SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
กมลฉันท ๑๒
        กมลฉันท (อานวา กะ-มะ-ละ-ฉัน หรือ กะ-มน-ละ-ฉัน) กมล ตามความหมาย
ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง บัว, เหมือนอยางบัว, ใจ ดังนั้น
กมลฉันท หากตีความตามอารมณหรือทวงทํานองในการอาน จึงมีความหมายวา “ฉันท
ที่มีทวงทํานองลีลากลอมใจใหเพลิดเพลิน หรือฉันทที่มีลีลาดุจการแสดงอาการเหมือน
ดอกบัวที่กําลังคลี่ดอกใหเบงบานหรือหุบลง” ก็ยอมไมผิด ครับ

คณะและพยางค
  กมลฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้
        มี ๒ บาท วรรคหนามีจํานวน ๖ คํา/พยางค และวรรคหลังมีจํานวน ๖ คํา/
พยางค เชนเดียวกัน
        ๑ บาท นับจํานวนคําได ๑๒ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๑๒ หลังชื่อ
กมลฉันท นี่เองครับ (แตตองสังเกตที่ครุ-ลหุใหแนชัดวาคําประพันธนั้นควรจะเปนฉันท
ชนิดใด)
        ทั้งบทมีจํานวนคําทั้งสิ้น ๒๔ คํา

สัมผัส
     พบวา กมลฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒ แหง ไดแก
               ๑. คําสุดทายของวรรคที่ ๑ (วรรคหนา บาทที่ ๑) สงสัมผัสกับคําที่
๓ ของวรรคที่ ๒ (วรรคหลัง บาทที่ ๑)
              ๒. คําสุดทายของวรรคที่ ๒ (วรรคหลัง บาทที่ ๑) สงสัมผัสกับคํา
สุดทาย ของวรรคที่ ๓ (วรรคหนา บาทที่ ๒)

        สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่
๒ (วรรคหลัง บาทที่ ๑) ในบทตอไป
        คําครุ ลหุ กมลฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๒ และมีคําลหุทั้งหมด ๑๒
คํา ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัสนอก) และบังคับครุ-ลหุ กมลฉันท ๑๒ ตาม
ผังภาพ
       คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั
       คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
มะทะนาชะเจาเลห        ชิชิชางจํานรรจา,
ตะละคําอุวาทา              ฤ กระบิดกระบวนความ.
ดนุถามก็เจาไซร             บ มิตอบ ณ คําถาม,
วนิดาพยายาม                กะละเลนสํานวนหวน.
                         จาก บทละครพูดคําฉันทเรื่องมัทนะพาธา
            พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว)
ที่มา/อางอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน
           รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕.
           กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, ๒๕๕๔.
กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐.
แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร,
           ๒๕๓๑.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ :
           นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖.
วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖.
สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
           รามคําแหง, ๒๕๑๘.




                         โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล
          โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๔

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้องPiyarerk Bunkoson
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์Ku'kab Ratthakiat
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่Piyarerk Bunkoson
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 

La actualidad más candente (20)

Salinichan11
Salinichan11Salinichan11
Salinichan11
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
ฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะ
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
กลอนแปด
กลอนแปดกลอนแปด
กลอนแปด
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 

Similar a Kamalachan

กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองManee Prakmanon
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 

Similar a Kamalachan (20)

กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 

Más de Piyarerk Bunkoson

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1Piyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554Piyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงPiyarerk Bunkoson
 

Más de Piyarerk Bunkoson (20)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 
007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3
 

Kamalachan

  • 1. กมลฉันท ๑๒ กมลฉันท (อานวา กะ-มะ-ละ-ฉัน หรือ กะ-มน-ละ-ฉัน) กมล ตามความหมาย ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง บัว, เหมือนอยางบัว, ใจ ดังนั้น กมลฉันท หากตีความตามอารมณหรือทวงทํานองในการอาน จึงมีความหมายวา “ฉันท ที่มีทวงทํานองลีลากลอมใจใหเพลิดเพลิน หรือฉันทที่มีลีลาดุจการแสดงอาการเหมือน ดอกบัวที่กําลังคลี่ดอกใหเบงบานหรือหุบลง” ก็ยอมไมผิด ครับ คณะและพยางค กมลฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้ มี ๒ บาท วรรคหนามีจํานวน ๖ คํา/พยางค และวรรคหลังมีจํานวน ๖ คํา/ พยางค เชนเดียวกัน ๑ บาท นับจํานวนคําได ๑๒ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๑๒ หลังชื่อ กมลฉันท นี่เองครับ (แตตองสังเกตที่ครุ-ลหุใหแนชัดวาคําประพันธนั้นควรจะเปนฉันท ชนิดใด) ทั้งบทมีจํานวนคําทั้งสิ้น ๒๔ คํา สัมผัส พบวา กมลฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒ แหง ไดแก ๑. คําสุดทายของวรรคที่ ๑ (วรรคหนา บาทที่ ๑) สงสัมผัสกับคําที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ (วรรคหลัง บาทที่ ๑) ๒. คําสุดทายของวรรคที่ ๒ (วรรคหลัง บาทที่ ๑) สงสัมผัสกับคํา สุดทาย ของวรรคที่ ๓ (วรรคหนา บาทที่ ๒) สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๒ (วรรคหลัง บาทที่ ๑) ในบทตอไป คําครุ ลหุ กมลฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๒ และมีคําลหุทั้งหมด ๑๒ คํา ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัสนอก) และบังคับครุ-ลหุ กมลฉันท ๑๒ ตาม ผังภาพ คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
  • 2. มะทะนาชะเจาเลห ชิชิชางจํานรรจา, ตะละคําอุวาทา ฤ กระบิดกระบวนความ. ดนุถามก็เจาไซร บ มิตอบ ณ คําถาม, วนิดาพยายาม กะละเลนสํานวนหวน. จาก บทละครพูดคําฉันทเรื่องมัทนะพาธา พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว)
  • 3. ที่มา/อางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว, ๒๕๕๔. กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐. แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร, ๒๕๓๑. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖. สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๑๘. โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๔