SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๖

   ทรัพ ย์ส ิน ทาง
     ปัญ ญา
สารบัญ
ทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา
 ทรัพย์สินทางปัญญา
  ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
ประเภททรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา
   ลิขสิทธิ์
   สิทธิบัตร
   เครื่องหมายการค้า
ลิข สิท ธิซ อฟต์แ วร์
          ์
อ้า งอิง
ทรัพ ย์ส ิน
ทางปัญ ญา
ทรัพ ย์ส น ทางปัญ ญา หมายถึง ผล
                   ิ
งานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์
ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทรัพย์สินอีกชนิดหนึง   ่
นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่
สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น นาฬิกา รถยนต์
โต๊ะ เป็นต้น และอสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สิน
ที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น บ้าน ที่ดิน
เป็นต้น
ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
     ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ไม่ใช่สังหาริมทรัพย์
และอสังหาริมทรัพย์ทใช้ในการผลิตสินค้าหรือ
                      ี่
ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม แท้ที่จริงแล้ว ทรัพย์สน    ิ
ทางอุตสาหกรรมนี้ เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่
เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม ความคิดสร้างสรรค์นจะ ี้
เป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึงอาจจะเป็นกระบวนการ
                              ่
หรือเทคนิคในการผลิตที่ได้ปรับปรุงหรือคิดค้นขึ้นใหม่
หรือทีเกี่ยวข้องกับตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ทเป็นองค์
       ่                                   ี่
ประกอบและรูปร่างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจาก
นียังรวมถึงเครื่องหมายการค้าหรือยี่หอ ซือและถิ่นทีอยู่
  ้                                  ้  ่           ่
ทางการค้า ทีรวมถึงแหล่งกำาเนิดสินค้าและการป้องกัน
              ่
ประเภททรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา
ลิขสิทธิ์

    ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ใน
สาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งาน
ภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์
ลิขสิทธิ์ยงรวมทัง
          ั      ้
    สิทธิค้างเคียง (Neighbouring Right) คือ
การนำาเอางานด้านลิขสิทธิ์ออกแสดง เช่น นักแสดง ผู้
บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ในการบันทึกหรือ
ถ่ายทอดเสียงหรือภาพ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer
Program หรือ Computer Software) คือ ชุด
คำาสังที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อกำาหนดให้
     ่
เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางาน
     งานฐานข้อมูล (Data Base) คือ ข้อมูลทีได้ ่
รับเก็บรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
สิทธิบัตร
     สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำาคัญทีรัฐออกให้เพื่อ
                                        ่
คุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑ์
อรรถประโยชน์ (Utility Model) ทีมลักษณะตามที่
                                    ่ ี
กฎหมายกำาหนด
     การประดิษฐ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ
ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกลของ
ผลิตภัณฑ์ รวมทังกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือ
                 ้
ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
     การออกแบบผลิตภัณฑ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์
เกี่ยวกับการทำาให้รูปร่างลักษณะภายนอกของ
ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์หรือทีเรียกอีกอย่างหนึง
                                  ่              ่
ว่า อนุสทธิบัตร (Petty Patent) จะมีลักษณะคล้ายกัน
          ิ
กับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ทมระดับ
                                          ี่ ี
การพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์
คิดค้นเพียงเล็กน้อย
     แบบผังภูมของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบ
               ิ
ทีทำาขึ้น เพือแสดงถึงการจัดวางและการเชือมต่อวงจร
  ่          ่                          ่
ไฟฟ้า เช่น ตัวนำาไฟฟ้า หรือตัวต้านทาน เป็นต้น
     เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือ
สัญลักษณ์หรือตราทีใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่
                     ่
เครื่อ งหมายการค้า
     เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือ
เครื่องหมายทีใช้เป็นทีหมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพือ
              ่         ่                       ่
แสดงว่าสินค้าทีใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่
                  ่
ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่
บรีส แฟ้บ เป็นต้น
     เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ
เครื่องหมายทีใช้เป็นทีหมายหรือเกี่ยวข้องกับการ
                ่         ่
บริการ เพือแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนันแตก
            ่                              ้
ต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น
เครื่องหมายรับรอง (Certification mark) คือ
เครื่องหมายทีเจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมาย
              ่
หรือเกียวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพือ
       ่                                        ่
เป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนัน เช่น
                                            ้
เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำา เป็นต้น
     เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) คือ
เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดย
บริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิก
ของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือ
เอกชน เช่น ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จำากัด
เป็นต้น
ลิข สิท ธิ์ซ อฟต์แ วร์
ลิข สิท ธิ์ซ อฟต์แ วร์
      ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 "ลิขสิทธิ์ ​
หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวทีจะทำาการใดๆ ตามพระ
                              ่
ราชบัญญัตินี้เกียวกับงานทีผู้สร้างสรรค์ได้ทำาขึ้น" ดัง
                ่          ่
นันการใช้ซอฟต์แวร์ทผู้อื่นสร้างขึ้นจำาเป็นต้องได้รับ
   ้                  ี่
การอนุญาตจากผู้สร้าง โดยใบอนุญาต (license) นี้
เป็นสัญญาระหว่างผู้สร้างกับผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ใบ
อนุญาตเป็นการให้สิทธิผู้ใช้ในการใช้ซอฟต์แวร์ได้
โดยไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งผลก็คือใบอนุญาต
ทำาหน้าที่เหมือนคำาสัญญาว่าผู้สร้างจะไม่ฟองร้องผู้ใช้
                                           ้
ในการใช้ซอฟต์แวร์ซึ่งถือเป็นสิทธิของผู้สร้างแต่เพียง
ผู้เดียว
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ถือเป็นงานวรรณกรรม คือ
งานนิพนธ์ททำาขึ้น ได้รับการคุ้มครองแบบลิขสิทธิ์
             ี่
เท่านั้น ไม่สามารถนำาไปขอจดสิทธิบัตร            ผล
งานประเภทที่สามารถจดสิทธิบัตร (Patent) ได้ คือ สิ่ง
ประดิษฐ์ (ยกตัวอย่างสิทธิบัตรที่นกศึกษาสืบค้นส่ง
                                 ั
อาจารย์) และออกแบบผลิตภัณฑ์ (เช่น การออกแบบสี
ลวดลาย รูปร่าง ของสิ่งของ เครื่องใช้ ที่มคุณค่าในเชิง
                                         ี
เศรษฐกิจ
ในกรณีที่ไม่ได้ทำาสัญญาระหว่างกัน เมือลูกจ้าง
                                              ่
ทำาการเขียนซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ขึ้น ซอฟต์แวร์นั้น
ย่อมเป็นลิขสิทธิ์ของลูกจ้าง แต่บริษทสามารถนำา
                                     ั
ซอฟต์แวร์ออกเผยแพร่ หรือจำาหน่ายได้ ตาม
วัตถุประสงค์ของการจ้างงานนั้น            หากเจ้าของขาย
ลิขสิทธิ์ให้ผู้อื่นแล้ว ก็ยงสามารถแสดงตนว่าเป็นผู้
                           ั
สร้างสรรค์ผลงานลิขสิทธิ์นั้นได้
    เพื่อป้องกันไม่ให้ลูกจ้างของบริษทนำาซอฟต์แวร์
                                       ั
หรือผลงานลิขสิทธิ์ที่คิดขึ้นขณะทีเป็นลูกจ้างของเรา
                                   ่
ออกไปหาผลประโยชน์ บริษัทจะต้องให้ลูกจ้างเซ็น
สัญญษยกลิขสิทธิ์ในผลงานทุกอย่าง ที่ทำาขึ้นขณะเป็น
ลูกจ้างของเราให้แก่บริษัท
หากบริษัทคู่แข่งสร้างซอฟต์แวร์ที่มวิธีการทำางาน
                                         ี
เหมือนกับซอฟต์แวร์ที่บริษัทเราสร้างขึ้นมาก่อน บริษัท
คู่แข่งไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ของเรา เพราะ สิ่งทีไม่ใช่งาน
                                               ่
ลิขสิทธิ์ เช่น ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ หลัก
การ วิธีใชหรือทำางาน ทฤษฎี แนวความคิด การค้นพบ
ข่าวประจำาวัน เป็นต้น
ถ้าถูกจับได้ว่าละเมิดลิขสิทธิ์ต้องเสียค่าละเมิดลิขสิทธิ์
ให้กับเจ้าของลิขสิทธิ์
     เมือพัฒนาซอฟต์แวร์หรือเว็บไซต์เสร็จ จะได้รับ
        ่
การคุ้มครองทันที โดยไม่ต้องไปทำาการจดทะเบียนกับ
กราทรัพย์สนทางปัญญา แต่เราสามารถไปจดแจ้ง
              ิ
การดัด แปลงซอฟต์แ วร์ โดยได้ร ับ อนุญ าต
ถือ ว่า ไม่เ ป็น การละเมิด ลิข สิท ธิ์

