SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
ราง
                                            กฎกระทรวง
                               ใหใชบังคับผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง
                                              พ.ศ. ....

     อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ และมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง
แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.
๒๕๓๕อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙
ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
ไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฏหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยออก
กฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้

     ขอ ๑ กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับไดมีกําหนดหาป
     ขอ ๒ ใหใชบังคับผังเมืองรวมในทองที่จังหวัดพัทลุง ภายในแนวเขตตามแผนที่ทายกฎกระทรวงนี้
     ขอ ๓ การวางและจัดทําผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีววัตถุประสงค ดังตอไปนี้

       (๑) เพื่อใหประชาชนดํารงชีพดวยความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
       (๒) เพื่อสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจตามศักยภาพของพื้นที่และยกระดับโครงสรางเศรษฐกิจของจังหวัด
ใหมั่นคงและยั่งยืน
       (๓) เพื่อสงเสริมและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนวัฒนธรรมทองถิ่นที่ดีงาม
       (๔) เพื่อเปนเครื่องมือในการสงเสริมการบริหารราชการภาครัฐ
       (๕) เพื่อเปนกรอบสําหรับภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาพื้นที่ทุกระดับ

        ในบริเวณแนวเขตตามขอ ๒ ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรของจังหวัดพัทลุง และยุทธศาสตรกลุม
จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง และสอดคลองกับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

       ขอ๔ ผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีนโยบายในการจัดระบบชุมชน การใชประโยชนที่ดิน โครงสราง
พื้นฐานเพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดมาตรการ และวิธีการดําเนินการเพื่อใช
เปนกรอบในการจัดทําแผนงาน โครงการการพัฒนาพื้นที่และบริการสาธารณะตาง ๆ ใหบรรลุวัตถุประสงคของ
ผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง โดยมีสาระสําคัญ ดังตอไปนี้

      (๑) กําหนดผังการใชประโยชนที่ดินในเขตเมืองและชนบท เพื่อจัดระบบบริหารทรัพยากรธรรมชาติให
รักษาความสมดุลระบบนิเวศวิทยาของจังหวัด
      (๒) สงเสริมและพัฒนาระบบชุมชนเมืองใหทําหนาที่อยางมีประสิทธิภาพสมบูรณ
      (๓) สงเสริมการพัฒนาโครงขายเสนทางคมนาคมขนสงใหมีมาตรฐานและเชื่อมโยงพื้นที่อยางทั่วถึง
      (๔) สงเสริมและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการใหมีมาตรฐานและครอบคลุมทุกพื้นที่
ขอ ๕ การใชประโยชนที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ใหเปนไปตามแผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิน
ตามที่ไดจําแนกประเภท และรายการประกอบแผนผังทายกฎกระทรวงนี้

       ขอ ๖ การใชประโยชนที่ดินตามแผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภททาย
กฎกระทรวงนี้ ใหเปนไปดังตอไปนี้
        (๑) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๑.๑ ถึงหมายเลข ๑.๑๖ ที่กําหนดไวเปนสีชมพู ใหเปนที่ดินประเภท
ชุมชน
        (๒) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๒ ที่กําหนดไวเปนสีมวง ใหเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและ
คลังสินคา
        (๓) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๓.๑ ถึงหมายเลข ๓.๑๒ ที่กําหนดไวเปนสีเขียว ใหเปนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม
        (๔) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๔.๑ ถึงหมายเลข ๔.๒๙ ที่กําหนดไวเปนสีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสี
น้ําตาล ใหเปนที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
        (๕) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๕.๑ ถึงหมายเลข ๕.๕ ที่กําหนดไวเปนสีขาวมีกรอบและเสนทแยงสี
เขียว ใหเปนที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม
        (๖) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๖.๑ ถึงหมายเลข ๖.๓๐ ที่กําหนดไวเปนสีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว ให
เปนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม
        (๗) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๗.๑ ถึงหมายเลข ๗.๒ ที่กําหนดไวเปนสีฟา ใหเปนที่ดินประเภทที่โลง
เพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการประมง

     ขอ ๗ ที่ดินประเภทชุมชน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัย พาณิชยกรรม สถาบันการศึกษา สถาบัน
ศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

      สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไป ตามที่กําหนด
ดังตอไปนี้

      (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน๑๖เมตรการวัดความสูงของอาคารใหวัด
จากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงยอด
ผนังของชั้นสูงสุด
      (๒) การใชประโยชนที่ดิน ใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๓๐ ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต

      ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้

         (๑) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภทชนิด และจําพวกที่
กําหนดใหดําเนินการไดตามบัญชีทายขอกําหนดนี้และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชน
         (๒) สถานที่บรรจุกาซ สถานที่เก็บกาซ และหองบรรจุกาซ ตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซ
ปโตรเลียมเหลว แตไมหมายความรวมถึงสถานีบริการ รานจําหนายกาซ สถานที่ใชกาซ และสถานที่จําหนาย
อาหารที่ใชกาซ
       (๓) สถานที่ที่ใชในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อจําหนายที่ตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยการควบคุม
น้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง
       (๔) เลี้ยงมา โค กระบือ สุกร แพะ แกะ หาน เปด ไก งู จระเข หรือสัตวปา ตามกฎหมายวาดวยการ
สงวนและคุมครองสัตวปา เพื่อการคา
       (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
       (๖) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
       (๗) กําจัดมูลฝอย

      ที่ดินประเภทนี้ที่อยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตาม
กฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือสาธารณประโยชนเทานั้น
      การใชประโยชนที่ดินริมฝงแมน้ํา คลองหรือ แหลงน้ําสาธารณะ ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงตาม
สภาพธรรมชาติของแมน้ํา คลองหรือแหลงน้ําสาธารณะไมนอยกวา๖เมตรเวนแตเปนการกอสรางเพื่อการ
คมนาคมขนสงทางน้ําหรือการสาธารณูปโภค
      การใชประโยชนที่ดินริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) และทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๔๑ ใหมีที่วางตามแนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๖ เมตร

       ขอ ๘ ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการประกอบ
อุตสาหกรรม หรือเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมหรือคลังสินคา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและ
สาธารณูปการ
       สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนด
ดังตอไปนี้

