SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของ
ผู้เรียน ซึ่งการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่องโยงระหว่างสิ่งเร้า
กับการตอบสนอง โดยให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า
“ความรู้ความเข้าใจ หรือการรู้คิดของมนุษย์” โดยเชื่อว่าการเรียนรู้จะ
อธิบายได้ดีที่สุด หากเราสามารถเข้าใจกระบวนการภายใน ซึ่งเป็น
ตัวกลางระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ได้กาหนดงานเพื่อให้
นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ในเรื่องที่สนใจ
โดยประดิษฐ์ เป็นผลงานขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน นาเสนอ
หัวข้อที่จะทา กาหนดสมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบการ
ดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการ
ดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นาเสนอผลงานและข้อค้นพบใน
ท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียนด้วย และจะต้อง
มีการรายงานความคืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ
ม.3 ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทาโครงงานดังกล่าว
 การจัดการเรียนรู้ของครูสุขสวรรค์ สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้โดย
การค้นพบของบรูเนอร์ นั้นคือการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การค้นพบการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะประมวลข้อมูลข่าวสาร จาก
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และจะรับรู้สิ่งที่ตนเองเลือก หรือสิ่งที่ใส่ใจ การเรียนรู้
แบบนี้จะช่วยให้เกิดการค้นพบ เนื่องจากผู้เรียนมีความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งจะเป็น
แรงผลักดันที่ทาให้สารวจสิ่งแวดล้อม และทาให้เกิดการเรียนรู้โดยการค้นพบ ดังจะเห็น
ได้จากการที่ครูสุขสวรรค์ ให้นักเรียนกาหนดสมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ
ออกแบบการดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการ
ดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นาเสนอผลงานและข้อค้นพบในท้ายเทอม
และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียน
 การจัดการเรียนรู้ของครูอภิชัย สอดคล้องกับทฤษฎีเชา
ปัญญาแบบเพียเจต์ เน้นการจัดรวบรวมข้อมูลภายในผู้เรียนให้เป็นระเบียบ
มีแบบแผน ขั้นตอน รวมไปถึงมีการปรับตัว การปรับตัวนี้อาจจะเกิดจาก
การที่เด็กมีการซึมซับดูดซึมจากสิ่งแวดล้อม รอบตัว เกิดการเรียนรู้จดจา
แล้วจึงเกิดประสบการณ์นาไปสู่การสร้างปัญญา ดังจะเห็นได้จากการสอน
ของครูอภิชัย ที่ไม่ให้เด็กม.1 ทาโครงงาน เพราะเห็นว่า เด็กในวัยนี้ยังไม่
เหมาะที่จะทาการเรียนรู้แบบโครงสร้าง ควรมีการเรียนการสอน แบบตาม
ขั้นตอนตามวัยของผู้เรียน
  ความแตกต่างระหว่างการจัดการเรียนรู้ของครูสุขสวรรค์
และครูอภิชัยคือ ครูสุขสวรรค์เชื่อว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียน
ได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การค้นพบการแก้ปัญหา ผู้เรียน
จะประมวลข้อมูลข่าวสาร จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และจะรับรู้
สิ่งที่ตนเองเลือก หรือสิ่งที่ใส่ใจ การเรียนรู้แบบนี้จะช่วยให้เกิดการค้นพบ
ส่วนครูอภิชัยเชื่อการจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับระดับของการ
รับรู้และเข้าใจของนักเรียนทาให้นักเรียนในระดับนี้ไม่สามารถทาได้
1
ข้อดีของครูสุขสวรรค์
นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับเพื่อนในกลุ่ม
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระเพื่อช่วยส่งเสริม ความคิด
2
3
1
ข้อดีของครูอภิชัย
จัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการเหมาะสมกับวัย
2
นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับเพื่อนในกลุ่มเมื่อนักเรียน