    หากมีผู้มาทำาการดัดแปลง คัดลอกซอฟต์แวร์ของ
บริษัท ทางบริษัทสามารถเอาผิดกับบุคคลเหล่านันได้
                                            ้
โดยการดำาเนินคดีตามกฎหมายได้ทันที แต่บางครั้ง
อาจเจรจายอมความได้ หรือเรียกเก็บค่าลิขสิทธิ์ก็ได้
บทลงโทษเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ การ
ละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง เช่น ทำาซำ้า ดัดแปลง : มีโทษ
ปรับ 20,000 - 200,000 บาท หากทำาเพื่อการค้า มี
โทษจำาคุก 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับ 100,000 -
800,000 บาท หรือทั้งจำาทังปรับ การละเมิดลิขสิทธิ์
                           ้
โดยอ้อม (สนับสนุนให้เกิดการละเมิด) : มีโทษปรับ
10,000 - 100,000 บาท หากทำาเพื่อการค้า มี
โทษจำาคุก 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือ 50,000 -
400,000 บาท หรือทั้งจำาทังปรับ
                             ้
หากเป็น บุคคลธรรมดา ผลงานลิขสิทธิ์จะได้รับ
การคุ้มครองตลอดชีวิตผู้สร้างสรรค์ + 50 ปี หากเป็น
นามแฝง/นิติบุคคล จะได้รับการคุ้มครอง 50 ปี นับแต่
สร้างสรรค์
    หากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลงสิทธิในการ
ครอบครองลิขสิทธิ์นั้นจะตกแก่ทายาท(ในระยะเวลาไม่
เกิน 50 ปี)
งานทีไม่มใครเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพราะอายุแห่ง
          ่      ี
การคุ้มครองสิ้นสุดลง หากนำามารวบรวม ผู้ทำาการ
รวบรวมสามารถเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์นนได้ ั้
    ข่าวประจำาวันและข้อเท็จจริงต่างๆทีมลักษณะเป็น
                                         ่ ี
เพียงข่าวสารเมือนำาไปเผยแพร่ต่อ ถือว่าไม่เป็นการ
                     ่
ละเมิดลิขสิทธิ์
    ถ้ามีผู้ว่าจ้างให้พฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีสญญาว่า
                       ั                      ั
จ้าง ผลลงานทีได้เป็นของผู้ว่าจ้าง ผู้ถูกว่าจ้างนำาไป
                   ่
ขายต่อให้แก่องค์กรอื่นไม่ได้
เมือเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลง จะได้รับการ
         ่
คุ้มครองลิขสิทธิ์นั้นต่อไปอีก 50 ปี หลังจากเสียชีวิต
      การติชมหรือวิจารณ์ผลงานทีมลิขสิทธิ์ ถือว่าไม่
                                       ่ ี
ละเมิดลิขสิทธิ์
 เมือซื้อซอฟต์แวร์ หากทำาซำ้า เพือป้องกันการสูญหาย
    ่                                ่
    หรือเสียหาย(Back up) ไม่ถอว่าเป็นการละเมิด
                                   ื
    ลิขสิทธิ์
อ้า งอิง


http://www.nsru.ac.th/nsrubi/article/showarticle.as
p?id=0000000001

http://term.wikidot.com/blog:software-licenses
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖

Más contenido relacionado

Destacado

Butterfly
ButterflyButterfly
Butterflyvenuavs
 
Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission Julian Stadon
 
WC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-globalWC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-globalc73039203
 
Ismar 2010 Presentation
Ismar 2010 PresentationIsmar 2010 Presentation
Ismar 2010 PresentationJulian Stadon
 
System properties of random networks
System properties of random networksSystem properties of random networks
System properties of random networksMarzieh Nabi
 
Impactful Exhibit Design Lunch & Learn
Impactful Exhibit Design Lunch & LearnImpactful Exhibit Design Lunch & Learn
Impactful Exhibit Design Lunch & LearnThe Trade Group
 
まえばしシャッタークエスト Stage.0
まえばしシャッタークエスト Stage.0まえばしシャッタークエスト Stage.0
まえばしシャッタークエスト Stage.0Yo Fujisawa
 
Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)
Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)
Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)MascotManor
 
Effective writing for the web | Center for plain language workshop
Effective writing for the web | Center for plain language workshopEffective writing for the web | Center for plain language workshop
Effective writing for the web | Center for plain language workshopCenter for Plain Language
 
Dev ops self service approach-1.3
Dev ops  self service approach-1.3Dev ops  self service approach-1.3
Dev ops self service approach-1.3Alex Tregubov
 
Struktur jantung dan peredaran darah dalam
Struktur jantung dan peredaran darah dalamStruktur jantung dan peredaran darah dalam
Struktur jantung dan peredaran darah dalamAsmira Aliens
 

Destacado (18)

Butterfly
ButterflyButterfly
Butterfly
 
Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission
 
WC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-globalWC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-global
 
Nursing audit
Nursing auditNursing audit
Nursing audit
 
Ismar 2010 Presentation
Ismar 2010 PresentationIsmar 2010 Presentation
Ismar 2010 Presentation
 
ИТ-тренды. IT Trends 2014-2015.
ИТ-тренды. IT Trends 2014-2015.ИТ-тренды. IT Trends 2014-2015.
ИТ-тренды. IT Trends 2014-2015.
 
PNY Sales Pitch SlideShow
PNY Sales Pitch SlideShowPNY Sales Pitch SlideShow
PNY Sales Pitch SlideShow
 
Google glass
Google glassGoogle glass
Google glass
 
System properties of random networks
System properties of random networksSystem properties of random networks
System properties of random networks
 
Impactful Exhibit Design Lunch & Learn
Impactful Exhibit Design Lunch & LearnImpactful Exhibit Design Lunch & Learn
Impactful Exhibit Design Lunch & Learn
 
まえばしシャッタークエスト Stage.0
まえばしシャッタークエスト Stage.0まえばしシャッタークエスト Stage.0
まえばしシャッタークエスト Stage.0
 
Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)
Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)
Blogs: Reading and Writing (no Arithmetic!)
 
Ssg by laws 2010
Ssg by laws 2010Ssg by laws 2010
Ssg by laws 2010
 
Effective writing for the web | Center for plain language workshop
Effective writing for the web | Center for plain language workshopEffective writing for the web | Center for plain language workshop
Effective writing for the web | Center for plain language workshop
 
It new
It newIt new
It new
 
Copernica Summit 2013 - Integrate Anything NL
Copernica Summit 2013 - Integrate Anything NLCopernica Summit 2013 - Integrate Anything NL
Copernica Summit 2013 - Integrate Anything NL
 
Dev ops self service approach-1.3
Dev ops  self service approach-1.3Dev ops  self service approach-1.3
Dev ops self service approach-1.3
 
Struktur jantung dan peredaran darah dalam
Struktur jantung dan peredaran darah dalamStruktur jantung dan peredaran darah dalam
Struktur jantung dan peredaran darah dalam
 

Similar a หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖

จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅWatinee Poksup
 
ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6Kochakorn Noiket
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาIam Champooh
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาIam Champooh
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดSatapon Yosakonkun
 