      (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน ๑๖ เมตร การวัดความสูงของอาคารให
วัดจากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึง
ยอดผนังของชั้นสูงสุด
      (๒) การใชประโยชนที่ดินใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๓๐ ของแปลงที่ดินที่ขออนุญาต

      ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้

     (๑)   โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม
     (๒)   จัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย
     (๓)   จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
     (๔)   การประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ
     (๕)   สถานสงเคราะหหรือรับเลี้ยงเด็ก
     (๖)   สถานสงเคราะหหรือรับเลี้ยงคนชรา
การใชประโยชนที่ดินประเภทนี้ริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔(ถนนเพชรเกษม) ถนนเพชรเกษม –
มัสกัสถนนบานผีปนรูป – บานหนองสิบบาท และถนน อบจ.พท. บานหอยโขง – กรป.กลาง ใหมีที่วางตาม
แนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๑๐๐ เมตร

      ขอ ๙ ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับ
เกษตรกรรม การอยูอาศัย พาณิชยกรรม การทองเที่ยว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบัน
ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
         สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนด
ดังตอไปนี้

       (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน๑๒เมตร การวัดความสูงของ
อาคาร ใหวัดจากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่
กอสรางถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
       (๒) การใชประโยชนที่ดิน ใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๓๐ ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต

        ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้
        (๑) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกที่
กําหนดใหดําเนินการไดตามบัญชีทายขอกําหนดนี้ และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชน
        (๒) สถานที่บรรจุกาซ สถานที่เก็บกาซ และหองบรรจุกาซ ตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซ
ปโตรเลียมเหลว แตไมหมายความรวมถึงสถานีบริการ รานจําหนายกาซ สถานที่ใชกาซ และสถานที่จําหนาย
อาหารที่ใชกาซ
        (๓) สถานที่ที่ใชในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อจําหนายที่ตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยการควบคุม
น้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง
        (๔) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
        (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
        (๖) การอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ

      การใชประโยชนที่ดินริมฝงแมน้ํา คลอง และแหลงน้ําสาธารณะ ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงตาม
สภาพธรรมชาติแมน้ํา คลองและแหลงน้ําสาธารณะไมนอยกวา ๖ เมตร เวนแตเปนการกอสรางเพื่อการคมนาคม
ขนสงทางน้ําหรือการสาธารณูปโภค
      การใชประโยชนที่ดินริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔(ถนนเพชรเกษม) และทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๔๑ ใหมีที่วางตามแนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๖ เมตร

        ขอ ๑๐ ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของ
กับเกษตรกรรม การอยูอาศัย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและการ
สาธารณูปการ และการอนุรักษและสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
       สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่กําหนด
ดังตอไปนี้

      (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน ๙ เมตร การวัดความสูงของอาคารให
วัดจากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึง
ยอดผนังของชั้นสูงสุด
      (๒) การใชประโยชนที่ดิน ใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๕๐ ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต

         ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้
        (๑) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกที่
กําหนดใหดําเนินการไดตามบัญชีทายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชน
        (๒) สถานที่บรรจุกาซ สถานที่เก็บกาซ และหองบรรจุกาซ ตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซ
ปโตรเลียมเหลว แตไมหมายความรวมถึงสถานีบริการ รานจําหนายกาซ และสถานที่จําหนายอาหารที่ใชกาซ
        (๓) สถานที่ที่ใชในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อจําหนายที่ตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยการควบคุม
น้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง
        (๔) โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม
        (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
        (๖) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
        (๗) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย
        (๘) การอยูอาศัยหรือประกอบยพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ
        (๙) กําจัดมูลฝอย
        (๑๐) ซือขายเศษวัสดุ
                 ้
        (๑๑) สนามกอลฟ
        (๑๒) สวนสนุก
         ที่ดินประเภทนีทอยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรมตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือสาธารณประโยชนเทานั้น

     การใชประโยชนที่ดินริมฝงแมน้ํา คลอง หรือแหลงน้ําสาธารณะ ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงตาม
สภาพธรรมชาติของแมน้ําไมนอยกวา ๖ เมตร เวนแตเปนการกอสรางเพื่อการคมนาคมขนสงทางน้ําหรือการ
สาธารณูปโภค

      การใชประโยชนที่ดินริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔(ถนนเพชรเกษม) และทางหลวงแผนดินหมายเลข
๔๑ ใหมีที่วางตามแนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๖ เมตร

     ขอ ๑๑ ที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ใหใชประโยชนเพื่อการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม ตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือ
สาธารณประโยชนเทานั้น
     ขอ ๑๒ ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการสงวนและคุมครองดูแลรักษาหรือบํารุงปา
ไม สัตวปา ตนน้ําลําธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายที่เกี่ยวกับการปาไม
การสงวนและคุมครองสัตวปา และการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติเทานั้น
         ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเปนเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมายใหใชประโยชนที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม หรือการอยูอาศัยประเภทบานเดี่ยวซึ่งมิใชการจัดสรรและมีความสูงของอาคารไม
เกิน ๙ เมตร และขนาดพื้นที่ใชสอยอาคารรวมไมเกิน ๑๕๐ตารางเมตร เทานั้น
         การวัดความสูงของอาคารตามวรรคสอง ใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงพื้นดาดฟา สําหรับ
อาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
       ขอ ๑๓ ที่ดินประเภทที่โลงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการประมง ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม หรือเกี่ยวของกับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การประมง การทองเที่ยว หรือ
สาธารณประโยชนเทานั้น

