SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 95
Descargar para leer sin conexión
นางพรพรรณ สัมฤทธิตานนท์
โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
                        เปิดบทเรียน
เข้าสู่หน้าหลัก   ออกจากบทเรียน
กลับหน้าปก   ออกจากบทเรียน
อิศรญาณภาษิตหรือเพลงยาวอิศรญาณ (บางแห่งเรียกว่า อิศริญาณ) เป็นวรรณกรรม
คาสอนที่ไพเราะ คมคาย ให้คติสอนใจแก่ผู้อ่าน เนื้อหาเชิงสั่งสอนและแนะนาให้ผู้อ่านรู้จัก
ชีวิต มีข้อคิดคาคมต่างๆแสดงให้เห็นความเป็นไปตามธรรมดาของโลกที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึง
และคุ้นเคย
           สาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 2 สาระที่ 5 มี
เนื้อหาหน่วยหนึ่งที่ศึกษาเรื่อง วรรณคดีและวรรณกรรม ดังนั้นผู้สอนจึงคิดจัดทาบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาภาษาไทยเรื่อง อิศรญาณภาษิต ขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียน
การสอนและเป็ นเครื่ อ งมือ พั ฒนาความรู้ ทั ก ษะการเรี ยนของผู้ เรี ย นและเป็ น พื้นฐานให้
ผู้สนใจได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องอิศรญาณภาษิต อีกทั้งเพื่อประโยชน์กับครูในการ
นาไปใช้ประกอบการเรียนการสอนและทบทวนความรู้ของผู้เรียนวรรณกรรมคาสอนเรื่อง
อิศรญาณภาษิตต่อไป

 กลับหน้าหลัก                                                           ออกจากบทเรียน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาภาษาไทย ท 23101
  สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง อิศรญาณภาษิต ประกอบด้วย
  บทเรียน 3 ตอน ได้แก่
                    ตอนที่ 1 เนื้อหา เรื่อง อิศรญาณภาษิต บทที่ 1 - 8
                    ตอนที่ 2 เนื้อหา เรื่อง อิศรญาณภาษิต บทที่ 9 - 17
                    ตอนที่ 3 เนื้อหา เรื่อง อิศรญาณภาษิต บทที่ 18 - 26



หน้าต่อไป    กลับหน้าหลัก                                  ออกจากบทเรียน
1. อ่านผลการเรียนรู้ที่คาดหวังก่อนเรียน และตรวจสอบผลหลังจบ
   บทเรียนว่านักเรียนสามารถเรียนรู้ได้บรรลุผลหรือไม่ หากไม่เข้าใจ
   ในเรื่องใดควรเปิดบทเรียนใหม่อีกครั้ง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แล้วเริ่มอ่านเนื้อหาบทเรียนทีละหน้า
   อย่างช้า ๆ หากไม่เข้าใจควรอ่านซ้าอีกครั้งหนึ่ง
3. พยายามเรียนไปตามลาดับขั้นโดยไม่ข้ามขั้นตอน เพื่อความเข้าใจ
   ของนักเรียนเอง
4. เมื่อจบเนื้อหาบทเรียน ทาแบบทดสอบหลังเรียนแล้วให้เปรียบเทียบ
   ข้อผิดข้อถูก หากยังมีข้อผิดในการทาแบบทดสอบหลังเรียน
   ให้นักเรียนลองเรียนใหม่ตั้งแต่ต้นจนจบอีกครั้งหนึ่ง

หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                      ออกจากบทเรียน
สาระสาคัญ
            วรรณกรรมคาสอน เรื่อง อิศรญาณภาษิต หรือเพลงยาวอิศรญาณ (บาง
แห่งเรียกว่า อิศริญาณ) เป็นวรรณกรรมที่มีเป้าหมายเพื่อสั่งสอนอบรมผู้คนให้อยู่
ในกรอบ จารีตของสังคม                  ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างค่านิยมให้เกิดขึ้นใน
ความคิดของผู้คน         เพื่อให้ซึมซาบในจิตใจเป็นการจัดระเบียบความสัมพันธ์
ระหว่างผู้คนในสังคม วรรณกรรมคาสอนจึงเปรียบเสมือนกฎที่คอยควบคุมผู้คน
ให้อยู่ในระเบียบและเสนอแนะวิถีปฏิบัติของคนในสังคม อิศรญาณภาษิตนับเป็น
วรรณกรรมคาสอนที่มีลีลา แข็งกร้าว น้าเสียงประชดประชันเสียดสี แปลกไปจาก
วรรณกรรมคาสอนเรื่องอื่นๆ                เป็นภาษิตที่มีเนื้อหาเน้นถึงความสัมพันธ์ของ
มนุ ษ ย์ ใ นสั ง คม สอนให้ รู้ จั ก วางตั ว ให้ เ หมาะสมและอยู่ ร อดในสั ง คมได้ อ ย่ า ง
ปลอดภัย

  ย้อนกลับ      กลับหน้าหลัก                                              ออกจากบทเรียน
1. ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับประวัติผแต่ง
                                            ู้
       2. ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับกลอนเพลงยาว
       3. ผู้เรียนอธิบายความหมายของคาศัพท์และสานวน
          ในเรื่องอิศรญาณภาษิตได้
       4. ผู้เรียนถอดความจากคาประพันธ์ในเรื่องอิศรญาณภาษิตได้
       5. ผู้เรียนนาคาสอนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้


กลับหน้าหลัก                                           ออกจากบทเรียน
กลับหน้าเดิม   ออกจากบทเรียน
กลับหน้าเดิม   ออกจากบทเรียน
กลับหน้าเดิม   ออกจากบทเรียน
x
กลับหน้าเดิม       ออกจากบทเรียน
กลับหน้าเดิม   ออกจากบทเรียน
x
กลับหน้าเดิม       ออกจากบทเรียน
เข้าสู่บทเรียน   กลับหน้าหลัก   ออกจากบทเรียน
หม่อมเจ้าอิศรญาณ (ไม่ทราบพระนามเดิม) เป็นพระโอรสใน
      พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงมหิศวรินทรามเรศร์ พระองค์ทรงผนวชที่
      วัดบวรนิเวศวิหาร ได้พระนามฉายาว่า “อิสสรญาโณ” มีพระชนม์ชีพ
      อยู่ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีเรื่องเล่ากันว่า
      ครั้งหนึ่งพระองค์ทรงทาอะไรแปลกไป จนมีผู้ตาหนิให้รู้สึกน้อยพระทัย
      ด้ว ยความน้อยพระทัยของหม่อมเจ้ าอิศรญาณจึ งทรงนิพนธ์วรรณคดี
      เรื่อง อิศรญาณภาษิตขึ้นในเวลาต่อมาจึงแฝงด้วยน้าเสียงบ่นแกมเสียดสี
      ประชดประชัน

หน้าต่อไป   ย้อนกลับ    กลับหน้าหลัก                               ออกจากบทเรียน
1. เรื่องอิศรญาณภาษิตเป็นพระนิพนธ์ของใคร

                       ก    หม่อมเจ้าอิศรสุนทร
                       ข    หม่อมเจ้าอิศรญาณ
                       ค    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
                       ง    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก             ออกจากบทเรียน
1. เรื่องอิศรญาณภาษิตเป็นพระนิพนธ์ของใคร


                         ข หม่อมเจ้าอิศรญาณ




หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                        ออกจากบทเรียน
2. หม่อมเจ้าอิศรญาณทรงนิพนธ์เรื่องอิศรญาณภาษิตขึนด้วยความรูสึกใด
                                                   ้          ้

                       ก โกรธ
                       ข โศกเศร้า
                       ค ตื้นตันใจ
                       ง น้อยพระทัย

หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก         ออกจากบทเรียน
2. หม่อมเจ้าอิศรญาณทรงนิพนธ์เรื่องอิศรญาณภาษิตขึนด้วยความรูสึกใด
                                                   ้          ้