ทางานกันเป็นกลุ่ม
ข้อเสียของครูอภิชัย
นักเรียนแต่ละคนมีทักษะในกระบวนการเรียนรู้ไม่เท่ากัน ซึ่งอาจทา
ให้สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือความรู้ที่ได้ไม่ เท่ากัน
ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียม
อนุบาล ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอน
ปลาย โดยคุณต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละ
วัย เช่น เด็กวัยเตรียมอนุบาล เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็ก
วัยอนุบาลจะสามารถเรียนรู้ได้จากสัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น
เพื่อเป็นนโยบายในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนต่อไป
 หลักการของทฤษฎีที่เหมาะสมกับการจัดหลักสูตรของ
โรงเรียนในสถานการณ์ คือทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ ซึ่งมี
ลาดับขั้นตอน 4 ขั้น ซึ่งทั้ง 4 ขั้นอยู่ในช่วงระยะเวลา ตั้งแต่ ทารก – 12 ปี ขึ้น
ไป ก็จะ สอดคล้องกับการเรียนการสอนในระดับ เตรียมอนุบาล – มัธยมศึกษา
ตอนปลาย เพราะว่าวัยนี้เป็นวัยที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดย
ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
1. Sensorimotor (แรกเกิด -2 ขวบ) ใช้ประสาทสัมผัสและการ
เคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของร่างกาย เช่น การจับต้องสิ่งต้องๆ และ
การคลาน การเดินของเด็ก
2. Preoperational (อายุ18 เดือน -7 ปี) เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัย
อนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญามีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่ม
ด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คาต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด เช่น
เรียกพ่อเรียกแม่
ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย
3. Concrete Operations (อายุ 7 - 11 ปี) สามารถสร้างกฎเกณฑ์
และตั้งกฎเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ คือ เด็กจะ
สามารถที่จะอ้างอิงด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น
4. Formal Operations (อายุ 12 ปีขึ้นไป) เด็กวัยนี้เป็นผู้ที่คิดเหนือไป
กว่าสิ่งปัจจุบัน สนใจที่จะสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่าง และมีความ
พอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับกับสิ่งที่ไม่มีตัวตน หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม
เช่น เป็นคนที่มีเหตุมีผล มากขึ้น รู้จักแก้ปัญหาเป็น
 การจัดการเรียนรู้ในระดับตั้งแต่เตรียมอนุบาล – ม.ปลาย
จะต้องจัดแบ่งตามระดับพัฒนาการของนักเรียนให้ชัดเจน เพราะนักเรียนแต่
ละช่วงวัยจะมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน เพื่อสะดวกต่อการจัดการเรียนการ
สอนครูผู้สอนควรเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและมีพื้นฐานทางทางด้านทฤษฎี
พัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ ด้วย จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และควรสร้างโอกาสให้ครูได้ปฏิสัมพันธ์กับเด็กอย่างเต็มที่
สนับสนุนสื่อการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ครูผู้สอนได้ใช้ศักยภาพของตนอย่าง
เต็มที่และทั้งนี้และทั้งนั้นก็ต้องให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วย
ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศติดตามการสอนของครู
หมวดวิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า
จะสอนโดยวิธีการบรรยาย เขียนกระดานดา และให้นักเรียนดู
หนังสือตาม โดยจะ พูดแต่เนื้อหาไม่บอกสาระสาคัญ ไม่มีการแจ้ง
จุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน ทาให้ยากต่อการทาความเข้าใจ ชั่วโมง
ต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น และลองถามให้นักเรียน
อธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะอธิบายได้ ขาด
กรอบในการนาเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ใน
เนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน
 สาเหตุที่ทาให้นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์
ของเนื้อหาได้ เพราะครูผู้สอนไม่อธิบายสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ให้ทราบ
และทาความเข้าใจก่อนจัดการเรียนรู้(ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่อง
ก่อน )ทาให้นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากหนังสือเรียนเข้ากับ
ความรู้เดิมได้ ทั้งจากความรู้เดิมก่อนเรียนเนื้อหานี้ และ ในคาบถัดไปที่มี
เนื้อหาซับซ้อนกว่าเดิมผู้เรียนก็ยังไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมจากคาบที่
แล้วได้จึงทาให้ผู้เรียนไม่สามรถอธิบายความรู้ดังกล่าวได้
 การแก้ปัญหาจากสถานการณ์ปัญหานี้ อาศัยหลักการและ
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล โดยอาศัยหลักการที่เชื่อว่า
การเรียนรู้อย่างมีความหมายของผู้เรียนเกิดจากผู้สอนอธิบายสิ่งที่จะต้อง
เรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบ และ เข้าใจเห็นความสัมพันธ์ของความรู้เดิมที่ตนมีใน
ความทรงจาและนามาใช้ในอนาคต เช่น การแจ้งวัตถุประสงค์หรือกรอบ
เนื้อหาที่นักเรียนจะเรียนให้ทราบ ความรู้หรือสาระที่นักเรียนต้องเรียนรู้ในแต่
ละคาบเมื่อถึงคาบถัดไปก็มีการเชื่อโยงความรู้ที่ได้มาจากคาบที่แล้วมาอธิบาย
เชื่อมโยงกับความรู้ที่จะเรียนใหม่ในแต่ละคาบ จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างมีความหมาย
ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กาลังประสบปัญหา
เกี่ยวกับการสอน คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียนจะมีความ
เข้าใจและจาได้ เมื่อถามคาถาม หรือให้ออกไปแสดงวิธีทาหน้าชั้นเรียนก็
สามารถทาได้ถูกต้องแต่เมื่อเวลาผ่านไปเช่นในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถามหรือ
ให้แสดงวิธีทาปรากฏว่าจะตอบไม่ถูก หรือแสดงวิธีทาได้เพียงบางส่วน ยิ่งถ้า
เป็นเรื่องเกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจาไม่ได้ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยี
ทางการศึกษา ลองพิจารณาหาทางช่วยครูทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว
 จากสถานการณ์ปัญหาของครูทักษิณ ควรนาทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
ในกลุ่มพุทธิปัญญา ที่มีแนวคิดว่าการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความรู้ของผู้เรียน
ทั้งในด้านปริมาณและวิธีประมวลสารสนเทศ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดหมวดหมู่ จัดระเบียบ
รวบรวมและสามารถเรียกความรู้มาใช้ในเวลาที่ต้องการได้ เพราะ จากสถานการณ์ เด็กเกิด
ความจาระยะสั้น สามารถเรียนแล้วตอบคาถามได้เพียงในขณะที่สอน เพราะเกิดการใส่ใจ
จากการบันทึกผัสสะ จากที่ครูสอนในขณะหนึ่งเท่านั้น แต่ยังไม่เกิดเป็น ความจาระยะยาว
เพราะฉะนั้นนอกจากครูควรมีการสร้างสิ่งเร้าที่นักเรียนเกิดการใส่ใจเป็นความจาระยะสั้น
แล้ว ควรมีการฝึกหัดทาซ้า ทบทวนความรู้ เช่น ตารางธาตุอาจพาท่องบ่อยๆก่อนขึ้น
บทเรียน ฝึกการแก้ปัญหาซ้าๆ มีการจัดหมวดหมู่ความรู้ให้เด็กเพื่อให้เด็กเกิดการเชื่อมโยง
ในความรู้และสะสมความรู้นามาเรียกใช้ในการแก้ปัญหาได้ทุกขณะ
 ในการจัดการเรียนการสอนสามารถนาหลักการทฤษฎีประมวล
สารสนเทศในกลุ่มพุทธิปัญญามาประยุกต์ใช้ได้ โดยนามาออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ กาหนดสิ่งเร้าที่น่าสนใจให้เด็กเกิดการบันทึกผัสสะ และ การใส่ใจความรู้
เพื่อเกิดความจาระยะสั้น ฝึกทบทวน ทาซ้าๆ ฝึกจัดหมวดหมู่ความรู้ ฝึกการ
ขยายความรู้ที่เรียนมาเพื่อเชื่อมโยงความรู้ให้มากที่สุด เกี่ยวกับความรู้ที่ได้เรียน
บ่อยๆ จนเกิดการสะสมความรู้และเกิดความจาระยะยาวและสามารถเรียกใช้