      ขอ ๑๔ ใหโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการอยูกอนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใชบังคับและยัง
ประกอบกิจการอยูในปจจุบันอาจขยายพื้นที่โรงงานเฉพาะเพื่อใชในการผลิตไดอีกไมเกินหนึ่งเทาขของพื้นที่
โรงงานที่ใชในการผลิตเดิม พื้นที่โรงงานที่ขยายไดตองเปนพื้นที่ในดินแปลงเดียวกันหรือติดตอเปนแปลง
เดียวกันกับแปลงที่ดินที่เปนที่ตั้งของโรงงานเดิม และเจาของโรงงานเดิมเปนผูถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิ์
ครอบครองอยูกอนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใชบังคับ หรือเปนพื้นที่ในที่ดินที่เคยเปนกรรมสิทธิ์หรือครอบครอง
ของเจาของโรงงานเดิมอยูกอนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใชบังคับ
      ขอ ๑๕ ภายในบริเวณแนวเขตผังเมืองรวมนี้ การใชประโยชนที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรมประเภทคา
ปลีกคาสง ใหเปนไปตามหลักเกณฑการใชประโยชนที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรมประเภทคาปลีกคาสงทาย
กฎกระทรวงนี้
      ขอ ๑๖ ภายหลังจากกฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช หากมีการออกกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณ
ใดภายในแนวเขตตามกฎกระทรวงนี้ การใชประโยชนที่ดินใหเปนไปตามกฎกระทรวงที่ไดมีการออกใชบังคับ
ภายหลังนั้น
      ขอ ๑๗ ใหผูมีอํานาจหนาที่ในการควบคุมการกอสรางอาคารหรือการประกอบกิจการในเขตผังเมืองรวม
ปฎิบัติการใหเปนไปตามกฎกระทรวงนี้

                                          ใหไว ณ วันที่     พ.ศ. ....



                                        รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
หลักเกณฑการใชประโยชนที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรมประเภทคาปลีกคาสง
                     ทายกฎกระทรวงใหใชบงคับผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง
                                             ั
                                        พ.ศ. …….


          ขอ 1. ในหลักเกณฑนี้ “อาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสง” หมายความวา อาคารที่ใชประโยชน
เพื่อการพาณิชยกรรมในอาคารหลังเดียวหรือหลายหลัง ที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขาย
ปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภคหลากหลายประเภทที่ใชในชีวิตประจําวัน แตไมหมายความรวมถึงตลาดตาม
กฎหมายวาดวยการสาธารณสุข และอาคารที่ใชดําเนินการเพื่อสงเสริมหรือจําหนายสินคาซึ่งเปนผลิตผลหรือ
ผลิตภัณฑของชุมชน

            ขอ 2. หลักเกณฑนี้ใหใชบังคับในทองที่จังหวัดพัทลุงตามกฎกระทรวงนี้ แตไมหมายความรวมถึง
บยริเวณที่ไดมีการประกาศกฎกระทรวงกําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใชอาคารบาง
ชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางสวนในทองที่ตําบลพญาขัน ตําบลลําปา ตําบลเขาเจียก ตําบลควน
มะพราว ตําบลคูหาสวรรค ตําบลตํานาน และตําบลทามิหรํา อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2547

            ขอ 3. ที่ดินในบริเวณทองที่ตามขอ 2 หามไมใหใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสราง ดัดแปลงใชหรือ
เปลี่ยนแปลงการใชเปนอาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสง ที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขาย
ปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภคหลากหลายประเภทที่ใชในชีวิตประจําวัน ตั้งแต 300 ตารางเมตรขึ้นไป เวน
แตบริเวณทองที่ดังตอไปนี้

                  (1) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลควนขนุน อําเภอควนขนุน
                  (2) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลมะกอกเหนือ อําเภอควนขนุน
                  (3) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลเขาชัยสน อําเภอเขาชัยสน
                  (4) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลแมขรี อําเภอตะโหมด
                  (5) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด
                  (6) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลปาบอน อําเภอปาบอน
                  (7) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลทามะเดื่อ อําเภอบางแกว
                  (8) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลปากพะยูน อําเภอปากพะยูน
                  (9) ในทองที่ตําบลปาพะยอม อําเภอปาพะยอม
                  (10) ในทองที่ตําบลบานพราว อําเภอปาพะยอม
                  (11) ในทองที่ตําบลชะมวง อําเภอควนขนุน
                  (12) ในทองที่ตําบลดอนทราย อําเภอควนขนุน
                  (13) ในทองที่ตําบลควนขนุน อําเภอเขาชัยสน
                  (14) ในทองที่ตําบลโคกมวง อําเภอเขาชัยสน
                  (15) ในทองที่ตําบลเขาชัยสน อําเภอเขาชัยสน
(16)   ในทองที่ตําบลโคกสัก อําเภอบางแกว
                  (17)   ในทองที่ตําบลแมขรี อําเภอตะโหมด
                  (18)   ในทองที่ตําบลปาบอน อําเภอปาบอน
                  (19)   ในทองที่ตําบลหนองธง อําเภอปาบอน
                  (20)   ในทองที่ตําบลวังใหม อําเภอปาบอน
                  (21)   ในทองที่ตําบลทุงนารี อําเภอปาบอน
                  (22)   ในทองที่ตําบลโคกทราย อําเภอปาบอน

            ทั้งนี้ ในทองที่ตาม (1) ถึง ใหดําเนินการเปนอาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสงไดตามขนาดและ
หลักเกณฑที่กําหนดในขอ 4 และในทองที่ตาม (9) ถึง (22) ใหดําเนินการเปนอาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสง
ไดตามขนาดและหลักเกณฑที่กําหนดในขอ 4 และขอ 5

            ขอ 4. การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนแปลงการใชเปนอาคารพาณิชยก
รรมคาปลีกคาสงที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขายปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภคใน
ชีวิตประจําวัน ตั้งแต 300 ตารางเมตร แตไมเกิน 1,000 ตารางเมตร ตองเปนไปตามหลักเกณฑ
ดังตอไปนี้

                      (1) ที่ดินแปลงที่ตั้งอาคารจะตองอยูติดถนนสาธารณะที่มีชองทางจราจรไมนอยกวา 4
ชองทาง หรือมีขนาดเขตทางไมนอยกวา 20 เมตร และจะตองบรรจบกับถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางที่
เทากันหรือมากกวา
                      (2) แนวศูนยกลางปากทางเขาออกของรถยนตตองอยูหางจากทางรวมทางแยกที่เปนทาง
บรรจบกันของถนนสาธารณะที่มีเขตทางตั้งแต 14 เมตรขึ้นไป ไมนอยกวา 100 เมตร
                      (3) มีอัตราสวนพื้นที่อาคารคลุมดินตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคารไมเกิน
0.3
                      (4) มีอัตราสวนของพื้นที่ใชสอยรวมของอาคารตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ ใชเปนที่ตั้ง
อาคารไมเกิน 1.5
                       (5) มีอัตราสวนของพื้นที่วางที่จัดใหเปนสวน หรือบริเวณปลูกตนไม หรือการ
นันทนาการตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร ไมนอยกวารอยละ 20
                       (6) มีที่วางดานหนาของอาคาร หางจากเขตทางของถนนสาธารณะไมนอยกวา 50
เมตร โดยวัดระยะจากขอบนอกสุดอาคารถึงริมเขตทางฝงที่ติดกับแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร

                           (7) มีที่วางดานขางและดานหลังของอาคารหางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือเขตทางของ
ถนนสาธารณะไมนอยกวา 15 เมตร โดยวัดระยะจากขอบนอกสุดอาคารถึงเขตที่ดินของผูอื่นหรือริมเขตทางดาน
ที่ติดกับแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร
                            (8) อาคารที่มีความสูงเกินกวา 10 เมตร ตองมีระยะหางจากแนวเขตที่ดินซึ่งเปน
ที่ตั้งอาคารศูนยราชการหลักของจังหวัดหรืออําเภอ ศาสนสถาน โบราณสถาน สถานศึกษา ไมนอยกวา
500 เมตร โดยวัดจากขอบนอกสุดของอาคารที่ขออนุญาตถึงแนวเขตที่ดินของสถานที่ดังกลาว
(9) มีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คัน ตอพื้นที่อาคาร 20 ตารางเมตร เศษของ 20
ตารางเมตร ใหคิดเปน 20 ตารางเมตร
                      (10) ที่พักมูลฝอย ตองมีระยะหางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือถนนสาธารณะไมนอยกวา
10 เมตร และตองมีระยะหางจากสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่เก็บอาหารไมนอยกวา 4 เมตร แตถาที่
พักมูลฝอยมีขนาดความจุเกิน 3 ลูกบาศกเมตร ตองมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาวไมนอยกวา 10
เมตร และสามารถขนยายมูลฝอยไดโดยสะดวก

           ขอ 5. การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนแปลงการใชเปนอาคารพาณิชยก
รรมคาปลีกคาสงที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขายปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภค
หลากหลายประเภทที่ใชในชีวิตประจําวัน เกินกวา 1,000 ตารางเมตร ตองเปนไปตามหลักเกณฑดังตอไปนี้

              (1) ที่ดินแปลงที่ตั้งอาคารจะตองอยูติดทางหลวงแผนดินหรือถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไมนอย
กวา 40 เมตร
              (2) แนวศูนยกลางปากทางเขาออกของรถยนตตองอยูหางจากทางรวมทางแยกที่เปนทางบรรจบกัน
ของถนนสาธารณะที่มีเขตทางตั้งแต 14 เมตรขึ้นไป ไมนอยกวา 500 เมตร และมีทางคูขนานกับถนนสาธารณะ
เชื่อมตอกับทางเขาออกของรถยนต
              (3) มีอัตราสวนของพื้นที่อาคารคลุมดินตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้ง อาคารไมเกิน 0.2
              (4) มีอัตราสวนของพื้นที่ใชสอยรวมของอาคารตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคารไมเกิน 1.5
              (5) มีอัตราสวนของพื้นที่วางที่จัดใหเปนสวน หรือบริเวณปลูกตนไม หรือการนันทนาการตอ
พื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร ไมนอยกวารอยละ 20
              (6) มีที่วางดานหนาของอาคาร หางจากเขตทางของถนนสาธารณะไมนอยกวา 75 เมตร โดยวัดระยะ
จากขอบนอกสุดอาคารถึงริมเขตทางฝงที่ติดกับแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร
              (7)มีที่วางดานขางและดานหลังของอาคาร หางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือเขตทางของถนนสาธารณะ
ไมนอยกวา15เมตรโดยวัดระยะจากขอบนอกสุดอาคารถึงเขตที่ดินที่ของผูอื่นหรือริมเขตทางดานที่ติดกับแปลง
ที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร
              (8) อาคารที่มีความสูงเกินกวา 10 เมตร ตองมีระยะหางจากแนวเขตที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งอาคารศูนย
ราชการหลักของจังหวัดหรืออําเภอ ศาสนสถาน โบราณสถาน สถานศึกษา ไมนอยกวา 500 เมตร โดยวัด
จากขอบนอกสุดของอาคารที่ขออนุญาตถึงแนวเขตที่ดินของสถานที่ดังกลาว
              (9) มีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คัน ตอพื้นที่อาคาร 20 ตารางเมตร เศษของ 20 ตารางเมตร ให
คิดเปน 20 ตารางเมตร
              (10) ที่พักมูลฝอย ตองมีระยะหางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือถนนสาธารณะไมนอยกวา 10 เมตร และ
ตองมีระยะหางจากสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่เก็บอาหารไมนอยกวา 4 เมตร แตถาที่พักมูลฝอยมีขนาด
ความจุเกิน 3 ลูกบาศกเมตร ตองมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาวไมนอยกวา 10 เมตร และสามารถขนยายมูลฝอย
ไดโดยสะดวก
ผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง

Más contenido relacionado

Más de por

Procure aug 2554
Procure aug 2554Procure aug 2554
Procure aug 2554por
 
Procure july 2554
Procure july 2554Procure july 2554
Procure july 2554por
 
Procure june 2554
Procure june 2554Procure june 2554
Procure june 2554por
 
Procure may 2552
Procure may 2552Procure may 2552
Procure may 2552por
 
Procure april 2554
Procure april 2554Procure april 2554
Procure april 2554por
 
Procure march 2554
Procure march 2554Procure march 2554
Procure march 2554por
 
Procure feb 2554
Procure feb 2554Procure feb 2554
Procure feb 2554por
 
Procure Feb 2554
Procure Feb 2554Procure Feb 2554
Procure Feb 2554por
 
Procure feb 2554
Procure feb 2554Procure feb 2554
Procure feb 2554por
 
จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554
จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554
จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554por
 
ประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริ
ประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริ
ประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริpor
 
Procure jan 2554
Procure jan 2554Procure jan 2554
Procure jan 2554por
 
Procure dec 2553
Procure dec 2553Procure dec 2553
Procure dec 2553por
 
Procure nov 2553
Procure nov 2553Procure nov 2553
Procure nov 2553por
 
Procure oct 2553
Procure oct 2553Procure oct 2553
Procure oct 2553por
 
Sar card ปี53
Sar card ปี53Sar card ปี53
Sar card ปี53por
 
Pr dec53
Pr dec53Pr dec53
Pr dec53por
 
Sar card ปี53
Sar card ปี53Sar card ปี53
Sar card ปี53por
 
Wifi
WifiWifi
Wifipor
 
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตpor
 

Más de por (20)