                         ง     น้อยพระทัย




หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                   ออกจากบทเรียน
กลอนเพลงยาว เป็นชื่อคาประพันธ์ประเภทกลอนชนิดหนึ่ง แต่งได้
   โดยไม่จากัดความยาวและมีข้อบังคับทางฉันทลักษณ์เช่นเดียวกับกลอนสุภาพ
   กล่าวคือ บทหนึ่งมี 4 วรรคและมีจานวนคาในวรรคหนึ่งๆ ประมาณ 8 คาเป็นพื้น
   ลักษณะที่แตกต่างไปจากกลอนแปดทั่วไปคือ กลอนเพลงยาวต้องขึ้นต้นบทแรก
   ด้วยวรรครับอันเป็น วรรคที่สอง แทนที่จะขึ้นด้วยวรรคสดับอันเป็นวรรคแรก
   และต้องลงท้ายบทด้วยคาว่า “เอย”
             กลอนเพลงยาว มักจะหมายความถึงจดหมายรักที่ผู้ชายเขียนถึงผู้หญิง
   มีเนื้อหาในเชิงเกี้ยวพาราสี ฝากรัก และตัดพ้อเมื่อไม่สมหวัง เพลงยาวในความ
   เข้าใจของคนทั่วไปจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความรักเท่านั้น แต่ความเป็นจริงแล้ว
   เนื้อหาของกลอนเพลงยาวไม่ได้จากัดว่าจะต้องเป็นเรื่อง เกี่ยวกับความรักเพียง
   อย่างเดียว แต่จะแต่งเกี่ยวกับเรื่องใดๆ ก็ได้
หน้าต่อไป   ย้อนกลับ    กลับหน้าหลัก                                ออกจากบทเรียน
วรรครับ
                                      1 2 3 4 5 6 7 8
                วรรครอง                  วรรคส่ง
             1 2 3 4 5 6 7 8          1 2 3 4 5 6 7 8

                                                    8



หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                 ออกจากบทเรียน
1. เพื่อสั่งสอน
            2. เพื่อเตือนใจให้คิดก่อนทีจะทาสิ่งใด
                                       ่
            3. สอนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นในสังคมให้อยูร่วมกันได้
                                                              ่
              อย่างมีความสุข



หน้าต่อไป     ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                          ออกจากบทเรียน
3. ข้อใดเป็นลักษณะของกลอนเพลงยาว

                         ก ขึ้นต้นบทแรกด้วยวรรครับ
                         ข จบวรรคส่งด้วยคาว่าเอย
                         ค หนึ่งวรรคมี 10 พยางค์
                         ง ไม่จาเป็นต้องมีสัมผัสระหว่างบท

หน้าต่อไป   ย้อนกลับ     เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก             ออกจากบทเรียน
3. ข้อใดเป็นลักษณะของกลอนเพลงยาว

                   ก      ขึ้นต้นบทแรกด้วยวรรครับ




หน้าต่อไป   ย้อนกลับ     กลับหน้าหลัก                     ออกจากบทเรียน
อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร
            เทศนาคาไทยให้เป็นทาน        โดยตานานศุภอรรถสวัสดี

      ถอดความ หม่อมเจ้าอิศรญาณผู้ทรงเชี่ยวชาญในเชิงกลอน
      ทรงนิพนธ์คากลอนสุภาษิตโบราณ สั่งสอนเตือนใจไว้เพื่อเป็นทาน
      แก่ทุกคน
      คาศัพท์ ตานาน       หมายถึง       คาโบราณ
               ศุภอรรถ หมายถึง          ถ้อยคาและความหมายที่ดี
               สวัสดี     หมายถึง       ความดี ความงาม

หน้าต่อไป     ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                    ออกจากบทเรียน
4. ข้อใดเป็นจุดมุงหมายในการแต่งเรื่องอิศรญาณภาษิต
                             ่

            ก เพื่อประชดประชันเสียดสีบุคคลที่เคยว่าร้าย
            ข เพื่อบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองของประเทศไทยในอดีต
            ค เพื่อเป็นข้อคิดเตือนใจในการประพฤติปฏิบติตนในสังคม
                                                    ั
            ง เพื่อใช้เป็นกฎหมายควบคุมความประพฤติของคนไทยในอดีต

หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก             ออกจากบทเรียน
4. ข้อใดเป็นจุดมุงหมายในการแต่งเรื่องอิศรญาณภาษิต
                                ่


            ค เพื่อเป็นข้อคิดเตือนใจในการประพฤติปฏิบติตนในสังคม
                                                    ั




หน้าต่อไป      ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                      ออกจากบทเรียน
สาหรับคนเจือจิตจริตเขลา           ด้วยเมามัวโมห์มากในซากผี
       ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี                สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย
  ถอดความ          สาหรับคนที่โง่เขลาเบาปัญญาที่ไปลุ่มหลงในความชั่วต้องฝึกใจให้รู้เท่าทัน
  กิเลส คือ เอาใจเป็นนายบังคับใจตัวเองให้อยู่เหนือกิเลส เพื่อจะได้เป็นพาหนะไปสู่ความสุข
  คาศัพท์ เจือ         หมายถึง เอาส่วนที่มีน้อยไปประสมลงไปในส่วนมาก
             จริต      หมายถึง กิริยาอาการ หรือแสดงความประพฤติ
             โมห์      หมายถึง ความลุ่มหลง
             ซากผี หมายถึง ร่างกายของคนที่ตายแล้ว
             อาชาไนย หมายถึง กาเนิดดี พันธุ์ หรือตระกูลดี ฝึกหัดมาดีแล้ว
             ม้ามโนมัย หมายถึง ในบทนี้หมายถึงใจที่รู้เท่าทันกิเลสจะได้เป็นพาหนะไปสู่
                ความสาเร็จ
หน้าต่อไป     ย้อนกลับ    กลับหน้าหลัก                                    ออกจากบทเรียน
5. ข้อความ “สาหรับคนเจือจิตจริตเขลา ด้วยมัวเมาโมห์มากในซากผี”
      คาว่า “โมห์” มีความหมายตรงกับข้อใด

                 ก     ความโกรธ         ข ความโลภ

                 ค ความชั่ว             ง ความลุมหลง
                                                ่


หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก          ออกจากบทเรียน
5. ข้อความ “สาหรับคนเจือจิตจริตเขลา ด้วยมัวเมาโมห์มากในซากผี”
      คาว่า “โมห์” มีความหมายตรงกับข้อใด


                               ง      ความลุมหลง
                                            ่



หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                  ออกจากบทเรียน
ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า              น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
      เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ                        รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ

   ถอดความ ผู้ ช ายกั บผู้ ห ญิง นั้ นต่ า งกั น ดั งข้ า วเปลือ กกับ ข้ าวสาร(โบราณเขา
   เปรียบเทียบว่า ผู้ชายเปรียบเสมือนข้าวเปลือกตกที่ไหนก็เ จริญงอกงามที่นั่น
   ส่วน ผู้หญิงก็เปรียบเสมือนข้าวสาร ตกที่ไหนมันไม่สามารถเจริญงอกงามได้
   ข้าวสารก็เน่า แต่เมื่ออยู่ในสังคมเดียวกันก็ย่อมต้องพึ่งพาอาศัยกันเป็นธรรมดา
   เราก็มีมิตรจิตเขาก็มีมิตรใจฉะนั้นเรารักกันดีกว่าเกลียดกัน
   คาศัพท์ อัชฌาสัย หมายถึง กิริยาดี นิสัยใจคอ ความรู้จักผ่อนปรน
   สุภาษิต สานวน ที่เกี่ยวข้อง ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสาร, น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
                     รักกันดีกว่าชังกัน , มิตรจิตรมิตรใจ
หน้าต่อไป    ย้อนกลับ     กลับหน้าหลัก                                   ออกจากบทเรียน
6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า            น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
      เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ                        รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ”
                         คาประพันธ์ข้างต้นไม่ได้ให้ข้อคิดเรื่องใด

    ก ควรขยันและอดทน                      ข ควรรักกันไว้

    ค ควรมีน้าใจไมตรีต่อกัน               ง     ควรช่วยเหลือเกื้อกูลพึ่งพาอาศัยกัน


หน้าต่อไป    ย้อนกลับ    เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                         ออกจากบทเรียน
6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า            น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
      เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ                        รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ”
                         คาประพันธ์ข้างต้นไม่ได้ให้ข้อคิดเรื่องใด


                        ก      ควรขยันและอดทน



หน้าต่อไป    ย้อนกลับ     กลับหน้าหลัก                                  ออกจากบทเรียน
ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ     ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ
            สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล          เป็นชายชาญอย่าเพ่อคาดประมาทชาย
       ถอดความ ผู้ใดทาดีต่อเราเราก็ควรทาดีต่อเขาตอบ ผูใดที่ทาไม่ดต่อเราหรือทาไม่
                                                      ้          ี
  ถูกต้องก็ไม่ควรโกรธหรือตัดรอนจนแตกหัก ทาความดีสิบครั้งก็ไม่เท่าทาความชั่วครึ่งครั้ง
  คือ ความชั่วจะทาลายความดีลงจนหมดสิ้น เป็นชายนั้น ไม่ควรดูถูกชายด้วยกัน
       คาศัพท์       ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ
            หมายถึง ผู้ที่ทาไม่ถูกต้องก็ไม่ควรโกรธหรือตัดรอนจนแตกหัก
                     สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล
            หมายถึง ทาดีสบหนไม่เท่ากับทาชั่วเพียงครึ่งหนความดีก็จะหมดไป
                              ิ
       สุภาษิต สานวนทีเ่ กี่ยวข้อง คนล้มอย่าข้าม
            หมายถึง คนที่ตกต่าไม่ควรลบหลู่ดูถูก เพราะอาจจะกลับมาเฟื่องฟูได้อีก