ความรู้นั้นๆได้ทุกขณะ ตัวอย่างเช่น ให้นักเรียนร้องเพลงตารางธาตุ เขียน
แผนผังสรุปความรู้ ท่องศัพท์คล้องจอง ทาโจทย์แก้ปัญหาหลายๆข้อ บ่อยๆ
เป็นต้น
ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปา
รวีมีเหตุการณ์เป็นดังนี้ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธี
หาค่าเฉลี่ยแล้วให้นักเรียนกลับไปทาเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้า
หากมีเวลาว่างเขาจะหยิบสมุดการบ้านขึ้นมาทา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่า
เขาจะแก้โจทย์ข้อนี้ได้อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจจากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทน
ค่าในสมการแล้วสุวัฒน์ก็ยังไม่ได้คาตอบ สุวัฒน์จึงทบทวนอ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขา
ถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้ซับซ้อนกว่าที่เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติมและหาวิธีการแก้
โจทย์จากหนังสือคู่มือหลายๆ เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจมาก
ที่สุด มาใช้แก้โจทย์ข้อนี้ จนได้คาตอบ แล้วทาการตรวจทานคาตอบอีกครั้ง เพื่อความ
แน่ใจ
 สถานการณ์ปัญหาของเด็กชายสุวัฒน์สอดคล้องกับทฤษฎีประมวล
สารสนเทศ ในกลุ่มพุทธิปัญญาที่มีแนวคิดว่าการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
ความรู้ของผู้เรียนทั้งในด้านปริมาณและวิธีประมวลสารสนเทศ ผู้เรียนสามารถจัด
หมวดหมู่ จัดระเบียบรวบรวมเพื่อเรียกความรู้มาใช้ในเวลาที่ต้องการ ตัวอย่างจาก
สถานการณ์ เช่น เมื่อสุวัฒน์เรียนแล้วกลับมาทาโจทย์การบ้านเพียงอ่านโจทย์ก็รู้วิธีแก้
โจทย์ทันที เพราะเข้าใจที่ครูสอนในคาบ มีการบันทึกผัสสะ และเมื่ออ่านโจทย์ก็เกิด การ
รู้จัก เชื่อมโยงเพื่อแก้ปัญหา เมื่อแก้ปัญหาไม่ได้สุวัฒน์ก็มีการทบทวนความรู้ และ ไป
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแก้ปัญหาโดยเชื่อมโยงกับโจทย์ที่ตัวเองกาลังทา จากหนังสือ
หลายๆเล่ม(ทบทวน ทาซ้า ขยายความคิด) ทาให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวจนได้
คาตอบในที่สุด และไม่ลืมตรวจทานอีกทีเพื่อความแน่ใจ
 สามารถนาหลักการทฤษฎีประมวลสารสนเทศ ไปออกแบบ
การจัดการเรียนรู้ในสภาพจริงได้ดังนี้
 ใช้หลักการประมวลสารสนเทศของมนุษย์มาออกแบบสื่อหรือกิจกรรมใน
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการบันทึกผัสสะเป็นเบื้องต้น และเป็น
สิ่งเร้าที่ผู้เรียนสนใจและเกิดการใส่ใจเพื่อเก็บเป็นความจาระยะสั้น ระยะ
ยาวไว้ใช้ต่อไป
 นากระบวนการรู้จักมาใช้ในการจัดกิจกรรมให้เข้ากับระดับชั้นของเด็ก
เพื่อให้เข้ากับข้อมูลที่สะสมไว้ในความจาระยะยาวของเด็กและ
ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้
 ฝึกการทบทวน ทาซ้า จัดหมวดหมู่ ขยายความคิด เพื่อให้เกิดความจา
ระยะยาวสาหรับเรียกใช้ในเวลาที่สมควร
 ในการนาหลักการดังกล่าวมาใช้จะส่งผลทาให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้
ความจา เรียกใช้เพื่อแก้ปัญหาได้เป็นอย่างดีเพราะมีการเชื่อมโยงจัด
หมวดหมู่ความรู้ไว้พร้อมใช้แล้ว
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลimmyberry
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพYaowaluck Promdee
 

La actualidad más candente (20)

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 

Destacado

การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 

Destacado (7)

การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 

Similar a สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 

Similar a สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม (20)

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 

สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม

  • 1.
