SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
สัทธราฉันท ๒๑
        สัทธราฉันท (อานวา สัด-ทะ-ทะ-รา-ฉัน) เปนชื่อฉันทอยางหนึ่ง ไมมีความหมาย
ตามที่ระบุไวในพจนานุกรมไทย แตเรามาพินิจภาษาคํานี้ดูนะครับวา สัทธราฉันท มี
ความหมายวาอยางไร
        สัทธราฉันท ไมมีความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน เมื่อพินิจ
ภาษาดูใหดีแลว จะพบวาคํานี้มาจากคําวา สัท รวมกับคําวา ธรา เปนคํามาจากภาษา
บาลีและสันสกฤต ซึ่ง สัท หมายถึง เสียง ธรา เปนคําโบราณ หมายถึง แผนดิน
        สัทธรา จึงนามีความหมายวา “ฉันทที่มีลีลาประดุจเสียงรองจากแผนดิน (ดิน
พิโรธ)” ซึ่งฉันทประเภทนี้ใชสําหรับดําเนินเรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความแตกแยก
โดยเฉพาะเรื่องสามัคคีเภทคําฉันท ซึ่งใชเปนบทดําเนินเรื่องตอนที่กษัตริยลิจฉวีแตก
สามัคคี

คณะและพยางค
     สัทธราฉันท ๑    บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้
     มี ๒ บาท
         บาทที่ ๑    มีจํานวน ๑๔ คํา/พยางค
         บาทที่ ๒    มีจํานวน ๑๗ คํา/พยางค
หรือ
     มี ๔ วรรค
         วรรคที่ ๑    มีจํานวน   ๗   คํา/พยางค
         วรรคที่ ๒    มีจํานวน   ๗   คํา/พยางค
         วรรคที่ ๓    มีจํานวน   ๔   คํา/พยางค
         วรรคที่ ๔    มีจํานวน   ๓   คํา/พยางค

        ๑ บท นับจํานวนคําได ๒๑ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๒๑ หลังชื่อ
สัทธราฉันท นี่เองครับ แตนักเรียนตองสังเกตที่ครุ-ลหุ ในแตละบาทจะปรากฏคําครุ-
คําลหุ ดังนี้
              วรรคที่ ๑ เปนครุในคําที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖, ๗ เปนลหุในคําที่ ๕
              วรรคที่ ๒ เปนครุในคําที่ ๗, เปนลหุในคําที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖
              วรรคที่ ๓ เปนครุในคําที่ ๑, ๓, ๔ เปนลหุในคําที่ ๒
              วรรคที่ ๔ เปนครุในคําที่ ๒, ๓ เปนลหุในคําที่ ๑
สัมผัส
      พบวา สัทธราฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒ แหง ดังนี้
                ๑. คําสุดทายของวรรคที่ ๑ สงสัมผัสกับคําสุดทายที่ ๒
                ๒. คําสุดทายของวรรคที่ ๒ สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๓
         สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่
๒ ในบทตอไป
         คําครุ ลหุ สัทธราฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๒ คํา/พยางค และมีคํา
ลหุทั้งหมด ๙ คํา/พยางค ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัสนอก) และบังคับครุ-
ลหุ สัทธราฉันท ๒๑ ตามผังภาพ
        คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั
        คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
๏ แตกราวกราวรายก็ปายปาม                      ลุวรบิดรลาม
ทีละนอยตาม                                     ณเหตุผล
  ๏ ฟนเฝอเชื่อนัยดนัยตน                        นฤวิเคราะหเสาะสน
สืบจะหมองมล                                    เพราะหมายใด
            (จาก สามัคคีเภทคําฉันท ของ ชิต บุรทัต)




ที่มา/อางอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน
           สาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมสาระ
           การเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
           ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๘.
กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐.
แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร,
           ๒๕๓๑.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ :
           นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖.
วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖.
สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
           รามคําแหง, ๒๕๑๘.