Procure aug 2554
Procure aug 2554Procure aug 2554
Procure aug 2554
 
Procure july 2554
Procure july 2554Procure july 2554
Procure july 2554
 
Procure june 2554
Procure june 2554Procure june 2554
Procure june 2554
 
Procure may 2552
Procure may 2552Procure may 2552
Procure may 2552
 
Procure april 2554
Procure april 2554Procure april 2554
Procure april 2554
 
Procure march 2554
Procure march 2554Procure march 2554
Procure march 2554
 
Procure feb 2554
Procure feb 2554Procure feb 2554
Procure feb 2554
 
Procure Feb 2554
Procure Feb 2554Procure Feb 2554
Procure Feb 2554
 
Procure feb 2554
Procure feb 2554Procure feb 2554
Procure feb 2554
 
จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554
จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554
จัดซื้อจัดจ้างรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2554
 
ประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริ
ประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริ
ประกวดราคาจ้างโครงการอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำตามแนวประราชดำริ
 
Procure jan 2554
Procure jan 2554Procure jan 2554
Procure jan 2554
 
Procure dec 2553
Procure dec 2553Procure dec 2553
Procure dec 2553
 
Procure nov 2553
Procure nov 2553Procure nov 2553
Procure nov 2553
 
Procure oct 2553
Procure oct 2553Procure oct 2553
Procure oct 2553
 
Sar card ปี53
Sar card ปี53Sar card ปี53
Sar card ปี53
 
Pr dec53
Pr dec53Pr dec53
Pr dec53
 
Sar card ปี53
Sar card ปี53Sar card ปี53
Sar card ปี53
 
Wifi
WifiWifi
Wifi
 
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
 

ผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง

  • 1. ราง กฎกระทรวง ใหใชบังคับผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง พ.ศ. .... อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ และมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฏหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยออก กฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับไดมีกําหนดหาป ขอ ๒ ใหใชบังคับผังเมืองรวมในทองที่จังหวัดพัทลุง ภายในแนวเขตตามแผนที่ทายกฎกระทรวงนี้ ขอ ๓ การวางและจัดทําผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีววัตถุประสงค ดังตอไปนี้ (๑) เพื่อใหประชาชนดํารงชีพดวยความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน (๒) เพื่อสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจตามศักยภาพของพื้นที่และยกระดับโครงสรางเศรษฐกิจของจังหวัด ใหมั่นคงและยั่งยืน (๓) เพื่อสงเสริมและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนวัฒนธรรมทองถิ่นที่ดีงาม (๔) เพื่อเปนเครื่องมือในการสงเสริมการบริหารราชการภาครัฐ (๕) เพื่อเปนกรอบสําหรับภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาพื้นที่ทุกระดับ ในบริเวณแนวเขตตามขอ ๒ ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรของจังหวัดพัทลุง และยุทธศาสตรกลุม จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง และสอดคลองกับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ขอ๔ ผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีนโยบายในการจัดระบบชุมชน การใชประโยชนที่ดิน โครงสราง พื้นฐานเพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดมาตรการ และวิธีการดําเนินการเพื่อใช เปนกรอบในการจัดทําแผนงาน โครงการการพัฒนาพื้นที่และบริการสาธารณะตาง ๆ ใหบรรลุวัตถุประสงคของ ผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง โดยมีสาระสําคัญ ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดผังการใชประโยชนที่ดินในเขตเมืองและชนบท เพื่อจัดระบบบริหารทรัพยากรธรรมชาติให รักษาความสมดุลระบบนิเวศวิทยาของจังหวัด (๒) สงเสริมและพัฒนาระบบชุมชนเมืองใหทําหนาที่อยางมีประสิทธิภาพสมบูรณ (๓) สงเสริมการพัฒนาโครงขายเสนทางคมนาคมขนสงใหมีมาตรฐานและเชื่อมโยงพื้นที่อยางทั่วถึง (๔) สงเสริมและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการใหมีมาตรฐานและครอบคลุมทุกพื้นที่
  • 2. ขอ ๕ การใชประโยชนที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ใหเปนไปตามแผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ตามที่ไดจําแนกประเภท และรายการประกอบแผนผังทายกฎกระทรวงนี้ ขอ ๖ การใชประโยชนที่ดินตามแผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภททาย กฎกระทรวงนี้ ใหเปนไปดังตอไปนี้ (๑) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๑.๑ ถึงหมายเลข ๑.๑๖ ที่กําหนดไวเปนสีชมพู ใหเปนที่ดินประเภท ชุมชน (๒) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๒ ที่กําหนดไวเปนสีมวง ใหเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและ คลังสินคา (๓) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๓.๑ ถึงหมายเลข ๓.๑๒ ที่กําหนดไวเปนสีเขียว ใหเปนที่ดินประเภท ชนบทและเกษตรกรรม (๔) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๔.๑ ถึงหมายเลข ๔.๒๙ ที่กําหนดไวเปนสีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสี น้ําตาล ใหเปนที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (๕) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๕.๑ ถึงหมายเลข ๕.๕ ที่กําหนดไวเปนสีขาวมีกรอบและเสนทแยงสี เขียว ใหเปนที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (๖) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๖.๑ ถึงหมายเลข ๖.๓๐ ที่กําหนดไวเปนสีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว ให เปนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (๗) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๗.๑ ถึงหมายเลข ๗.๒ ที่กําหนดไวเปนสีฟา ใหเปนที่ดินประเภทที่โลง เพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการประมง ขอ ๗ ที่ดินประเภทชุมชน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัย พาณิชยกรรม สถาบันการศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไป ตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน๑๖เมตรการวัดความสูงของอาคารใหวัด จากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงยอด ผนังของชั้นสูงสุด (๒) การใชประโยชนที่ดิน ใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๓๐ ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๑) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภทชนิด และจําพวกที่ กําหนดใหดําเนินการไดตามบัญชีทายขอกําหนดนี้และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชน (๒) สถานที่บรรจุกาซ สถานที่เก็บกาซ และหองบรรจุกาซ ตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซ ปโตรเลียมเหลว แตไมหมายความรวมถึงสถานีบริการ รานจําหนายกาซ สถานที่ใชกาซ และสถานที่จําหนาย