  • 2. ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของ ผู้เรียน ซึ่งการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่องโยงระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนอง โดยให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า “ความรู้ความเข้าใจ หรือการรู้คิดของมนุษย์” โดยเชื่อว่าการเรียนรู้จะ อธิบายได้ดีที่สุด หากเราสามารถเข้าใจกระบวนการภายใน ซึ่งเป็น ตัวกลางระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
  • 3. ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ได้กาหนดงานเพื่อให้ นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ในเรื่องที่สนใจ โดยประดิษฐ์ เป็นผลงานขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน นาเสนอ หัวข้อที่จะทา กาหนดสมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบการ ดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการ ดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นาเสนอผลงานและข้อค้นพบใน ท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียนด้วย และจะต้อง มีการรายงานความคืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครูอภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทาโครงงานดังกล่าว
  • 4.  การจัดการเรียนรู้ของครูสุขสวรรค์ สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้โดย การค้นพบของบรูเนอร์ นั้นคือการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การค้นพบการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะประมวลข้อมูลข่าวสาร จาก การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และจะรับรู้สิ่งที่ตนเองเลือก หรือสิ่งที่ใส่ใจ การเรียนรู้ แบบนี้จะช่วยให้เกิดการค้นพบ เนื่องจากผู้เรียนมีความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งจะเป็น แรงผลักดันที่ทาให้สารวจสิ่งแวดล้อม และทาให้เกิดการเรียนรู้โดยการค้นพบ ดังจะเห็น ได้จากการที่ครูสุขสวรรค์ ให้นักเรียนกาหนดสมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ ออกแบบการดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการ ดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นาเสนอผลงานและข้อค้นพบในท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียน
  • 5.  การจัดการเรียนรู้ของครูอภิชัย สอดคล้องกับทฤษฎีเชา ปัญญาแบบเพียเจต์ เน้นการจัดรวบรวมข้อมูลภายในผู้เรียนให้เป็นระเบียบ มีแบบแผน ขั้นตอน รวมไปถึงมีการปรับตัว การปรับตัวนี้อาจจะเกิดจาก การที่เด็กมีการซึมซับดูดซึมจากสิ่งแวดล้อม รอบตัว เกิดการเรียนรู้จดจา แล้วจึงเกิดประสบการณ์นาไปสู่การสร้างปัญญา ดังจะเห็นได้จากการสอน ของครูอภิชัย ที่ไม่ให้เด็กม.1 ทาโครงงาน เพราะเห็นว่า เด็กในวัยนี้ยังไม่ เหมาะที่จะทาการเรียนรู้แบบโครงสร้าง ควรมีการเรียนการสอน แบบตาม ขั้นตอนตามวัยของผู้เรียน
  • 6.   ความแตกต่างระหว่างการจัดการเรียนรู้ของครูสุขสวรรค์ และครูอภิชัยคือ ครูสุขสวรรค์เชื่อว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียน ได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การค้นพบการแก้ปัญหา ผู้เรียน จะประมวลข้อมูลข่าวสาร จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และจะรับรู้ สิ่งที่ตนเองเลือก หรือสิ่งที่ใส่ใจ การเรียนรู้แบบนี้จะช่วยให้เกิดการค้นพบ ส่วนครูอภิชัยเชื่อการจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับระดับของการ รับรู้และเข้าใจของนักเรียนทาให้นักเรียนในระดับนี้ไม่สามารถทาได้
