทศมาเลเชีย ์ 5. นาฏศิลปประเทศอินโดนีเซีย ์ 6. นาฏศิลปประเทศอินเดีย ์ 7. นาฏศิลปประเทศจีน ์ 8. นาฏศิลปประเทศทิเบต ์ 9. นาฏศิลปประเทศเกาหลี ์ 10. นาฏศิลปประเทศญี่ปน ์ ุ่
  • 10. นาฏศิลป์ประเทศพม่ า กรุงศรี อยุธยาแตกครังที่ 2 พม่าได้ รับอิทธิพลนาฏศิลปไปจากไทยเดิมพม่ามี ้ ์ เรื่ องรามยะณะหรื อมหาภารตะ มี 3 ยุค 1. ยุคก่ อนนับถือพระพุทธศาสนา เป็ นยุคของการนับถือผี 2. ยุคนับถือพระพุทธศาสนา พม่านับถือพระพุทธศาสนาการละครแบบ หนึง เรี ยกว่า “นิพทขิ่น ” เป็ นละครเร่ ่ ั 3. ยุคอิทธิพลละครไทย หลังเสียกรุงศรี อยุธยาแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 การแสดงอยู่ 2 เรื่ อง คือ รามเกียรติ์ เล่นแบบโขน และอิเหนา เล่นแบบละคร ใน
  • 11. นาฏศิลป์ประเทศลาว ศิลปะดนตรี แห่งชาติ ก่อกําเนิดมาตังแต่ปี พ.ศ. 2501 โดย Blanchat dela Broche และเจ้ าเสถียนนะ จําปาสัก “โรงเรียนศิลปะดนตรี แห่งชาติ” เดิมชื่อเท้ าประเสิด สีสานน
  • 12. นาฏศิลป์ ประเทศกัมพูชา (เขมร) นาฏศิลปชันสูง (Classical Dance) รํ าร่ายถวายเทพเจ้ าเมืองแมน ์ ้ เมื่อศตวรรษที่ 7 จากศิลาจารึกในพระตะบอง เมื่อศตวรรษที่ 10 จากศิลาจารึกในลพบุรี เมื่อศตวรรษที่ 11 จากศิลาจารึกในสะด่อกก๊ อกธม เมื่อศตวรรษที่ 12 จากศิลาจารึกในปราสาทตาพรหม “ละครใน”มหาราชวัง เปลี่ยนชื่อ มาเป็ นกรมศิลปากร
  • 13. แบบทดสอบหลังเรี ยน 1.จงอธิบายนาฏศิลปพม่ามาเข้ าใจ ์ 2.บอกประวัติความเป็ นมานาฏศิลปลาว ์ 3.จงอธิบายนาฏศิลปเขมรมีอะไรบ้ าง ์