หน้าต่อไป        ย้อนกลับ     กลับหน้าหลัก                            ออกจากบทเรียน
7. ข้อความ “ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ”
       ข้อความข้างต้นใกล้เคียงกับสานวนในข้อใด


            ก คนล้มอย่าข้าม              ข ตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้

            ค ขุดรากถอนโคน               ง       เด็ดบัวไม่ไว้ใย


หน้าต่อไป    ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                     ออกจากบทเรียน
7. ข้อความ “ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ”
       ข้อความข้างต้นใกล้เคียงกับสานวนในข้อใด


                           ก คนล้มอย่าข้าม



หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                        ออกจากบทเรียน
รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น       รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
    มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย                       แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา
  ถอดความ รักจะอยู่ด้วยกันสั้น ๆ ก็จงทาสิ่งไม่ดีต่อไป แต่ถ้าเราจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ จงทาความดี
  อย่าทาในสิ่งที่ผิด กฎหมายหรือทาชั่ว ทุกคนต้องตาย ด้วยกันทั้งนั้น จงทาความดีไว้เถิด เวลาที่
  แหงนดูฟ้าจะได้ไม่อายเทวดา
  คาศัพท์ รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ หมายถึง รักที่จะมีมิตรไมตรีต่อกันต้องตัดสิ่งที่ไม่ดีออก
  อย่าไปพูดถึง แต่ถ้าจะคบกันในเวลาสั้น ๆ ให้พูดต่อปากต่อคา รักยาว คือต้องการให้เรื่องเป็นไป
  โดยราบรื่น ไม่ติดขัด ไม่สะดุดจะเป็นการดาเนินธุรกิจ การคบเพื่อน การปฏิบัติงานหรือเรื่องอะไรก็
  ตาม ให้บั่น คือให้ตัดหรือทอนส่วนที่ขัดข้อง ความกินแหนงแคลงใจเรื่องเล็กน้อยนั้นเสียไม่ต้อง
  ถือเป็นอารมณ์ รักสั้น คือต้องการให้เรื่องสิ้นสุดแค่นั้น แตกหักหรือดาเนินต่อไม่ได้ ให้ต่อ คือให้
  ต่อความยาวสาวความยืดต่อไป ให้นามาพิจารณาให้ถกเถียง ให้ถือเอา ให้ว่ากันต่อไป
  สุภาษิต สานวนที่เกี่ยวข้อง รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
หน้าต่อไป     ย้อนกลับ       กลับหน้าหลัก                                      ออกจากบทเรียน
8. ข้อความ “มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา”
         ผู้ประพันธ์ต้องการจะบอกผู้อ่านให้ปฏิบติตามข้อใด
                                              ั

            ก จงอย่ากลัวตาย              ข จงอย่าประมาท

            ค จงอย่าดูถูกตัวเอง          ง จงทาความดีละเว้นความชั่ว


หน้าต่อไป    ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก             ออกจากบทเรียน
8. ข้อความ “มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา”
         ผู้ประพันธ์ต้องการจะบอกผู้อ่านให้ปฏิบติตามข้อใด
                                              ั


                  ง จงทาความดีละเว้นความชั่ว



หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                      ออกจากบทเรียน
อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทาน้อย            น้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา
       อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา            ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน

    ถอดความ         อย่าดูถูกความดีหรือความชั่ว ว่าทาเพียงเล็กน้อยเพราะมันจะสะสมไป
    เรื่อย ๆ และมากขึ้นทุกที เวลาก่อนจะนอนให้ส่องกระจกดูหน้าตนเองว่ามีสิ่งผิดปกติ
    หรือไม่ เหมือนเป็นการให้สารวจจิตใจตนเองอยู่เป็นนิจว่าคิดใฝ่ดีอยู่หรือเปล่าเพื่อจะได้
    เตือนตนไว้ได้ทัน (เป็นการเตือนให้เรารู้จักคิด พิจารณา สารวจตัวเองทุกๆวัน)
    คาศัพท์ อย่านอนเปล่า หมายถึง อย่าเข้านอนเฉย ๆ ในที่นหมายถึงให้คิดถึง
                                                               ี้
                    การกระทาของตน
              น้าตาลย้อยหยดเท่าไรได้หนักหนา หมายถึง การสะสมความดีทีละน้อย
    สุภาษิต สานวนที่เกี่ยวข้อง จงเตือนตนด้วยตนเอง

หน้าต่อไป    ย้อนกลับ     กลับหน้าหลัก                                   ออกจากบทเรียน
9. ข้อความ “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน”
  ผู้ประพันธ์ต้องการบอกสิ่งใดแก่ผู้อ่าน

            ก ให้เตือนตนเอง              ข ให้สารวจตนเอง

            ค ให้แต่งตัวก่อนนอน          ง ให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์


หน้าต่อไป    ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก               ออกจากบทเรียน
9. ข้อความ “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน”
  ผู้ประพันธ์ต้องการบอกสิ่งใดแก่ผู้อ่าน


                       ข ให้สารวจตนเอง



หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                         ออกจากบทเรียน
เห็นตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน
      เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน ตรองเสียก่อนจึงค่อยทากรรมทั้งมวล

   ถอดความ           เห็นสิ่งใดกีดขวางทางอยู่ จงพิจารณาให้รอบคอบก่อนที่จะเก็บ
   เพราะอาจเป็นอันตรายได้และเมื่อไปเห็นการกระทาของใครอย่าเที่ยวทาปากบอน
   ไปบอกแก่คนอื่นอาจนาผลร้ายมาสู่ตนเองได้
   คาศัพท์ ปากบอน หมายถึง นาความลับหรือเรื่องที่ไม่ควรพูดไปบอกผู้อื่น
             ทึ้ง        หมายถึง ดึง ถอน
   สุภาษิต สานวน ที่เกี่ยวข้อง คิดก่อนพูด แต่อย่าพูดก่อนคิด

หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                             ออกจากบทเรียน
10. ข้อความ “เห็นตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน”
     ผู้ประพันธ์มีความประสงค์จะสอนในเรื่องใด


            ก ให้เป็นคนขยัน              ข ให้เป็นคนรอบคอบ

            ค ให้เป็นคนซี่อสัตย์         ง ให้เป็นคนอดทน


หน้าต่อไป    ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก               ออกจากบทเรียน
10. ข้อความ “เห็นตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน”
     ผู้ประพันธ์มีความประสงค์จะสอนในเรื่องใด


                       ข ให้เป็นคนรอบคอบ



หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                          ออกจากบทเรียน
ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า           ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน
     เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคานวณ            รู้ถี่ถ้วนจึงสบายเมื่อปลายมือ
 ถอดความ ให้ประพฤติปฏิบัติตนตามผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้ที่เกิดก่อน ย่อมมีความรู้และประสบการณ์
 มากกว่า และอย่าเป็นคนอกตัญญู จงมีความขยันหมั่นเพียรทางานอยู่เสมอแล้วจะมีความ สุข
 สบายในภายหลัง
 คาศัพท์ ผู้ไปหน้า หมายถึง คนที่เกิดก่อนย่อมมีความรู้และประสบการณ์มากกว่า
           หุนหวน หมายถึง หวน เวียนกลับ
           คิดคานวณ หมายถึง คิดไตร่ตรอง
           หลังตากแดด หมายถึง ก้มหน้าก้มตาทางานหนักอย่างชาวนา ทาให้หลังถูกแดด
           เมื่อปลายมือ หมายถึง ในภายหลัง
 สุภาษิต สานวนที่เกี่ยวข้อง เดินตามผู้ใหญ่หมาไม่กัด หมายถึง ประพฤติตามอย่างผู้ใหญ่ย่อม
 ปลอดภัย หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน หมายถึง ต้องตรากตราทางานหนักมักหมายถึงชาวไร่ชาวนาซึ่งใน
 เวลาทาไร่ทานาหลังต้องสู้กับแดด และหน้าต้องก้มลงดิน
หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก                                            ออกจากบทเรียน
11. ข้อความ “เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคานวณ”
           สานวน “หลังตากแดด”มีความหมายตรงกับข้อใด