  • 8. 1 ข้อดีของครูอภิชัย จัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการเหมาะสมกับวัย 2 นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับเพื่อนในกลุ่มเมื่อนักเรียน ทางานกันเป็นกลุ่ม ข้อเสียของครูอภิชัย นักเรียนแต่ละคนมีทักษะในกระบวนการเรียนรู้ไม่เท่ากัน ซึ่งอาจทา ให้สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือความรู้ที่ได้ไม่ เท่ากัน
  • 9. ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียม อนุบาล ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอน ปลาย โดยคุณต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละ วัย เช่น เด็กวัยเตรียมอนุบาล เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็ก วัยอนุบาลจะสามารถเรียนรู้ได้จากสัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น เพื่อเป็นนโยบายในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนต่อไป
  • 10.  หลักการของทฤษฎีที่เหมาะสมกับการจัดหลักสูตรของ โรงเรียนในสถานการณ์ คือทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ ซึ่งมี ลาดับขั้นตอน 4 ขั้น ซึ่งทั้ง 4 ขั้นอยู่ในช่วงระยะเวลา ตั้งแต่ ทารก – 12 ปี ขึ้น ไป ก็จะ สอดคล้องกับการเรียนการสอนในระดับ เตรียมอนุบาล – มัธยมศึกษา ตอนปลาย เพราะว่าวัยนี้เป็นวัยที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดย ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
  • 11. 1. Sensorimotor (แรกเกิด -2 ขวบ) ใช้ประสาทสัมผัสและการ เคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของร่างกาย เช่น การจับต้องสิ่งต้องๆ และ การคลาน การเดินของเด็ก 2. Preoperational (อายุ18 เดือน -7 ปี) เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัย อนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญามีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่ม ด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คาต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด เช่น เรียกพ่อเรียกแม่ ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย
  • 12. 3. Concrete Operations (อายุ 7 - 11 ปี) สามารถสร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ คือ เด็กจะ สามารถที่จะอ้างอิงด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น 4. Formal Operations (อายุ 12 ปีขึ้นไป) เด็กวัยนี้เป็นผู้ที่คิดเหนือไป กว่าสิ่งปัจจุบัน สนใจที่จะสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่าง และมีความ พอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับกับสิ่งที่ไม่มีตัวตน หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น เป็นคนที่มีเหตุมีผล มากขึ้น รู้จักแก้ปัญหาเป็น
  • 13.  การจัดการเรียนรู้ในระดับตั้งแต่เตรียมอนุบาล – ม.ปลาย จะต้องจัดแบ่งตามระดับพัฒนาการของนักเรียนให้ชัดเจน เพราะนักเรียนแต่ ละช่วงวัยจะมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน เพื่อสะดวกต่อการจัดการเรียนการ สอนครูผู้สอนควรเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและมีพื้นฐานทางทางด้านทฤษฎี พัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ ด้วย จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และควรสร้างโอกาสให้ครูได้ปฏิสัมพันธ์กับเด็กอย่างเต็มที่ สนับสนุนสื่อการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ครูผู้สอนได้ใช้ศักยภาพของตนอย่าง เต็มที่และทั้งนี้และทั้งนั้นก็ต้องให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วย