                           โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล
        โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์Ku'kab Ratthakiat
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้องPiyarerk Bunkoson
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 

La actualidad más candente (19)

Salinichan11
Salinichan11Salinichan11
Salinichan11
 
Inthawong
InthawongInthawong
Inthawong
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
ฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะ
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
กลอนแปด
กลอนแปดกลอนแปด
กลอนแปด
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
sapphanamracha
sapphanamrachasapphanamracha
sapphanamracha
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 

Destacado

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์PdfMind Candle Ka
 
งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8MilkOrapun
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 

Destacado (14)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)
 
Ton
TonTon
Ton
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 

Similar a Satthatharachan

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 

Similar a Satthatharachan (20)

Korat
KoratKorat
Korat
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
03
0303
03
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
01
0101
01
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 

Más de Piyarerk Bunkoson

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1Piyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554Piyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงPiyarerk Bunkoson
 

Más de Piyarerk Bunkoson (20)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 
007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3
 

Satthatharachan

  • 1. สัทธราฉันท ๒๑ สัทธราฉันท (อานวา สัด-ทะ-ทะ-รา-ฉัน) เปนชื่อฉันทอยางหนึ่ง ไมมีความหมาย ตามที่ระบุไวในพจนานุกรมไทย แตเรามาพินิจภาษาคํานี้ดูนะครับวา สัทธราฉันท มี ความหมายวาอยางไร สัทธราฉันท ไมมีความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน เมื่อพินิจ ภาษาดูใหดีแลว จะพบวาคํานี้มาจากคําวา สัท รวมกับคําวา ธรา เปนคํามาจากภาษา บาลีและสันสกฤต ซึ่ง สัท หมายถึง เสียง ธรา เปนคําโบราณ หมายถึง แผนดิน สัทธรา จึงนามีความหมายวา “ฉันทที่มีลีลาประดุจเสียงรองจากแผนดิน (ดิน พิโรธ)” ซึ่งฉันทประเภทนี้ใชสําหรับดําเนินเรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความแตกแยก โดยเฉพาะเรื่องสามัคคีเภทคําฉันท ซึ่งใชเปนบทดําเนินเรื่องตอนที่กษัตริยลิจฉวีแตก สามัคคี คณะและพยางค สัทธราฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้ มี ๒ บาท บาทที่ ๑ มีจํานวน ๑๔ คํา/พยางค บาทที่ ๒ มีจํานวน ๑๗ คํา/พยางค หรือ มี ๔ วรรค วรรคที่ ๑ มีจํานวน ๗ คํา/พยางค วรรคที่ ๒ มีจํานวน ๗ คํา/พยางค วรรคที่ ๓ มีจํานวน ๔ คํา/พยางค วรรคที่ ๔ มีจํานวน ๓ คํา/พยางค ๑ บท นับจํานวนคําได ๒๑ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๒๑ หลังชื่อ สัทธราฉันท นี่เองครับ แตนักเรียนตองสังเกตที่ครุ-ลหุ ในแตละบาทจะปรากฏคําครุ- คําลหุ ดังนี้ วรรคที่ ๑ เปนครุในคําที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖, ๗ เปนลหุในคําที่ ๕ วรรคที่ ๒ เปนครุในคําที่ ๗, เปนลหุในคําที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ วรรคที่ ๓ เปนครุในคําที่ ๑, ๓, ๔ เปนลหุในคําที่ ๒ วรรคที่ ๔ เปนครุในคําที่ ๒, ๓ เปนลหุในคําที่ ๑
  • 2. สัมผัส พบวา สัทธราฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒ แหง ดังนี้ ๑. คําสุดทายของวรรคที่ ๑ สงสัมผัสกับคําสุดทายที่ ๒ ๒. คําสุดทายของวรรคที่ ๒ สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๓ สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๒ ในบทตอไป คําครุ ลหุ สัทธราฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๒ คํา/พยางค และมีคํา ลหุทั้งหมด ๙ คํา/พยางค ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัสนอก) และบังคับครุ- ลหุ สัทธราฉันท ๒๑ ตามผังภาพ คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
  • 3. ๏ แตกราวกราวรายก็ปายปาม ลุวรบิดรลาม ทีละนอยตาม ณเหตุผล ๏ ฟนเฝอเชื่อนัยดนัยตน นฤวิเคราะหเสาะสน สืบจะหมองมล เพราะหมายใด (จาก สามัคคีเภทคําฉันท ของ ชิต บุรทัต) ที่มา/อางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน สาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๘. กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐. แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร, ๒๕๓๑. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖. สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๑๘. โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๔