  • 3. อาหารที่ใชกาซ (๓) สถานที่ที่ใชในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อจําหนายที่ตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยการควบคุม น้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง (๔) เลี้ยงมา โค กระบือ สุกร แพะ แกะ หาน เปด ไก งู จระเข หรือสัตวปา ตามกฎหมายวาดวยการ สงวนและคุมครองสัตวปา เพื่อการคา (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (๖) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร (๗) กําจัดมูลฝอย ที่ดินประเภทนี้ที่อยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตาม กฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือสาธารณประโยชนเทานั้น การใชประโยชนที่ดินริมฝงแมน้ํา คลองหรือ แหลงน้ําสาธารณะ ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงตาม สภาพธรรมชาติของแมน้ํา คลองหรือแหลงน้ําสาธารณะไมนอยกวา๖เมตรเวนแตเปนการกอสรางเพื่อการ คมนาคมขนสงทางน้ําหรือการสาธารณูปโภค การใชประโยชนที่ดินริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) และทางหลวงแผนดิน หมายเลข ๔๑ ใหมีที่วางตามแนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๖ เมตร ขอ ๘ ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการประกอบ อุตสาหกรรม หรือเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมหรือคลังสินคา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน ๑๖ เมตร การวัดความสูงของอาคารให วัดจากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึง ยอดผนังของชั้นสูงสุด (๒) การใชประโยชนที่ดินใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๓๐ ของแปลงที่ดินที่ขออนุญาต ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๑) โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม (๒) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย (๓) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (๔) การประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ (๕) สถานสงเคราะหหรือรับเลี้ยงเด็ก (๖) สถานสงเคราะหหรือรับเลี้ยงคนชรา
  • 4. การใชประโยชนที่ดินประเภทนี้ริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔(ถนนเพชรเกษม) ถนนเพชรเกษม – มัสกัสถนนบานผีปนรูป – บานหนองสิบบาท และถนน อบจ.พท. บานหอยโขง – กรป.กลาง ใหมีที่วางตาม แนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๑๐๐ เมตร ขอ ๙ ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับ เกษตรกรรม การอยูอาศัย พาณิชยกรรม การทองเที่ยว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบัน ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน๑๒เมตร การวัดความสูงของ อาคาร ใหวัดจากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่ กอสรางถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด (๒) การใชประโยชนที่ดิน ใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๓๐ ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๑) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกที่ กําหนดใหดําเนินการไดตามบัญชีทายขอกําหนดนี้ และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชน (๒) สถานที่บรรจุกาซ สถานที่เก็บกาซ และหองบรรจุกาซ ตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซ ปโตรเลียมเหลว แตไมหมายความรวมถึงสถานีบริการ รานจําหนายกาซ สถานที่ใชกาซ และสถานที่จําหนาย อาหารที่ใชกาซ (๓) สถานที่ที่ใชในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อจําหนายที่ตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยการควบคุม น้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง (๔) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (๖) การอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ การใชประโยชนที่ดินริมฝงแมน้ํา คลอง และแหลงน้ําสาธารณะ ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงตาม สภาพธรรมชาติแมน้ํา คลองและแหลงน้ําสาธารณะไมนอยกวา ๖ เมตร เวนแตเปนการกอสรางเพื่อการคมนาคม ขนสงทางน้ําหรือการสาธารณูปโภค การใชประโยชนที่ดินริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔(ถนนเพชรเกษม) และทางหลวงแผนดิน หมายเลข ๔๑ ใหมีที่วางตามแนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๖ เมตร ขอ ๑๐ ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของ กับเกษตรกรรม การอยูอาศัย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและการ สาธารณูปการ และการอนุรักษและสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่กําหนดตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่กําหนด
  • 5. ดังตอไปนี้ (๑) การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสรางอาคารใหมีความสูงไมเกิน ๙ เมตร การวัดความสูงของอาคารให วัดจากระดับพื้นที่ดินที่กอสรางถึงดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึง ยอดผนังของชั้นสูงสุด (๒) การใชประโยชนที่ดิน ใหมีที่วางไมนอยกวารอยละ ๕๐ ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต ที่ดินประเภทนี้ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๑) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกที่ กําหนดใหดําเนินการไดตามบัญชีทายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชน (๒) สถานที่บรรจุกาซ สถานที่เก็บกาซ และหองบรรจุกาซ ตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซ ปโตรเลียมเหลว แตไมหมายความรวมถึงสถานีบริการ รานจําหนายกาซ และสถานที่จําหนายอาหารที่ใชกาซ (๓) สถานที่ที่ใชในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อจําหนายที่ตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยการควบคุม น้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง (๔) โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (๖) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม (๗) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย (๘) การอยูอาศัยหรือประกอบยพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ (๙) กําจัดมูลฝอย (๑๐) ซือขายเศษวัสดุ ้ (๑๑) สนามกอลฟ (๑๒) สวนสนุก ที่ดินประเภทนีทอยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือสาธารณประโยชนเทานั้น การใชประโยชนที่ดินริมฝงแมน้ํา คลอง หรือแหลงน้ําสาธารณะ ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงตาม สภาพธรรมชาติของแมน้ําไมนอยกวา ๖ เมตร เวนแตเปนการกอสรางเพื่อการคมนาคมขนสงทางน้ําหรือการ สาธารณูปโภค การใชประโยชนที่ดินริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔(ถนนเพชรเกษม) และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๑ ใหมีที่วางตามแนวขนานเขตทางไมนอยกวา ๖ เมตร ขอ ๑๑ ที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ใหใชประโยชนเพื่อการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม ตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือ สาธารณประโยชนเทานั้น ขอ ๑๒ ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการสงวนและคุมครองดูแลรักษาหรือบํารุงปา
  • 6. ไม สัตวปา ตนน้ําลําธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและกฎหมายที่เกี่ยวกับการปาไม การสงวนและคุมครองสัตวปา และการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติเทานั้น ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเปนเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมายใหใชประโยชนที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม หรือการอยูอาศัยประเภทบานเดี่ยวซึ่งมิใชการจัดสรรและมีความสูงของอาคารไม เกิน ๙ เมตร และขนาดพื้นที่ใชสอยอาคารรวมไมเกิน ๑๕๐ตารางเมตร เทานั้น การวัดความสูงของอาคารตามวรรคสอง ใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงพื้นดาดฟา สําหรับ อาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด ขอ ๑๓ ที่ดินประเภทที่โลงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการประมง ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการ รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม หรือเกี่ยวของกับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การประมง การทองเที่ยว หรือ สาธารณประโยชนเทานั้น ขอ ๑๔ ใหโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการอยูกอนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใชบังคับและยัง ประกอบกิจการอยูในปจจุบันอาจขยายพื้นที่โรงงานเฉพาะเพื่อใชในการผลิตไดอีกไมเกินหนึ่งเทาขของพื้นที่ โรงงานที่ใชในการผลิตเดิม พื้นที่โรงงานที่ขยายไดตองเปนพื้นที่ในดินแปลงเดียวกันหรือติดตอเปนแปลง เดียวกันกับแปลงที่ดินที่เปนที่ตั้งของโรงงานเดิม และเจาของโรงงานเดิมเปนผูถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิ์ ครอบครองอยูกอนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใชบังคับ หรือเปนพื้นที่ในที่ดินที่เคยเปนกรรมสิทธิ์หรือครอบครอง ของเจาของโรงงานเดิมอยูกอนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใชบังคับ ขอ ๑๕ ภายในบริเวณแนวเขตผังเมืองรวมนี้ การใชประโยชนที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรมประเภทคา ปลีกคาสง ใหเปนไปตามหลักเกณฑการใชประโยชนที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรมประเภทคาปลีกคาสงทาย กฎกระทรวงนี้ ขอ ๑๖ ภายหลังจากกฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช หากมีการออกกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณ ใดภายในแนวเขตตามกฎกระทรวงนี้ การใชประโยชนที่ดินใหเปนไปตามกฎกระทรวงที่ไดมีการออกใชบังคับ ภายหลังนั้น ขอ ๑๗ ใหผูมีอํานาจหนาที่ในการควบคุมการกอสรางอาคารหรือการประกอบกิจการในเขตผังเมืองรวม ปฎิบัติการใหเปนไปตามกฎกระทรวงนี้ ใหไว ณ วันที่ พ.ศ. .... รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
  • 7. หลักเกณฑการใชประโยชนที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรมประเภทคาปลีกคาสง ทายกฎกระทรวงใหใชบงคับผังเมืองรวมจังหวัดพัทลุง ั พ.ศ. ……. ขอ 1. ในหลักเกณฑนี้ “อาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสง” หมายความวา อาคารที่ใชประโยชน เพื่อการพาณิชยกรรมในอาคารหลังเดียวหรือหลายหลัง ที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขาย ปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภคหลากหลายประเภทที่ใชในชีวิตประจําวัน แตไมหมายความรวมถึงตลาดตาม กฎหมายวาดวยการสาธารณสุข และอาคารที่ใชดําเนินการเพื่อสงเสริมหรือจําหนายสินคาซึ่งเปนผลิตผลหรือ ผลิตภัณฑของชุมชน ขอ 2. หลักเกณฑนี้ใหใชบังคับในทองที่จังหวัดพัทลุงตามกฎกระทรวงนี้ แตไมหมายความรวมถึง บยริเวณที่ไดมีการประกาศกฎกระทรวงกําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใชอาคารบาง ชนิด หรือบางประเภท ในพื้นที่บางสวนในทองที่ตําบลพญาขัน ตําบลลําปา ตําบลเขาเจียก ตําบลควน มะพราว ตําบลคูหาสวรรค ตําบลตํานาน และตําบลทามิหรํา อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2547 ขอ 3. ที่ดินในบริเวณทองที่ตามขอ 2 หามไมใหใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสราง ดัดแปลงใชหรือ เปลี่ยนแปลงการใชเปนอาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสง ที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขาย ปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภคหลากหลายประเภทที่ใชในชีวิตประจําวัน ตั้งแต 300 ตารางเมตรขึ้นไป เวน แตบริเวณทองที่ดังตอไปนี้ (1) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลควนขนุน อําเภอควนขนุน (2) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลมะกอกเหนือ อําเภอควนขนุน (3) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลเขาชัยสน อําเภอเขาชัยสน (4) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลแมขรี อําเภอตะโหมด (5) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด (6) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลปาบอน อําเภอปาบอน (7) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลทามะเดื่อ อําเภอบางแกว (8) ในทองที่เขตเทศบาลตําบลปากพะยูน อําเภอปากพะยูน (9) ในทองที่ตําบลปาพะยอม อําเภอปาพะยอม (10) ในทองที่ตําบลบานพราว อําเภอปาพะยอม (11) ในทองที่ตําบลชะมวง อําเภอควนขนุน (12) ในทองที่ตําบลดอนทราย อําเภอควนขนุน (13) ในทองที่ตําบลควนขนุน อําเภอเขาชัยสน (14) ในทองที่ตําบลโคกมวง อําเภอเขาชัยสน (15) ในทองที่ตําบลเขาชัยสน อําเภอเขาชัยสน