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastSarinee Achavanuntakul
 
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยPanda Jing
 
Chapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawChapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawjazzmusicup
 
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]Arthit Suriyawongkul
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าmay1636
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าmay1636
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศคีตะบลู รักคำภีร์
 
it-13-21
it-13-21it-13-21
it-13-21boossp
 

Similar a หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ (20)

จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
 
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
 
power
powerpower
power
 
Chapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawChapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society law
 
งาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรางาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรา
 
งาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรางาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรา
 
e-Business
e-Businesse-Business
e-Business
 
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
it-13-21
it-13-21it-13-21
it-13-21
 
E commerce1
E commerce1E commerce1
E commerce1
 

Más de Phonpat Songsomphao

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 

Más de Phonpat Songsomphao (7)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
It new
It newIt new
It new
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖

  • 1. หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๖ ทรัพ ย์ส ิน ทาง ปัญ ญา
  • 2. สารบัญ ทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา ทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ประเภททรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ลิข สิท ธิซ อฟต์แ วร์ ์ อ้า งอิง
  • 4. ทรัพ ย์ส น ทางปัญ ญา หมายถึง ผล ิ งานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทรัพย์สินอีกชนิดหนึง ่ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่ สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น นาฬิกา รถยนต์ โต๊ะ เป็นต้น และอสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สิน ที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น บ้าน ที่ดิน เป็นต้น
  • 5. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ไม่ใช่สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ทใช้ในการผลิตสินค้าหรือ ี่ ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม แท้ที่จริงแล้ว ทรัพย์สน ิ ทางอุตสาหกรรมนี้ เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่ เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม ความคิดสร้างสรรค์นจะ ี้ เป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึงอาจจะเป็นกระบวนการ ่ หรือเทคนิคในการผลิตที่ได้ปรับปรุงหรือคิดค้นขึ้นใหม่ หรือทีเกี่ยวข้องกับตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ทเป็นองค์ ่ ี่ ประกอบและรูปร่างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจาก นียังรวมถึงเครื่องหมายการค้าหรือยี่หอ ซือและถิ่นทีอยู่ ้ ้ ่ ่ ทางการค้า ทีรวมถึงแหล่งกำาเนิดสินค้าและการป้องกัน ่
  • 7. ลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ใน สาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งาน ภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ ลิขสิทธิ์ยงรวมทัง ั ้ สิทธิค้างเคียง (Neighbouring Right) คือ การนำาเอางานด้านลิขสิทธิ์ออกแสดง เช่น นักแสดง ผู้ บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ในการบันทึกหรือ ถ่ายทอดเสียงหรือภาพ