                       ก ทนแดดได้นานไม่ร้อน
                       ข ทนร้อนทนหนาวอยู่ได้ตลอดเวลา
                       ค ขยันทางานหนักตลอดเวลา
                       ง งานหนักไม่เอางานเบาไม่สู้
ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ     กลับหน้าหลัก                  ออกจากบทเรียน
11. ข้อความ “เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคานวณ”
          สานวน “หลังตากแดด”มีความหมายตรงกับข้อใด

              ค ขยันทางานหนักตลอดเวลา




ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                         ออกจากบทเรียน
เข้าสู่แบบทดสอบ   กลับหน้าหลัก   ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน




              1. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด

                      ก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
                      ข พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
                      ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
                      ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                      เฉลย

              1. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด


                      ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว




ข้อต่อไป   ย้อนกลับ    กลับหน้าหลัก                       ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน




           2. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร

                       ก กลอนอิศรญาณ
                       ข เพลงยาวอิศรญาณ
                       ค อิศรญาณคาสอน
                       ง นิราศอิศรญาณ

ข้อต่อไป    ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                   ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                      เฉลย

           2. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร


                              ข เพลงยาวอิศรญาณ




ข้อต่อไป    ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                             ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน




           3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด

                        ก กลอนดอกสร้อย
                        ข กลอนกลบท
                        ค กลอนสักวา
                        ง กลอนเพลงยาว

ข้อต่อไป     ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก              ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                       เฉลย

           3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด


                                ง      กลอนเพลงยาว




ข้อต่อไป     ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                          ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน




                  4. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด

                      ก เพื่อระบายความคิด
                      ข เพื่อสะท้อนสภาพการดาเนินชีวต
                                                   ิ
                      ค เพื่อประชดประชันสังคม
                      ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                    ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                     เฉลย

                  4. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด


                  ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม




ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                              ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน



   5. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย”
      คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด
                      ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส
                      ข ใจที่คดได้รวดเร็วที่สุด
                              ิ
                      ค ใจที่คดทาอะไรด้วยความยิ่งใหญ่
                              ิ
                      ง ใจที่คดได้รวดเร็วและมีความเชื่อมั่นสูง
                              ิ

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                 ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                     เฉลย

   5. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย”
      คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด

                             ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส




ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                             ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


 6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
    เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ             รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ”
                คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด
           ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ
           ข ต้องรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเราจึงจะคบกันยืด
           ค การเบียดเบียนผู้อื่นเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทา
           ง คนรักเรามีน้อยกว่าคนเกลียดชังเรา
ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                 ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                     เฉลย

 6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
    เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ             รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ”
                คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด

                  ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ



ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                          ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน



            7. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน

           ก ใครทาตึงแล้วหย่อนผ่อนลงเอา นักเลงเก่าเขาไม่หาญราญนักเลง
           ข รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
           ค ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ
           ง เกิดเป็นคนเชิงดูให้รู้เท่า ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน

ข้อต่อไป      ย้อนกลับ    เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                        ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                      เฉลย

           7. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน


            ค     ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ




ข้อต่อไป    ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                            ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


 8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
   มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย           แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา
           คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด
                           ้
                  ก รักดีหามจั่วรักชั่วหามเสา
                  ข ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์
                  ค ความรักทาให้คนตาบอด
                  ง รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                     ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                         เฉลย
  8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
    มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย           แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา”
            คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด
                            ้

                      ง      รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ



ข้อต่อไป   ย้อนกลับ       กลับหน้าหลัก                             ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน
                      9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
      ก “อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทาน้อย” ข้อความนี้
         สอนให้เราอย่าดูถูกความดีหรือความชั่ว ว่าทาเพียงเล็กน้อย
                     ข “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา”
                           ข้อความนี้สอนให้เราสารวจและเตือนตนเอง
      ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้
         สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย
                          ง    “ตรองเสียก่อนจึงค่อยทากรรมทั้งมวล”
                                ข้อความนี้สอนให้เราคิดก่อนพูด
ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                                     เฉลย

                         9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง

               ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้
                  สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย



ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                          ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน



10. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน”
    คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด
                  ก ผู้มีบุญคุณ
                  ข ผู้ไปข้างหน้า
                  ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน
                  ง ผู้เดินนาหน้า

ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ   กลับหน้าหลัก                    ออกจากบทเรียน
ทดสอบก่อนเรียน


                               เฉลย
 10. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน”
     คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด

                          ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน




ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                                       ออกจากบทเรียน
เข้าสู่แบบทดสอบ   กลับหน้าหลัก   ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน



   1. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย”
     คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด
                      ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส
                      ข ใจที่คดได้รวดเร็วที่สุด
                              ิ
                      ค ใจที่คดทาอะไรด้วยความยิ่งใหญ่
                              ิ
                      ง ใจที่คดได้รวดเร็วและมีความเชื่อมั่นสูง
                              ิ

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                 ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                     เฉลย

 1. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย”
    คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด

                             ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส




ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                             ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน




                  2. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด

                      ก เพื่อระบายความคิด
                      ข เพื่อสะท้อนสภาพการดาเนินชีวต
                                                   ิ
                      ค เพื่อประชดประชันสังคม
                      ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                        ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                     เฉลย

                  2. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด


                  ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม




ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                                  ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน




           3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด

                        ก กลอนดอกสร้อย
                        ข กลอนกลบท
                        ค กลอนสักวา
                        ง กลอนเพลงยาว

ข้อต่อไป     ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก              ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                       เฉลย

           3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด


                                ง      กลอนเพลงยาว




ข้อต่อไป     ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                          ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน




           4. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร

                       ก กลอนอิศรญาณ
                       ข เพลงยาวอิศรญาณ
                       ค อิศรญาณคาสอน
                       ง นิราศอิศรญาณ

ข้อต่อไป    ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                   ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                      เฉลย

           4. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร


                              ข เพลงยาวอิศรญาณ




ข้อต่อไป    ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                              ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน




              5. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด

                      ก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
                      ข พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
                      ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
                      ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                      เฉลย

              5. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด


                      ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว




ข้อต่อไป   ย้อนกลับ    กลับหน้าหลัก                       ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน



   6. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน”
       คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด
                      ก ผู้มีบุญคุณ
                      ข ผู้ไปข้างหน้า
                      ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน
                      ง ผู้เดินนาหน้า

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก              ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                     เฉลย
    6. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน”
        คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด

                             ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน




ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                               ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน
                      7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
      ก “อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทาน้อย” ข้อความนี้
         สอนให้เราอย่าดูถูกความดีหรือความชั่ว ว่าทาเพียงเล็กน้อย
                     ข “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา”
                           ข้อความนี้สอนให้เราสารวจและเตือนตนเอง
      ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้
         สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย
                          ง    “ตรองเสียก่อนจึงค่อยทากรรมทั้งมวล”
                                ข้อความนี้สอนให้เราคิดก่อนพูด
ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                     เฉลย

                         7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง

               ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้
                  สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย



ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                          ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


 8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
   มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย           แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา
           คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด
                           ้
                  ก รักดีหามจั่วรักชั่วหามเสา
                  ข ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์
                  ค ความรักทาให้คนตาบอด
                  ง รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ

ข้อต่อไป   ย้อนกลับ   เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                     ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                         เฉลย
  8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
    มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย           แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา”
            คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด
                            ้

                      ง      รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ



ข้อต่อไป   ย้อนกลับ       กลับหน้าหลัก                             ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน



            9. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน

           ก ใครทาตึงแล้วหย่อนผ่อนลงเอา นักเลงเก่าเขาไม่หาญราญนักเลง
           ข รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
           ค ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ
           ง เกิดเป็นคนเชิงดูให้รู้เท่า ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน

ข้อต่อไป      ย้อนกลับ    เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก                         ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                                      เฉลย

           9. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน


            ค     ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ




ข้อต่อไป    ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                            ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


10. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
    เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ             รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ”
               คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด
            ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ
            ข ต้องรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเราจึงจะคบกันยืด
            ค การเบียดเบียนผู้อื่นเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทา
            ง คนรักเรามีน้อยกว่าคนเกลียดชังเรา
 ย้อนกลับ    เฉลยคาตอบ   กลับหน้าหลัก                         ออกจากบทเรียน
ทดสอบหลังเรียน


                               เฉลย
10. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
    เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ             รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ”
               คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด


                 ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ



 ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                                    ออกจากบทเรียน
เปิดบรรณานุกรม   กลับหน้าหลัก   ออกจากบทเรียน
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.
         พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชุมนุมการเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553.
        . หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.
         พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2551.
จงชัย เจนหัตถการกิจ. เสริมปรีชาญาณ วิชาภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ :
         บริษัท ธนาเพรส , 2551.
บุญเรือน รัฐวิเศษ. สาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิวิธภาษาและวรรณคดีวิจักษ์ ม.3. กรุงเทพฯ :
         สานักพิมพ์เดอะบุคส์, 2552.
ผกาศรี เย็นบุตร, นิธิอร พรอาไพสกุล และ สุภัค มหาวรากร. ภาษาไทย 3 เล่ม 2.นนทบุรี :
         สานักพิมพ์เอมพันธ์, 2552.
หน้าต่อไป   ย้อนกลับ   กลับหน้าหลัก                              ออกจากบทเรียน
วัชรพงศ์ โกมุทธรรมวิบูลย์. แผนการจัดการเรียนรู้(รายชั่วโมง) กลุ่มสาระการ
           เรียนรู้ภาษาไทย (วรรณคดีวิจักษ์)ม.3. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพิมพ์, 2549.
   วิเชียร เกษประทุม. คู่มือสอบภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ พ.ศ.พัฒนา,
           มปป.
   โสภณ ปิ่นทอง. คู่มือภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ SCIENCE CENTER,
           มปป.




หน้าต่อไป   ย้อนกลับ    กลับหน้าหลัก                             ออกจากบทเรียน
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, อสท. ปีที่ 43 (ฉบับที่ 4 พฤศจิกายน 2545)
  ชาร์ลส์ ไฮแอม และรัชนี ทศรัตน์. สยามดึกดาบรรพ์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัย
            สุโขทัย. กรุงเทพฯ:บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิซ ซิ่ง จากัด
            (มหาชน), 2542.
  ศิลปากร,กรม. สุโขทัยเมืองพระร่วง. จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จ
            พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิด
            อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย วันที่ 20 พฤศจิกายน 2531.
  เอสโซ่แสตนดาร์ด ประเทศไทย จากัด, บริษัท. และมหาวิทยาลัยศิลปากร.
            ของดีร้อยสิ่งมิ่งเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง
            แอนด์พับลิซซิ่ง จากัด. 2537.
กลับหน้าหลัก    ย้อนกลับ                                                ออกจากบทเรียน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
บันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกบันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกKruBowbaro
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 

La actualidad más candente (20)

ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
บันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกบันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลก
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 

Similar a อิศรญาณตอ..

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑peerapit
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒Manas Panjai
 
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...Saowanee Urun
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องkhruphuthons
 
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕อร ครูสวย
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 

Similar a อิศรญาณตอ.. (20)

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
Me and demon
Me and demonMe and demon
Me and demon
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
 
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
 
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 

Más de phornphan1111

พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 

Más de phornphan1111 (8)

พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 

อิศรญาณตอ..

