SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 35
Descargar para leer sin conexión
วิชาการติดตั้งไฟฟาในอาคาร
รหัสวิชา 2104-2005 พุทธศักราช 2556
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรรม
ครู ปยพงศ วชิรมนตรี
วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด
Piyapong_v@hotmail.com
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของสายไฟฟ้ า
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับข้อกําหนดทั้งไปของ
สายไฟฟ้ า
3.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานของ
สายไฟฟ้ าชนิดต่าง ๆ
จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
ชนิดและการใชงานของสายไฟฟา
สายไฟฟาเปนสื่อกลางในการนําเอากําลังไฟฟาจากแหลงตน
กําลังไปยังสถานที่ตาง ๆ ที่ตองการใชไฟฟาการนําเอาสายไฟฟา
ไปติดตั้งใชงานจะพิจารณาจากขอมูลเบื้องตน ดังนี้
1. ความสามารถในการนํากระแสไฟฟาไดสูงสุด โดยไม
ทําใหฉนวนของสาย (insulated) ไดรับความเสียหายซึ่งสามารถ
ดูเปรียบเทียบไดจากตารางสําเร็จรูปโดยที่ขอกําหนดการใชงาน
ของสายไฟฟาขนาดตาง ๆ ดังกลาวเปนไปตามมาตรฐานการ
ติดตั้งไฟฟา
ชนิดและการใชงานของสายไฟฟา
2. แรงดันไฟฟาที่สายไฟฟาทนได สวนใหญผูผลิตจะพิมพติดไวที่
ผิวฉนวนดานนอกของสายไฟฟา เชน 300V. หรือ 750V.
เปนตน
3. อุณหภูมิแวดลอมขณะใชงาน เชน 60°C หรือ 70°C เปนตน
ชนิดและการใชงานของสายไฟฟา
4. ชนิดของฉนวน เชน ฉนวนพีวีซี (PVC) หรือที่เรียกวาโพลิไว
นิลคลอไรด (Polyvinyl chloride) เหมาะสําหรับการเดิน
สายไฟฟาในอาคารทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากพลาสติกพีวีซี มีความ
ออนตัวสามารถดัดโคงงอได ทนตอความรอน เหนียวและไม
เปอยงาย ฉนวนพลาสติกอีกชนิดหนึ่งคือ ครอสลิ่งกโพลีเอธทีลีน
(cross linked Polyethylene : XLPE) ซึ่งเปนสาย
อะลูมิเนียมหุมฉนวนหนาพิเศษ จึงสามารถรับแรงกระแทกได
มากขึ้น
ชนิดและการใชงานของสายไฟฟา
5. ลักษณะการนําไปใชงาน โดยพิจารณาจากลักษณะการติดตั้ง
สถานที่ใชงานสภาพความแข็งแรงของสายไฟฟาทั้งนี้จะตอง
พิจารณาใหเหมาะสมกับสายไฟฟาแตละชนิดดวย
ชนิดและการใชงานของสายไฟฟา
ขอกําหนดทั่วไปเกี่ยวกับสายไฟฟา
สีของฉนวนหุมสายไฟฟา
ขอกําหนดทั่วไปเกี่ยวกับสายไฟฟา
สีของฉนวนหุมสายไฟฟา
สีของฉนวนหุมสายไฟฟา โคดสีมาตรฐานมีดังนี้
สายหุมฉนวนแกนเดียว ใชไดทุกสี
สายหุมฉนวน 2 แกน ใชสีฟา น้ําตาล
สายหุมฉนวน 3 แกน ใชสีฟา น้ําตาล ดํา
สายหุมฉนวน 4 แกน ใชสีฟา น้ําตาล ดํา เทา
สายหุมฉนวน 5 แกน ใช สีฟา น้ําตาล ดํา เทาใชสายสีเขียวหรือ
เขียวสลับเหลือง
สําหรับสายดิน (earth) ใชสายสีเขียวหรือเขียวสลับเหลือง
ขอกําหนดทั่วไปเกี่ยวกับสายไฟฟา
สีของฉนวนหุมสายไฟฟา
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ชนิดของสายไฟฟาหุมฉนวน
ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา
ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา
ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา
ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา
ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา
ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา
ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา
พิกัดกระแสของสายไฟฟาหุมฉนวนจะ
ขึ้นกับปจจัยตาง ๆ ดังตอไปนี้
1. ขนาดของสายไฟฟา
สายไฟฟาที่มีพื้นที่หนาตัดขนาดใหญ ก็จะมีคาพิกัดกระแสสูงกวา
สายไฟฟาที่มีพื้นที่หนาตัดขนาดเล็กกวา
2. ชนิดของฉนวนที่หุมสายไฟฟา
การที่สายไฟฟามีฉนวนที่มีคุณภาพดี ยอมที่จะทําใหสายไฟฟา
ชนิดนั้นมีคาพิกัดกระแสสูงขึ้น
พิกัดกระแสของสายไฟฟาหุมฉนวนจะ
ขึ้นกับปจจัยตาง ๆ ดังตอไปนี้
3. อุณหภูมิโดยรอบ
เนื่องจากคาความตานทานของตัวนําจะมีคาเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิ
สูงขึ้นดังนั้นถาอุณหภูมิบริเวณรอบ ๆ ของสายไฟฟาที่ใชมีคา
สูงขึ้น ก็จะสงผลใหคาพิกัดของกระแสลดลงจากคาปกติ
พิกัดกระแสของสายไฟฟาหุมฉนวนจะ
ขึ้นกับปจจัยตาง ๆ ดังตอไปนี้
4. ลักษณะการติดตั้ง
เนื่องจากการติดตั้งสายไฟฟา สามารถทําไดหลายวิธีดวยกัน เชน
เดินลอย เดินในทอรอยสายหรือเดินฝงใตดิน การติดตั้งแตละ
แบบก็จะมีการถายเทอากาศไดยากงายตางกัน ถาสายไฟฟา
ติดตั้งในบริเวณที่อากาศถายเทไดสะดวก ก็จะมีคาพิกัดกระแส
สูงกวากรณีที่ติดตั้งในบริเวณอากาศที่ถายเทไมสะดวก
ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวน
ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวน
ชนิดของตัวนําและรูปแบบการติดตั้ง
วิธีการ
เดินสาย
รูปแบบการติดตั้ง ชนิดของตัวนําและรูปแบบการ
ติดตั้ง
ก
สายแกนเดียวหุ้มฉนวนเดินใน
อากาศ
ข
สายแบบหุ้มฉนวนมีเปลือกเดินเกาะ
ผนัง
ชนิดของตัวนําและรูปแบบการติดตั้ง
วิธีการ
เดินสาย
รูปแบบการติดตั้ง ชนิดของตัวนําและรูปแบบการ
ติดตั้ง
ค
สายแกนเดียวหุ้มฉนวนไม่เกิน 3
เส้น หรือสายหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่
กิน 3 แกนเดินในท่อในอากาศ ใน
ท่อฝังในผนังปูนฉาบ หรือในท่อฝ้ า
เพดาน
ง
สายแกนเดียวหุ้มฉนวนไม่เกิน 3
เส้น หรือสายหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่
เกิน 3 แกนเดินในท่อฝังดิน
ชนิดของตัวนําและรูปแบบการติดตั้ง
วิธีการ
เดินสาย
รูปแบบการติดตั้ง ชนิดของตัวนําและรูปแบบการ
ติดตั้ง
จ
สายแกนเดียวหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่
เกิน 3เส้น หรือสายหุ้มฉนวนมี
เปลือกไม่เกิน 3แกน
ฝังดินโดยตรง
คาตัวคูณคงที่เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
Selfpeck2หน่วยที่ 2

Más contenido relacionado

Destacado

บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
Phachakorn Khrueapuk
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
ASpyda Ch
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
Peerapong Veluwanaruk
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
NeeNak Revo
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
NeeNak Revo
 

Destacado (13)

ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 

Selfpeck2หน่วยที่ 2