  • 8. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program หรือ Computer Software) คือ ชุด คำาสังที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อกำาหนดให้ ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางาน งานฐานข้อมูล (Data Base) คือ ข้อมูลทีได้ ่ รับเก็บรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
  • 9. สิทธิบัตร สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำาคัญทีรัฐออกให้เพื่อ ่ คุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑ์ อรรถประโยชน์ (Utility Model) ทีมลักษณะตามที่ ่ ี กฎหมายกำาหนด การประดิษฐ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกลของ ผลิตภัณฑ์ รวมทังกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือ ้ ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์ เกี่ยวกับการทำาให้รูปร่างลักษณะภายนอกของ
  • 10. ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์หรือทีเรียกอีกอย่างหนึง ่ ่ ว่า อนุสทธิบัตร (Petty Patent) จะมีลักษณะคล้ายกัน ิ กับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ทมระดับ ี่ ี การพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์ คิดค้นเพียงเล็กน้อย แบบผังภูมของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบ ิ ทีทำาขึ้น เพือแสดงถึงการจัดวางและการเชือมต่อวงจร ่ ่ ่ ไฟฟ้า เช่น ตัวนำาไฟฟ้า หรือตัวต้านทาน เป็นต้น เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือ สัญลักษณ์หรือตราทีใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่ ่
  • 11. เครื่อ งหมายการค้า เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือ เครื่องหมายทีใช้เป็นทีหมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพือ ่ ่ ่ แสดงว่าสินค้าทีใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ ่ ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ เป็นต้น เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายทีใช้เป็นทีหมายหรือเกี่ยวข้องกับการ ่ ่ บริการ เพือแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนันแตก ่ ้ ต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น
  • 12. เครื่องหมายรับรอง (Certification mark) คือ เครื่องหมายทีเจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมาย ่ หรือเกียวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพือ ่ ่ เป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนัน เช่น ้ เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำา เป็นต้น เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดย บริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิก ของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือ เอกชน เช่น ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จำากัด เป็นต้น
  • 13. ลิข สิท ธิ์ซ อฟต์แ วร์
  • 14. ลิข สิท ธิ์ซ อฟต์แ วร์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 "ลิขสิทธิ์ ​ หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวทีจะทำาการใดๆ ตามพระ ่ ราชบัญญัตินี้เกียวกับงานทีผู้สร้างสรรค์ได้ทำาขึ้น" ดัง ่ ่ นันการใช้ซอฟต์แวร์ทผู้อื่นสร้างขึ้นจำาเป็นต้องได้รับ ้ ี่ การอนุญาตจากผู้สร้าง โดยใบอนุญาต (license) นี้ เป็นสัญญาระหว่างผู้สร้างกับผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ใบ อนุญาตเป็นการให้สิทธิผู้ใช้ในการใช้ซอฟต์แวร์ได้ โดยไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งผลก็คือใบอนุญาต ทำาหน้าที่เหมือนคำาสัญญาว่าผู้สร้างจะไม่ฟองร้องผู้ใช้ ้ ในการใช้ซอฟต์แวร์ซึ่งถือเป็นสิทธิของผู้สร้างแต่เพียง ผู้เดียว