  • 2. เข้าสู่หน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 3. กลับหน้าปก ออกจากบทเรียน
  • 4. อิศรญาณภาษิตหรือเพลงยาวอิศรญาณ (บางแห่งเรียกว่า อิศริญาณ) เป็นวรรณกรรม คาสอนที่ไพเราะ คมคาย ให้คติสอนใจแก่ผู้อ่าน เนื้อหาเชิงสั่งสอนและแนะนาให้ผู้อ่านรู้จัก ชีวิต มีข้อคิดคาคมต่างๆแสดงให้เห็นความเป็นไปตามธรรมดาของโลกที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึง และคุ้นเคย สาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 2 สาระที่ 5 มี เนื้อหาหน่วยหนึ่งที่ศึกษาเรื่อง วรรณคดีและวรรณกรรม ดังนั้นผู้สอนจึงคิดจัดทาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาภาษาไทยเรื่อง อิศรญาณภาษิต ขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียน การสอนและเป็ นเครื่ อ งมือ พั ฒนาความรู้ ทั ก ษะการเรี ยนของผู้ เรี ย นและเป็ น พื้นฐานให้ ผู้สนใจได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องอิศรญาณภาษิต อีกทั้งเพื่อประโยชน์กับครูในการ นาไปใช้ประกอบการเรียนการสอนและทบทวนความรู้ของผู้เรียนวรรณกรรมคาสอนเรื่อง อิศรญาณภาษิตต่อไป กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 5. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาภาษาไทย ท 23101 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง อิศรญาณภาษิต ประกอบด้วย บทเรียน 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 เนื้อหา เรื่อง อิศรญาณภาษิต บทที่ 1 - 8 ตอนที่ 2 เนื้อหา เรื่อง อิศรญาณภาษิต บทที่ 9 - 17 ตอนที่ 3 เนื้อหา เรื่อง อิศรญาณภาษิต บทที่ 18 - 26 หน้าต่อไป กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 6. 1. อ่านผลการเรียนรู้ที่คาดหวังก่อนเรียน และตรวจสอบผลหลังจบ บทเรียนว่านักเรียนสามารถเรียนรู้ได้บรรลุผลหรือไม่ หากไม่เข้าใจ ในเรื่องใดควรเปิดบทเรียนใหม่อีกครั้ง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แล้วเริ่มอ่านเนื้อหาบทเรียนทีละหน้า อย่างช้า ๆ หากไม่เข้าใจควรอ่านซ้าอีกครั้งหนึ่ง 3. พยายามเรียนไปตามลาดับขั้นโดยไม่ข้ามขั้นตอน เพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนเอง 4. เมื่อจบเนื้อหาบทเรียน ทาแบบทดสอบหลังเรียนแล้วให้เปรียบเทียบ ข้อผิดข้อถูก หากยังมีข้อผิดในการทาแบบทดสอบหลังเรียน ให้นักเรียนลองเรียนใหม่ตั้งแต่ต้นจนจบอีกครั้งหนึ่ง หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 7. สาระสาคัญ วรรณกรรมคาสอน เรื่อง อิศรญาณภาษิต หรือเพลงยาวอิศรญาณ (บาง แห่งเรียกว่า อิศริญาณ) เป็นวรรณกรรมที่มีเป้าหมายเพื่อสั่งสอนอบรมผู้คนให้อยู่ ในกรอบ จารีตของสังคม ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างค่านิยมให้เกิดขึ้นใน ความคิดของผู้คน เพื่อให้ซึมซาบในจิตใจเป็นการจัดระเบียบความสัมพันธ์ ระหว่างผู้คนในสังคม วรรณกรรมคาสอนจึงเปรียบเสมือนกฎที่คอยควบคุมผู้คน ให้อยู่ในระเบียบและเสนอแนะวิถีปฏิบัติของคนในสังคม อิศรญาณภาษิตนับเป็น วรรณกรรมคาสอนที่มีลีลา แข็งกร้าว น้าเสียงประชดประชันเสียดสี แปลกไปจาก วรรณกรรมคาสอนเรื่องอื่นๆ เป็นภาษิตที่มีเนื้อหาเน้นถึงความสัมพันธ์ของ มนุ ษ ย์ ใ นสั ง คม สอนให้ รู้ จั ก วางตั ว ให้ เ หมาะสมและอยู่ ร อดในสั ง คมได้ อ ย่ า ง ปลอดภัย ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 8. 1. ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับประวัติผแต่ง ู้ 2. ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับกลอนเพลงยาว 3. ผู้เรียนอธิบายความหมายของคาศัพท์และสานวน ในเรื่องอิศรญาณภาษิตได้ 4. ผู้เรียนถอดความจากคาประพันธ์ในเรื่องอิศรญาณภาษิตได้ 5. ผู้เรียนนาคาสอนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 9. กลับหน้าเดิม ออกจากบทเรียน
  • 10. กลับหน้าเดิม ออกจากบทเรียน
  • 11. กลับหน้าเดิม ออกจากบทเรียน
  • 12. x กลับหน้าเดิม ออกจากบทเรียน
  • 13. กลับหน้าเดิม ออกจากบทเรียน
  • 14. x กลับหน้าเดิม ออกจากบทเรียน
  • 15. เข้าสู่บทเรียน กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 16. หม่อมเจ้าอิศรญาณ (ไม่ทราบพระนามเดิม) เป็นพระโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงมหิศวรินทรามเรศร์ พระองค์ทรงผนวชที่ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้พระนามฉายาว่า “อิสสรญาโณ” มีพระชนม์ชีพ อยู่ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีเรื่องเล่ากันว่า ครั้งหนึ่งพระองค์ทรงทาอะไรแปลกไป จนมีผู้ตาหนิให้รู้สึกน้อยพระทัย ด้ว ยความน้อยพระทัยของหม่อมเจ้ าอิศรญาณจึ งทรงนิพนธ์วรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิตขึ้นในเวลาต่อมาจึงแฝงด้วยน้าเสียงบ่นแกมเสียดสี ประชดประชัน หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 17. 1. เรื่องอิศรญาณภาษิตเป็นพระนิพนธ์ของใคร ก หม่อมเจ้าอิศรสุนทร ข หม่อมเจ้าอิศรญาณ ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 18. 1. เรื่องอิศรญาณภาษิตเป็นพระนิพนธ์ของใคร ข หม่อมเจ้าอิศรญาณ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 19. 2. หม่อมเจ้าอิศรญาณทรงนิพนธ์เรื่องอิศรญาณภาษิตขึนด้วยความรูสึกใด ้ ้ ก โกรธ ข โศกเศร้า ค ตื้นตันใจ ง น้อยพระทัย หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 20. 2. หม่อมเจ้าอิศรญาณทรงนิพนธ์เรื่องอิศรญาณภาษิตขึนด้วยความรูสึกใด ้ ้ ง น้อยพระทัย หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 21. กลอนเพลงยาว เป็นชื่อคาประพันธ์ประเภทกลอนชนิดหนึ่ง แต่งได้ โดยไม่จากัดความยาวและมีข้อบังคับทางฉันทลักษณ์เช่นเดียวกับกลอนสุภาพ กล่าวคือ บทหนึ่งมี 4 วรรคและมีจานวนคาในวรรคหนึ่งๆ ประมาณ 8 คาเป็นพื้น ลักษณะที่แตกต่างไปจากกลอนแปดทั่วไปคือ กลอนเพลงยาวต้องขึ้นต้นบทแรก ด้วยวรรครับอันเป็น วรรคที่สอง แทนที่จะขึ้นด้วยวรรคสดับอันเป็นวรรคแรก และต้องลงท้ายบทด้วยคาว่า “เอย” กลอนเพลงยาว มักจะหมายความถึงจดหมายรักที่ผู้ชายเขียนถึงผู้หญิง มีเนื้อหาในเชิงเกี้ยวพาราสี ฝากรัก และตัดพ้อเมื่อไม่สมหวัง เพลงยาวในความ เข้าใจของคนทั่วไปจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความรักเท่านั้น แต่ความเป็นจริงแล้ว เนื้อหาของกลอนเพลงยาวไม่ได้จากัดว่าจะต้องเป็นเรื่อง เกี่ยวกับความรักเพียง อย่างเดียว แต่จะแต่งเกี่ยวกับเรื่องใดๆ ก็ได้ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 22. วรรครับ 1 2 3 4 5 6 7 8 วรรครอง วรรคส่ง 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 8 หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 23. 1. เพื่อสั่งสอน 2. เพื่อเตือนใจให้คิดก่อนทีจะทาสิ่งใด ่ 3. สอนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นในสังคมให้อยูร่วมกันได้ ่ อย่างมีความสุข หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 24. 3. ข้อใดเป็นลักษณะของกลอนเพลงยาว ก ขึ้นต้นบทแรกด้วยวรรครับ ข จบวรรคส่งด้วยคาว่าเอย ค หนึ่งวรรคมี 10 พยางค์ ง ไม่จาเป็นต้องมีสัมผัสระหว่างบท หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 25. 3. ข้อใดเป็นลักษณะของกลอนเพลงยาว ก ขึ้นต้นบทแรกด้วยวรรครับ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 26. อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร เทศนาคาไทยให้เป็นทาน โดยตานานศุภอรรถสวัสดี ถอดความ หม่อมเจ้าอิศรญาณผู้ทรงเชี่ยวชาญในเชิงกลอน ทรงนิพนธ์คากลอนสุภาษิตโบราณ สั่งสอนเตือนใจไว้เพื่อเป็นทาน แก่ทุกคน คาศัพท์ ตานาน หมายถึง คาโบราณ ศุภอรรถ หมายถึง ถ้อยคาและความหมายที่ดี สวัสดี หมายถึง ความดี ความงาม หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 27. 4. ข้อใดเป็นจุดมุงหมายในการแต่งเรื่องอิศรญาณภาษิต ่ ก เพื่อประชดประชันเสียดสีบุคคลที่เคยว่าร้าย ข เพื่อบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองของประเทศไทยในอดีต ค เพื่อเป็นข้อคิดเตือนใจในการประพฤติปฏิบติตนในสังคม ั ง เพื่อใช้เป็นกฎหมายควบคุมความประพฤติของคนไทยในอดีต หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 28. 4. ข้อใดเป็นจุดมุงหมายในการแต่งเรื่องอิศรญาณภาษิต ่ ค เพื่อเป็นข้อคิดเตือนใจในการประพฤติปฏิบติตนในสังคม ั หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 29. สาหรับคนเจือจิตจริตเขลา ด้วยเมามัวโมห์มากในซากผี ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย ถอดความ สาหรับคนที่โง่เขลาเบาปัญญาที่ไปลุ่มหลงในความชั่วต้องฝึกใจให้รู้เท่าทัน กิเลส คือ เอาใจเป็นนายบังคับใจตัวเองให้อยู่เหนือกิเลส เพื่อจะได้เป็นพาหนะไปสู่ความสุข คาศัพท์ เจือ หมายถึง เอาส่วนที่มีน้อยไปประสมลงไปในส่วนมาก จริต หมายถึง กิริยาอาการ หรือแสดงความประพฤติ โมห์ หมายถึง ความลุ่มหลง ซากผี หมายถึง ร่างกายของคนที่ตายแล้ว อาชาไนย หมายถึง กาเนิดดี พันธุ์ หรือตระกูลดี ฝึกหัดมาดีแล้ว ม้ามโนมัย หมายถึง ในบทนี้หมายถึงใจที่รู้เท่าทันกิเลสจะได้เป็นพาหนะไปสู่ ความสาเร็จ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 30. 5. ข้อความ “สาหรับคนเจือจิตจริตเขลา ด้วยมัวเมาโมห์มากในซากผี” คาว่า “โมห์” มีความหมายตรงกับข้อใด ก ความโกรธ ข ความโลภ ค ความชั่ว ง ความลุมหลง ่ หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 31. 5. ข้อความ “สาหรับคนเจือจิตจริตเขลา ด้วยมัวเมาโมห์มากในซากผี” คาว่า “โมห์” มีความหมายตรงกับข้อใด ง ความลุมหลง ่ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 32. ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ ถอดความ ผู้ ช ายกั บผู้ ห ญิง นั้ นต่ า งกั น ดั งข้ า วเปลือ กกับ ข้ าวสาร(โบราณเขา เปรียบเทียบว่า ผู้ชายเปรียบเสมือนข้าวเปลือกตกที่ไหนก็เ จริญงอกงามที่นั่น ส่วน ผู้หญิงก็เปรียบเสมือนข้าวสาร ตกที่ไหนมันไม่สามารถเจริญงอกงามได้ ข้าวสารก็เน่า แต่เมื่ออยู่ในสังคมเดียวกันก็ย่อมต้องพึ่งพาอาศัยกันเป็นธรรมดา เราก็มีมิตรจิตเขาก็มีมิตรใจฉะนั้นเรารักกันดีกว่าเกลียดกัน คาศัพท์ อัชฌาสัย หมายถึง กิริยาดี นิสัยใจคอ ความรู้จักผ่อนปรน สุภาษิต สานวน ที่เกี่ยวข้อง ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสาร, น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่า รักกันดีกว่าชังกัน , มิตรจิตรมิตรใจ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 33. 6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ” คาประพันธ์ข้างต้นไม่ได้ให้ข้อคิดเรื่องใด ก ควรขยันและอดทน ข ควรรักกันไว้ ค ควรมีน้าใจไมตรีต่อกัน ง ควรช่วยเหลือเกื้อกูลพึ่งพาอาศัยกัน หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 34. 