  • 14. ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศติดตามการสอนของครู หมวดวิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า จะสอนโดยวิธีการบรรยาย เขียนกระดานดา และให้นักเรียนดู หนังสือตาม โดยจะ พูดแต่เนื้อหาไม่บอกสาระสาคัญ ไม่มีการแจ้ง จุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน ทาให้ยากต่อการทาความเข้าใจ ชั่วโมง ต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น และลองถามให้นักเรียน อธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะอธิบายได้ ขาด กรอบในการนาเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ใน เนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน
  • 15.  สาเหตุที่ทาให้นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ของเนื้อหาได้ เพราะครูผู้สอนไม่อธิบายสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ให้ทราบ และทาความเข้าใจก่อนจัดการเรียนรู้(ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่อง ก่อน )ทาให้นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากหนังสือเรียนเข้ากับ ความรู้เดิมได้ ทั้งจากความรู้เดิมก่อนเรียนเนื้อหานี้ และ ในคาบถัดไปที่มี เนื้อหาซับซ้อนกว่าเดิมผู้เรียนก็ยังไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมจากคาบที่ แล้วได้จึงทาให้ผู้เรียนไม่สามรถอธิบายความรู้ดังกล่าวได้
  • 16.  การแก้ปัญหาจากสถานการณ์ปัญหานี้ อาศัยหลักการและ ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล โดยอาศัยหลักการที่เชื่อว่า การเรียนรู้อย่างมีความหมายของผู้เรียนเกิดจากผู้สอนอธิบายสิ่งที่จะต้อง เรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบ และ เข้าใจเห็นความสัมพันธ์ของความรู้เดิมที่ตนมีใน ความทรงจาและนามาใช้ในอนาคต เช่น การแจ้งวัตถุประสงค์หรือกรอบ เนื้อหาที่นักเรียนจะเรียนให้ทราบ ความรู้หรือสาระที่นักเรียนต้องเรียนรู้ในแต่ ละคาบเมื่อถึงคาบถัดไปก็มีการเชื่อโยงความรู้ที่ได้มาจากคาบที่แล้วมาอธิบาย เชื่อมโยงกับความรู้ที่จะเรียนใหม่ในแต่ละคาบ จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย
  • 17. ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กาลังประสบปัญหา เกี่ยวกับการสอน คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียนจะมีความ เข้าใจและจาได้ เมื่อถามคาถาม หรือให้ออกไปแสดงวิธีทาหน้าชั้นเรียนก็ สามารถทาได้ถูกต้องแต่เมื่อเวลาผ่านไปเช่นในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถามหรือ ให้แสดงวิธีทาปรากฏว่าจะตอบไม่ถูก หรือแสดงวิธีทาได้เพียงบางส่วน ยิ่งถ้า เป็นเรื่องเกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจาไม่ได้ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยี ทางการศึกษา ลองพิจารณาหาทางช่วยครูทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว
  • 18.  จากสถานการณ์ปัญหาของครูทักษิณ ควรนาทฤษฎีประมวลสารสนเทศ ในกลุ่มพุทธิปัญญา ที่มีแนวคิดว่าการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณความรู้ของผู้เรียน ทั้งในด้านปริมาณและวิธีประมวลสารสนเทศ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดหมวดหมู่ จัดระเบียบ รวบรวมและสามารถเรียกความรู้มาใช้ในเวลาที่ต้องการได้ เพราะ จากสถานการณ์ เด็กเกิด ความจาระยะสั้น สามารถเรียนแล้วตอบคาถามได้เพียงในขณะที่สอน เพราะเกิดการใส่ใจ จากการบันทึกผัสสะ จากที่ครูสอนในขณะหนึ่งเท่านั้น แต่ยังไม่เกิดเป็น ความจาระยะยาว เพราะฉะนั้นนอกจากครูควรมีการสร้างสิ่งเร้าที่นักเรียนเกิดการใส่ใจเป็นความจาระยะสั้น แล้ว ควรมีการฝึกหัดทาซ้า ทบทวนความรู้ เช่น ตารางธาตุอาจพาท่องบ่อยๆก่อนขึ้น บทเรียน ฝึกการแก้ปัญหาซ้าๆ มีการจัดหมวดหมู่ความรู้ให้เด็กเพื่อให้เด็กเกิดการเชื่อมโยง ในความรู้และสะสมความรู้นามาเรียกใช้ในการแก้ปัญหาได้ทุกขณะ