  • 15. ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ถือเป็นงานวรรณกรรม คือ งานนิพนธ์ททำาขึ้น ได้รับการคุ้มครองแบบลิขสิทธิ์ ี่ เท่านั้น ไม่สามารถนำาไปขอจดสิทธิบัตร ผล งานประเภทที่สามารถจดสิทธิบัตร (Patent) ได้ คือ สิ่ง ประดิษฐ์ (ยกตัวอย่างสิทธิบัตรที่นกศึกษาสืบค้นส่ง ั อาจารย์) และออกแบบผลิตภัณฑ์ (เช่น การออกแบบสี ลวดลาย รูปร่าง ของสิ่งของ เครื่องใช้ ที่มคุณค่าในเชิง ี เศรษฐกิจ
  • 16. ในกรณีที่ไม่ได้ทำาสัญญาระหว่างกัน เมือลูกจ้าง ่ ทำาการเขียนซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ขึ้น ซอฟต์แวร์นั้น ย่อมเป็นลิขสิทธิ์ของลูกจ้าง แต่บริษทสามารถนำา ั ซอฟต์แวร์ออกเผยแพร่ หรือจำาหน่ายได้ ตาม วัตถุประสงค์ของการจ้างงานนั้น หากเจ้าของขาย ลิขสิทธิ์ให้ผู้อื่นแล้ว ก็ยงสามารถแสดงตนว่าเป็นผู้ ั สร้างสรรค์ผลงานลิขสิทธิ์นั้นได้ เพื่อป้องกันไม่ให้ลูกจ้างของบริษทนำาซอฟต์แวร์ ั หรือผลงานลิขสิทธิ์ที่คิดขึ้นขณะทีเป็นลูกจ้างของเรา ่ ออกไปหาผลประโยชน์ บริษัทจะต้องให้ลูกจ้างเซ็น สัญญษยกลิขสิทธิ์ในผลงานทุกอย่าง ที่ทำาขึ้นขณะเป็น ลูกจ้างของเราให้แก่บริษัท
  • 17. หากบริษัทคู่แข่งสร้างซอฟต์แวร์ที่มวิธีการทำางาน ี เหมือนกับซอฟต์แวร์ที่บริษัทเราสร้างขึ้นมาก่อน บริษัท คู่แข่งไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ของเรา เพราะ สิ่งทีไม่ใช่งาน ่ ลิขสิทธิ์ เช่น ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ หลัก การ วิธีใชหรือทำางาน ทฤษฎี แนวความคิด การค้นพบ ข่าวประจำาวัน เป็นต้น ถ้าถูกจับได้ว่าละเมิดลิขสิทธิ์ต้องเสียค่าละเมิดลิขสิทธิ์ ให้กับเจ้าของลิขสิทธิ์ เมือพัฒนาซอฟต์แวร์หรือเว็บไซต์เสร็จ จะได้รับ ่ การคุ้มครองทันที โดยไม่ต้องไปทำาการจดทะเบียนกับ กราทรัพย์สนทางปัญญา แต่เราสามารถไปจดแจ้ง ิ
  • 18. การดัด แปลงซอฟต์แ วร์ โดยได้ร ับ อนุญ าต ถือ ว่า ไม่เ ป็น การละเมิด ลิข สิท ธิ์ หากมีผู้มาทำาการดัดแปลง คัดลอกซอฟต์แวร์ของ บริษัท ทางบริษัทสามารถเอาผิดกับบุคคลเหล่านันได้ ้ โดยการดำาเนินคดีตามกฎหมายได้ทันที แต่บางครั้ง อาจเจรจายอมความได้ หรือเรียกเก็บค่าลิขสิทธิ์ก็ได้
  • 19. บทลงโทษเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ การ ละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง เช่น ทำาซำ้า ดัดแปลง : มีโทษ ปรับ 20,000 - 200,000 บาท หากทำาเพื่อการค้า มี โทษจำาคุก 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับ 100,000 - 800,000 บาท หรือทั้งจำาทังปรับ การละเมิดลิขสิทธิ์ ้ โดยอ้อม (สนับสนุนให้เกิดการละเมิด) : มีโทษปรับ 10,000 - 100,000 บาท หากทำาเพื่อการค้า มี โทษจำาคุก 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือ 50,000 - 400,000 บาท หรือทั้งจำาทังปรับ ้
  • 20. หากเป็น บุคคลธรรมดา ผลงานลิขสิทธิ์จะได้รับ การคุ้มครองตลอดชีวิตผู้สร้างสรรค์ + 50 ปี หากเป็น นามแฝง/นิติบุคคล จะได้รับการคุ้มครอง 50 ปี นับแต่ สร้างสรรค์ หากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลงสิทธิในการ ครอบครองลิขสิทธิ์นั้นจะตกแก่ทายาท(ในระยะเวลาไม่ เกิน 50 ปี)
  • 21. งานทีไม่มใครเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพราะอายุแห่ง ่ ี การคุ้มครองสิ้นสุดลง หากนำามารวบรวม ผู้ทำาการ รวบรวมสามารถเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์นนได้ ั้ ข่าวประจำาวันและข้อเท็จจริงต่างๆทีมลักษณะเป็น ่ ี เพียงข่าวสารเมือนำาไปเผยแพร่ต่อ ถือว่าไม่เป็นการ ่ ละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้ามีผู้ว่าจ้างให้พฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีสญญาว่า ั ั จ้าง ผลลงานทีได้เป็นของผู้ว่าจ้าง ผู้ถูกว่าจ้างนำาไป ่ ขายต่อให้แก่องค์กรอื่นไม่ได้
  • 22. เมือเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลง จะได้รับการ ่ คุ้มครองลิขสิทธิ์นั้นต่อไปอีก 50 ปี หลังจากเสียชีวิต การติชมหรือวิจารณ์ผลงานทีมลิขสิทธิ์ ถือว่าไม่ ่ ี ละเมิดลิขสิทธิ์ เมือซื้อซอฟต์แวร์ หากทำาซำ้า เพือป้องกันการสูญหาย ่ ่ หรือเสียหาย(Back up) ไม่ถอว่าเป็นการละเมิด ื ลิขสิทธิ์