6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ” คาประพันธ์ข้างต้นไม่ได้ให้ข้อคิดเรื่องใด ก ควรขยันและอดทน หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 35. ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล เป็นชายชาญอย่าเพ่อคาดประมาทชาย ถอดความ ผู้ใดทาดีต่อเราเราก็ควรทาดีต่อเขาตอบ ผูใดที่ทาไม่ดต่อเราหรือทาไม่ ้ ี ถูกต้องก็ไม่ควรโกรธหรือตัดรอนจนแตกหัก ทาความดีสิบครั้งก็ไม่เท่าทาความชั่วครึ่งครั้ง คือ ความชั่วจะทาลายความดีลงจนหมดสิ้น เป็นชายนั้น ไม่ควรดูถูกชายด้วยกัน คาศัพท์ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ หมายถึง ผู้ที่ทาไม่ถูกต้องก็ไม่ควรโกรธหรือตัดรอนจนแตกหัก สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล หมายถึง ทาดีสบหนไม่เท่ากับทาชั่วเพียงครึ่งหนความดีก็จะหมดไป ิ สุภาษิต สานวนทีเ่ กี่ยวข้อง คนล้มอย่าข้าม หมายถึง คนที่ตกต่าไม่ควรลบหลู่ดูถูก เพราะอาจจะกลับมาเฟื่องฟูได้อีก หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 36. 7. ข้อความ “ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ” ข้อความข้างต้นใกล้เคียงกับสานวนในข้อใด ก คนล้มอย่าข้าม ข ตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ค ขุดรากถอนโคน ง เด็ดบัวไม่ไว้ใย หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 37. 7. ข้อความ “ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ” ข้อความข้างต้นใกล้เคียงกับสานวนในข้อใด ก คนล้มอย่าข้าม หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 38. รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา ถอดความ รักจะอยู่ด้วยกันสั้น ๆ ก็จงทาสิ่งไม่ดีต่อไป แต่ถ้าเราจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ จงทาความดี อย่าทาในสิ่งที่ผิด กฎหมายหรือทาชั่ว ทุกคนต้องตาย ด้วยกันทั้งนั้น จงทาความดีไว้เถิด เวลาที่ แหงนดูฟ้าจะได้ไม่อายเทวดา คาศัพท์ รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ หมายถึง รักที่จะมีมิตรไมตรีต่อกันต้องตัดสิ่งที่ไม่ดีออก อย่าไปพูดถึง แต่ถ้าจะคบกันในเวลาสั้น ๆ ให้พูดต่อปากต่อคา รักยาว คือต้องการให้เรื่องเป็นไป โดยราบรื่น ไม่ติดขัด ไม่สะดุดจะเป็นการดาเนินธุรกิจ การคบเพื่อน การปฏิบัติงานหรือเรื่องอะไรก็ ตาม ให้บั่น คือให้ตัดหรือทอนส่วนที่ขัดข้อง ความกินแหนงแคลงใจเรื่องเล็กน้อยนั้นเสียไม่ต้อง ถือเป็นอารมณ์ รักสั้น คือต้องการให้เรื่องสิ้นสุดแค่นั้น แตกหักหรือดาเนินต่อไม่ได้ ให้ต่อ คือให้ ต่อความยาวสาวความยืดต่อไป ให้นามาพิจารณาให้ถกเถียง ให้ถือเอา ให้ว่ากันต่อไป สุภาษิต สานวนที่เกี่ยวข้อง รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 39. 8. ข้อความ “มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา” ผู้ประพันธ์ต้องการจะบอกผู้อ่านให้ปฏิบติตามข้อใด ั ก จงอย่ากลัวตาย ข จงอย่าประมาท ค จงอย่าดูถูกตัวเอง ง จงทาความดีละเว้นความชั่ว หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 40. 8. ข้อความ “มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา” ผู้ประพันธ์ต้องการจะบอกผู้อ่านให้ปฏิบติตามข้อใด ั ง จงทาความดีละเว้นความชั่ว หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 41. อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทาน้อย น้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน ถอดความ อย่าดูถูกความดีหรือความชั่ว ว่าทาเพียงเล็กน้อยเพราะมันจะสะสมไป เรื่อย ๆ และมากขึ้นทุกที เวลาก่อนจะนอนให้ส่องกระจกดูหน้าตนเองว่ามีสิ่งผิดปกติ หรือไม่ เหมือนเป็นการให้สารวจจิตใจตนเองอยู่เป็นนิจว่าคิดใฝ่ดีอยู่หรือเปล่าเพื่อจะได้ เตือนตนไว้ได้ทัน (เป็นการเตือนให้เรารู้จักคิด พิจารณา สารวจตัวเองทุกๆวัน) คาศัพท์ อย่านอนเปล่า หมายถึง อย่าเข้านอนเฉย ๆ ในที่นหมายถึงให้คิดถึง ี้ การกระทาของตน น้าตาลย้อยหยดเท่าไรได้หนักหนา หมายถึง การสะสมความดีทีละน้อย สุภาษิต สานวนที่เกี่ยวข้อง จงเตือนตนด้วยตนเอง หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 42. 9. ข้อความ “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน” ผู้ประพันธ์ต้องการบอกสิ่งใดแก่ผู้อ่าน ก ให้เตือนตนเอง ข ให้สารวจตนเอง ค ให้แต่งตัวก่อนนอน ง ให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 43. 9. ข้อความ “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน” ผู้ประพันธ์ต้องการบอกสิ่งใดแก่ผู้อ่าน ข ให้สารวจตนเอง หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 44. เห็นตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน ตรองเสียก่อนจึงค่อยทากรรมทั้งมวล ถอดความ เห็นสิ่งใดกีดขวางทางอยู่ จงพิจารณาให้รอบคอบก่อนที่จะเก็บ เพราะอาจเป็นอันตรายได้และเมื่อไปเห็นการกระทาของใครอย่าเที่ยวทาปากบอน ไปบอกแก่คนอื่นอาจนาผลร้ายมาสู่ตนเองได้ คาศัพท์ ปากบอน หมายถึง นาความลับหรือเรื่องที่ไม่ควรพูดไปบอกผู้อื่น ทึ้ง หมายถึง ดึง ถอน สุภาษิต สานวน ที่เกี่ยวข้อง คิดก่อนพูด แต่อย่าพูดก่อนคิด หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 45. 10. ข้อความ “เห็นตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน” ผู้ประพันธ์มีความประสงค์จะสอนในเรื่องใด ก ให้เป็นคนขยัน ข ให้เป็นคนรอบคอบ ค ให้เป็นคนซี่อสัตย์ ง ให้เป็นคนอดทน หน้าต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 46. 10. ข้อความ “เห็นตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน” ผู้ประพันธ์มีความประสงค์จะสอนในเรื่องใด ข ให้เป็นคนรอบคอบ หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 47. ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคานวณ รู้ถี่ถ้วนจึงสบายเมื่อปลายมือ ถอดความ ให้ประพฤติปฏิบัติตนตามผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้ที่เกิดก่อน ย่อมมีความรู้และประสบการณ์ มากกว่า และอย่าเป็นคนอกตัญญู จงมีความขยันหมั่นเพียรทางานอยู่เสมอแล้วจะมีความ สุข สบายในภายหลัง คาศัพท์ ผู้ไปหน้า หมายถึง คนที่เกิดก่อนย่อมมีความรู้และประสบการณ์มากกว่า หุนหวน หมายถึง หวน เวียนกลับ คิดคานวณ หมายถึง คิดไตร่ตรอง หลังตากแดด หมายถึง ก้มหน้าก้มตาทางานหนักอย่างชาวนา ทาให้หลังถูกแดด เมื่อปลายมือ หมายถึง ในภายหลัง สุภาษิต สานวนที่เกี่ยวข้อง เดินตามผู้ใหญ่หมาไม่กัด หมายถึง ประพฤติตามอย่างผู้ใหญ่ย่อม ปลอดภัย หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน หมายถึง ต้องตรากตราทางานหนักมักหมายถึงชาวไร่ชาวนาซึ่งใน เวลาทาไร่ทานาหลังต้องสู้กับแดด และหน้าต้องก้มลงดิน หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 48. 11. ข้อความ “เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคานวณ” สานวน “หลังตากแดด”มีความหมายตรงกับข้อใด ก ทนแดดได้นานไม่ร้อน ข ทนร้อนทนหนาวอยู่ได้ตลอดเวลา ค ขยันทางานหนักตลอดเวลา ง งานหนักไม่เอางานเบาไม่สู้ ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 49. 11. ข้อความ “เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคานวณ” สานวน “หลังตากแดด”มีความหมายตรงกับข้อใด ค ขยันทางานหนักตลอดเวลา ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 50. เข้าสู่แบบทดสอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 51. ทดสอบก่อนเรียน 1. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด ก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ข พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 52. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 1. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 53. ทดสอบก่อนเรียน 2. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร ก กลอนอิศรญาณ ข เพลงยาวอิศรญาณ ค อิศรญาณคาสอน ง นิราศอิศรญาณ ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 54. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 2. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร ข เพลงยาวอิศรญาณ ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 55. ทดสอบก่อนเรียน 3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด ก กลอนดอกสร้อย ข กลอนกลบท ค กลอนสักวา ง กลอนเพลงยาว ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 56. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด ง กลอนเพลงยาว ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 57. ทดสอบก่อนเรียน 4. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด ก เพื่อระบายความคิด ข เพื่อสะท้อนสภาพการดาเนินชีวต ิ ค เพื่อประชดประชันสังคม ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 58. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 4. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 59. ทดสอบก่อนเรียน 5. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย” คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส ข ใจที่คดได้รวดเร็วที่สุด ิ ค ใจที่คดทาอะไรด้วยความยิ่งใหญ่ ิ ง ใจที่คดได้รวดเร็วและมีความเชื่อมั่นสูง ิ ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 60. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 5. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย” คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 61. ทดสอบก่อนเรียน 6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ” คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ ข ต้องรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเราจึงจะคบกันยืด ค การเบียดเบียนผู้อื่นเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทา ง คนรักเรามีน้อยกว่าคนเกลียดชังเรา ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 62. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 6. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ” คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 63. ทดสอบก่อนเรียน 7. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน ก ใครทาตึงแล้วหย่อนผ่อนลงเอา นักเลงเก่าเขาไม่หาญราญนักเลง ข รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย ค ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ ง เกิดเป็นคนเชิงดูให้รู้เท่า ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 64. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 7. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน ค ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 65. ทดสอบก่อนเรียน 8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด ้ ก รักดีหามจั่วรักชั่วหามเสา ข ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์ ค ความรักทาให้คนตาบอด ง รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 66. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา” คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด ้ ง รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 67. ทดสอบก่อนเรียน 9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก “อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทาน้อย” ข้อความนี้ สอนให้เราอย่าดูถูกความดีหรือความชั่ว ว่าทาเพียงเล็กน้อย ข “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา” ข้อความนี้สอนให้เราสารวจและเตือนตนเอง ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้ สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย ง “ตรองเสียก่อนจึงค่อยทากรรมทั้งมวล” ข้อความนี้สอนให้เราคิดก่อนพูด ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 68. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้ สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 69. ทดสอบก่อนเรียน 10. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน” คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด ก ผู้มีบุญคุณ ข ผู้ไปข้างหน้า ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน ง ผู้เดินนาหน้า ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 70. ทดสอบก่อนเรียน เฉลย 10. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน” คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 71. เข้าสู่แบบทดสอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 72. ทดสอบหลังเรียน 1. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย” คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส ข ใจที่คดได้รวดเร็วที่สุด ิ ค ใจที่คดทาอะไรด้วยความยิ่งใหญ่ ิ ง ใจที่คดได้รวดเร็วและมีความเชื่อมั่นสูง ิ ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 73. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 1. ข้อความ “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย” คาว่า ม้าอาชาไนย มีความหมายตรงกับข้อใด ก ใจที่รู้เท่าทันกิเลส ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 74. ทดสอบหลังเรียน 2. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด ก เพื่อระบายความคิด ข เพื่อสะท้อนสภาพการดาเนินชีวต ิ ค เพื่อประชดประชันสังคม ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 75. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 2. เจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ คือ ข้อใด ง เพื่อเสนอแนวทางในการปฏิบัติตนในสังคม ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 76. ทดสอบหลังเรียน 3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด ก กลอนดอกสร้อย ข กลอนกลบท ค กลอนสักวา ง กลอนเพลงยาว ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 77. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 3. เรื่อง อิศรญาณภาษิต แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทใด ง กลอนเพลงยาว ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 78. ทดสอบหลังเรียน 4. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร ก กลอนอิศรญาณ ข เพลงยาวอิศรญาณ ค อิศรญาณคาสอน ง นิราศอิศรญาณ ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 79. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 4. เรื่อง อิศรญาณภาษิต เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร ข เพลงยาวอิศรญาณ ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 80. ทดสอบหลังเรียน 5. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด ก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ข พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 81. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 5. หม่อมเจ้าอิศรญาณ เป็นกวีสาคัญในรัชสมัยใด ค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 82. ทดสอบหลังเรียน 6. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน” คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด ก ผู้มีบุญคุณ ข ผู้ไปข้างหน้า ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน ง ผู้เดินนาหน้า ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 83. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 6. “ค่อยดาเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน” คาว่า “ผู้ไปหน้า” หมายถึงบุคคลประเภทใด ค ผู้ใหญ่หรือผู้เกิดก่อน ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 84. ทดสอบหลังเรียน 7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก “อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทาน้อย” ข้อความนี้ สอนให้เราอย่าดูถูกความดีหรือความชั่ว ว่าทาเพียงเล็กน้อย ข “อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา” ข้อความนี้สอนให้เราสารวจและเตือนตนเอง ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้ สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย ง “ตรองเสียก่อนจึงค่อยทากรรมทั้งมวล” ข้อความนี้สอนให้เราคิดก่อนพูด ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 85. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ค “เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน” ข้อความนี้ สอนให้นาความลับของคนอื่นไปเปิดเผย ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 86. ทดสอบหลังเรียน 8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด ้ ก รักดีหามจั่วรักชั่วหามเสา ข ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์ ค ความรักทาให้คนตาบอด ง รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 87. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 8. “รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา” คาประพันธ์ขางต้นสอดคล้องกับสานวนใดมากที่สุด ้ ง รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 88. ทดสอบหลังเรียน 9. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน ก ใครทาตึงแล้วหย่อนผ่อนลงเอา นักเลงเก่าเขาไม่หาญราญนักเลง ข รักสั้นนั้นอย่าให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย ค ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ ง เกิดเป็นคนเชิงดูให้รู้เท่า ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน ข้อต่อไป ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 89. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 9. คาประพันธ์ในข้อใดสอนให้มีน้าใจต่อกันรู้จักให้อภัยกัน ค ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ ข้อต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 90. ทดสอบหลังเรียน 10. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ” คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ ข ต้องรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเราจึงจะคบกันยืด ค การเบียดเบียนผู้อื่นเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทา ง คนรักเรามีน้อยกว่าคนเกลียดชังเรา ย้อนกลับ เฉลยคาตอบ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 91. ทดสอบหลังเรียน เฉลย 10. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ” คาประพันธ์ข้างต้นสอนเกี่ยวกับเรื่องใด ก ความสามัคคีนามาซึ่งความสงบสุขของหมู่คณะ ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 92. เปิดบรรณานุกรม กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 93. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชุมนุมการเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553. . หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2551. จงชัย เจนหัตถการกิจ. เสริมปรีชาญาณ วิชาภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ : บริษัท ธนาเพรส , 2551. บุญเรือน รัฐวิเศษ. สาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิวิธภาษาและวรรณคดีวิจักษ์ ม.3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์เดอะบุคส์, 2552. ผกาศรี เย็นบุตร, นิธิอร พรอาไพสกุล และ สุภัค มหาวรากร. ภาษาไทย 3 เล่ม 2.นนทบุรี : สานักพิมพ์เอมพันธ์, 2552. หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 94. วัชรพงศ์ โกมุทธรรมวิบูลย์. แผนการจัดการเรียนรู้(รายชั่วโมง) กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย (วรรณคดีวิจักษ์)ม.3. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพิมพ์, 2549. วิเชียร เกษประทุม. คู่มือสอบภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ พ.ศ.พัฒนา, มปป. โสภณ ปิ่นทอง. คู่มือภาษาไทย ม.3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ SCIENCE CENTER, มปป. หน้าต่อไป ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกจากบทเรียน
  • 95. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, อสท. ปีที่ 43 (ฉบับที่ 4 พฤศจิกายน 2545) ชาร์ลส์ ไฮแอม และรัชนี ทศรัตน์. สยามดึกดาบรรพ์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัย สุโขทัย. กรุงเทพฯ:บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิซ ซิ่ง จากัด (มหาชน), 2542. ศิลปากร,กรม. สุโขทัยเมืองพระร่วง. จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิด อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย วันที่ 20 พฤศจิกายน 2531. เอสโซ่แสตนดาร์ด ประเทศไทย จากัด, บริษัท. และมหาวิทยาลัยศิลปากร. ของดีร้อยสิ่งมิ่งเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิซซิ่ง จากัด. 2537. กลับหน้าหลัก ย้อนกลับ ออกจากบทเรียน