  • 19.  ในการจัดการเรียนการสอนสามารถนาหลักการทฤษฎีประมวล สารสนเทศในกลุ่มพุทธิปัญญามาประยุกต์ใช้ได้ โดยนามาออกแบบการจัดการ เรียนรู้ กาหนดสิ่งเร้าที่น่าสนใจให้เด็กเกิดการบันทึกผัสสะ และ การใส่ใจความรู้ เพื่อเกิดความจาระยะสั้น ฝึกทบทวน ทาซ้าๆ ฝึกจัดหมวดหมู่ความรู้ ฝึกการ ขยายความรู้ที่เรียนมาเพื่อเชื่อมโยงความรู้ให้มากที่สุด เกี่ยวกับความรู้ที่ได้เรียน บ่อยๆ จนเกิดการสะสมความรู้และเกิดความจาระยะยาวและสามารถเรียกใช้ ความรู้นั้นๆได้ทุกขณะ ตัวอย่างเช่น ให้นักเรียนร้องเพลงตารางธาตุ เขียน แผนผังสรุปความรู้ ท่องศัพท์คล้องจอง ทาโจทย์แก้ปัญหาหลายๆข้อ บ่อยๆ เป็นต้น
  • 20. ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปา รวีมีเหตุการณ์เป็นดังนี้ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธี หาค่าเฉลี่ยแล้วให้นักเรียนกลับไปทาเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้า หากมีเวลาว่างเขาจะหยิบสมุดการบ้านขึ้นมาทา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่า เขาจะแก้โจทย์ข้อนี้ได้อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจจากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทน ค่าในสมการแล้วสุวัฒน์ก็ยังไม่ได้คาตอบ สุวัฒน์จึงทบทวนอ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขา ถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้ซับซ้อนกว่าที่เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติมและหาวิธีการแก้ โจทย์จากหนังสือคู่มือหลายๆ เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจมาก ที่สุด มาใช้แก้โจทย์ข้อนี้ จนได้คาตอบ แล้วทาการตรวจทานคาตอบอีกครั้ง เพื่อความ แน่ใจ
  • 21.  สถานการณ์ปัญหาของเด็กชายสุวัฒน์สอดคล้องกับทฤษฎีประมวล สารสนเทศ ในกลุ่มพุทธิปัญญาที่มีแนวคิดว่าการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณ ความรู้ของผู้เรียนทั้งในด้านปริมาณและวิธีประมวลสารสนเทศ ผู้เรียนสามารถจัด หมวดหมู่ จัดระเบียบรวบรวมเพื่อเรียกความรู้มาใช้ในเวลาที่ต้องการ ตัวอย่างจาก สถานการณ์ เช่น เมื่อสุวัฒน์เรียนแล้วกลับมาทาโจทย์การบ้านเพียงอ่านโจทย์ก็รู้วิธีแก้ โจทย์ทันที เพราะเข้าใจที่ครูสอนในคาบ มีการบันทึกผัสสะ และเมื่ออ่านโจทย์ก็เกิด การ รู้จัก เชื่อมโยงเพื่อแก้ปัญหา เมื่อแก้ปัญหาไม่ได้สุวัฒน์ก็มีการทบทวนความรู้ และ ไป ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแก้ปัญหาโดยเชื่อมโยงกับโจทย์ที่ตัวเองกาลังทา จากหนังสือ หลายๆเล่ม(ทบทวน ทาซ้า ขยายความคิด) ทาให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวจนได้ คาตอบในที่สุด และไม่ลืมตรวจทานอีกทีเพื่อความแน่ใจ
  • 22.  สามารถนาหลักการทฤษฎีประมวลสารสนเทศ ไปออกแบบ การจัดการเรียนรู้ในสภาพจริงได้ดังนี้  ใช้หลักการประมวลสารสนเทศของมนุษย์มาออกแบบสื่อหรือกิจกรรมใน การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการบันทึกผัสสะเป็นเบื้องต้น และเป็น สิ่งเร้าที่ผู้เรียนสนใจและเกิดการใส่ใจเพื่อเก็บเป็นความจาระยะสั้น ระยะ ยาวไว้ใช้ต่อไป  นากระบวนการรู้จักมาใช้ในการจัดกิจกรรมให้เข้ากับระดับชั้นของเด็ก เพื่อให้เข้ากับข้อมูลที่สะสมไว้ในความจาระยะยาวของเด็กและ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้
  • 23.  ฝึกการทบทวน ทาซ้า จัดหมวดหมู่ ขยายความคิด เพื่อให้เกิดความจา ระยะยาวสาหรับเรียกใช้ในเวลาที่สมควร  ในการนาหลักการดังกล่าวมาใช้จะส่งผลทาให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ความจา เรียกใช้เพื่อแก้ปัญหาได้เป็นอย่างดีเพราะมีการเชื่อมโยงจัด หมวดหมู่ความรู้ไว้พร้อมใช้แล้ว