  • 8. (16) ในทองที่ตําบลโคกสัก อําเภอบางแกว (17) ในทองที่ตําบลแมขรี อําเภอตะโหมด (18) ในทองที่ตําบลปาบอน อําเภอปาบอน (19) ในทองที่ตําบลหนองธง อําเภอปาบอน (20) ในทองที่ตําบลวังใหม อําเภอปาบอน (21) ในทองที่ตําบลทุงนารี อําเภอปาบอน (22) ในทองที่ตําบลโคกทราย อําเภอปาบอน ทั้งนี้ ในทองที่ตาม (1) ถึง ใหดําเนินการเปนอาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสงไดตามขนาดและ หลักเกณฑที่กําหนดในขอ 4 และในทองที่ตาม (9) ถึง (22) ใหดําเนินการเปนอาคารพาณิชยกรรมคาปลีกคาสง ไดตามขนาดและหลักเกณฑที่กําหนดในขอ 4 และขอ 5 ขอ 4. การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนแปลงการใชเปนอาคารพาณิชยก รรมคาปลีกคาสงที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขายปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภคใน ชีวิตประจําวัน ตั้งแต 300 ตารางเมตร แตไมเกิน 1,000 ตารางเมตร ตองเปนไปตามหลักเกณฑ ดังตอไปนี้ (1) ที่ดินแปลงที่ตั้งอาคารจะตองอยูติดถนนสาธารณะที่มีชองทางจราจรไมนอยกวา 4 ชองทาง หรือมีขนาดเขตทางไมนอยกวา 20 เมตร และจะตองบรรจบกับถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางที่ เทากันหรือมากกวา (2) แนวศูนยกลางปากทางเขาออกของรถยนตตองอยูหางจากทางรวมทางแยกที่เปนทาง บรรจบกันของถนนสาธารณะที่มีเขตทางตั้งแต 14 เมตรขึ้นไป ไมนอยกวา 100 เมตร (3) มีอัตราสวนพื้นที่อาคารคลุมดินตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคารไมเกิน 0.3 (4) มีอัตราสวนของพื้นที่ใชสอยรวมของอาคารตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ ใชเปนที่ตั้ง อาคารไมเกิน 1.5 (5) มีอัตราสวนของพื้นที่วางที่จัดใหเปนสวน หรือบริเวณปลูกตนไม หรือการ นันทนาการตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร ไมนอยกวารอยละ 20 (6) มีที่วางดานหนาของอาคาร หางจากเขตทางของถนนสาธารณะไมนอยกวา 50 เมตร โดยวัดระยะจากขอบนอกสุดอาคารถึงริมเขตทางฝงที่ติดกับแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร (7) มีที่วางดานขางและดานหลังของอาคารหางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือเขตทางของ ถนนสาธารณะไมนอยกวา 15 เมตร โดยวัดระยะจากขอบนอกสุดอาคารถึงเขตที่ดินของผูอื่นหรือริมเขตทางดาน ที่ติดกับแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร (8) อาคารที่มีความสูงเกินกวา 10 เมตร ตองมีระยะหางจากแนวเขตที่ดินซึ่งเปน ที่ตั้งอาคารศูนยราชการหลักของจังหวัดหรืออําเภอ ศาสนสถาน โบราณสถาน สถานศึกษา ไมนอยกวา 500 เมตร โดยวัดจากขอบนอกสุดของอาคารที่ขออนุญาตถึงแนวเขตที่ดินของสถานที่ดังกลาว
  • 9. (9) มีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คัน ตอพื้นที่อาคาร 20 ตารางเมตร เศษของ 20 ตารางเมตร ใหคิดเปน 20 ตารางเมตร (10) ที่พักมูลฝอย ตองมีระยะหางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือถนนสาธารณะไมนอยกวา 10 เมตร และตองมีระยะหางจากสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่เก็บอาหารไมนอยกวา 4 เมตร แตถาที่ พักมูลฝอยมีขนาดความจุเกิน 3 ลูกบาศกเมตร ตองมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาวไมนอยกวา 10 เมตร และสามารถขนยายมูลฝอยไดโดยสะดวก ขอ 5. การใชประโยชนที่ดินเพื่อกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนแปลงการใชเปนอาคารพาณิชยก รรมคาปลีกคาสงที่มีพื้นที่ใชสอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขายปลีกขายสงสินคาอุปโภคบริโภค หลากหลายประเภทที่ใชในชีวิตประจําวัน เกินกวา 1,000 ตารางเมตร ตองเปนไปตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ (1) ที่ดินแปลงที่ตั้งอาคารจะตองอยูติดทางหลวงแผนดินหรือถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไมนอย กวา 40 เมตร (2) แนวศูนยกลางปากทางเขาออกของรถยนตตองอยูหางจากทางรวมทางแยกที่เปนทางบรรจบกัน ของถนนสาธารณะที่มีเขตทางตั้งแต 14 เมตรขึ้นไป ไมนอยกวา 500 เมตร และมีทางคูขนานกับถนนสาธารณะ เชื่อมตอกับทางเขาออกของรถยนต (3) มีอัตราสวนของพื้นที่อาคารคลุมดินตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้ง อาคารไมเกิน 0.2 (4) มีอัตราสวนของพื้นที่ใชสอยรวมของอาคารตอพื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคารไมเกิน 1.5 (5) มีอัตราสวนของพื้นที่วางที่จัดใหเปนสวน หรือบริเวณปลูกตนไม หรือการนันทนาการตอ พื้นที่ของแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร ไมนอยกวารอยละ 20 (6) มีที่วางดานหนาของอาคาร หางจากเขตทางของถนนสาธารณะไมนอยกวา 75 เมตร โดยวัดระยะ จากขอบนอกสุดอาคารถึงริมเขตทางฝงที่ติดกับแปลงที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร (7)มีที่วางดานขางและดานหลังของอาคาร หางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือเขตทางของถนนสาธารณะ ไมนอยกวา15เมตรโดยวัดระยะจากขอบนอกสุดอาคารถึงเขตที่ดินที่ของผูอื่นหรือริมเขตทางดานที่ติดกับแปลง ที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร (8) อาคารที่มีความสูงเกินกวา 10 เมตร ตองมีระยะหางจากแนวเขตที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งอาคารศูนย ราชการหลักของจังหวัดหรืออําเภอ ศาสนสถาน โบราณสถาน สถานศึกษา ไมนอยกวา 500 เมตร โดยวัด จากขอบนอกสุดของอาคารที่ขออนุญาตถึงแนวเขตที่ดินของสถานที่ดังกลาว (9) มีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คัน ตอพื้นที่อาคาร 20 ตารางเมตร เศษของ 20 ตารางเมตร ให คิดเปน 20 ตารางเมตร (10) ที่พักมูลฝอย ตองมีระยะหางจากเขตที่ดินของผูอื่นหรือถนนสาธารณะไมนอยกวา 10 เมตร และ ตองมีระยะหางจากสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่เก็บอาหารไมนอยกวา 4 เมตร แตถาที่พักมูลฝอยมีขนาด ความจุเกิน 3 ลูกบาศกเมตร ตองมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาวไมนอยกวา 10 เมตร และสามารถขนยายมูลฝอย ไดโดยสะดวก