SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
1. นางสาวชนิกานต์ พิทักษ์วงศ์ศร รหัสนักศึกษา 523050527-8
2. นางสาวฐิตาพร จบสัญจร รหัสนักศึกษา 533050427-3
3. นางสาวอาภาศิริ รติเมธากุล รหัสนักศึกษา 533050452-4
4. นางสาวรากิตาร์ ภูกองไชย รหัสนักศึกษา 533050495-0
สาขา การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ชั้นปีที่ 4
สถานการณ์ปัญหา
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมี
ความเชี่ยวชาญในด ้านนี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียน
ในแต่ละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให ้นักเรียนจา
และสื่อการสอนที่นามาใช ้ในประกอบการสอนก็เป็นใน
ลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ด ้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ
เรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม ้กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิด
ให ้นักเรียนได ้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่
ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทาให ้นักเรียนสามารถ
จาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให ้ได ้มากที่สุด ส่วนนักเรียน
ของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่
เพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนด
ทั้งหมด เรียนไปได ้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหา
ความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให ้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นั้นพอ
ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่
กล่าวมาทั้งหมด ได ้ส่งผลให ้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่าน
มาได ้ไม่นานก็ทาให ้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิด
ได ้ด ้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนามาใช ้แก ้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวันได ้
ภารกิจ
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี
ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบ
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามี
การเปลี่ยนแปลงทางด ้านใดบ ้าง พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ให ้เหมาะสมกับยุคปฏิรูป
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเกิดขึ้นจากพื้นฐาน
ความเชื่อที่ว่า การจัดการศึกษามีเป้าหมายสาคัญที่สุด คือ การจัดการ
ให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อให ้ผู้เรียนแต่ละคนได ้พัฒนาตนเอง
สูงสุด ตามกาลังหรือศักยภาพของแต่ละคน แต่เนื่องจากผู้เรียนแต่ละ
คนมีความแตกต่างกัน ทั้งด ้านความต ้องการ ความสนใจ ความถนัด
และยังมีทักษะพื้นฐานอันเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะใช ้ในการเรียนรู้ อัน
ได ้แก่ ความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียน ความสามารถทางสมอง
ระดับสติปัญญา และการแสดงผลของการเรียนรู้ออกมาในลักษณะที่
ต่างกัน จึงควรมีการจัดการที่เหมาะสมในลักษณะที่แตกต่างกัน ตาม
เหตุปัจจัยของผู้เรียนแต่ละคน
ครูหรือผู้จัดการเรียนรู้ควรมีความเชื่อพื้นฐานอย่างน้อย 3 ประการ คือ
1. เชื่อว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน
2. เชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ได ้
3. เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดได ้ทุกที่ ทุกเวลา
ดังนั้น การจัดการเรียนรู้จึงเป็นการจัดการบรรยากาศ จัดกิจกรรม จัดสื่อ จัด
สถานการณ์ ฯลฯ ให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได ้เต็มตามศักยภาพ ครูจึงมีความ
จาเป็นที่จะต ้องรู้จักผู้เรียนครอบคลุมอย่างรอบด ้าน และสามารถวิเคราะห์
ข ้อมูลเพื่อนาไปเป็นพื้นฐานการออกแบบหรือวางแผนการเรียนรู้ได ้สอดคล ้อง
กับผู้เรียน สาหรับในการจัดกิจกรรมหรือออกแบบการเรียนรู้ อาจทาได ้หลาย
วิธีการและหลายเทคนิค แต่มีข ้อควรคานึงว่า ในการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้ง
แต่ละเรื่อง ได ้เปิดโอกาสให ้กับผู้เรียนในเรื่องต่อไปนี้หรือไม่
1. เปิดโอกาสให ้นักเรียนเป็นผู้เลือกหรือตัดสินใจในเนื้อหาสาระที่สนใจ เป็น
ประโยชน์ต่อตัว ผู้เรียนหรือไม่
2. เปิดโอกาสให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได ้คิด ได ้รวบรวม
ความรู้และลงมือปฏิบัติจริงด ้วยตนเองหรือไม่
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี
ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญหรือไม่ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบ
แนวคิดของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
(Learner-centered, Student-centred หรือ Child-centered) มีหลักการ
ว่า กระบวนการจัดการเรียนการสอนต ้องเน้นให ้ผู้เรียนสามารถแสวงหา
ความรู้ และพัฒนาความรู้ได ้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพของตนเอง
รวมทั้งสนับสนุนให ้มีการฝึกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทางาน มีการ
เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคมและการประยุกต์ใช ้มีการจัดกิจกรรมและ
กระบวนการให ้ผู้เรียนได ้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและสร ้างสรรค์สิ่ง
ต่างๆ โดยไม่เน้นไปที่การท่องจาเพียงเนื้อหา
ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนของครูสมศรีและ
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน จึงไม่สอดคล้องกับการศึกษาใน
ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ เหตุผล
เพราะว่า
ครูสมศรี : มักจะสอนหรือบรรยายให ้นักเรียนจา และสื่อการ
สอนที่นามาใช ้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการ
ถ่ายทอดความรู้ด ้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบน
กระดาน หรือแม ้กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิดให ้นักเรียนได ้เรียน โดย
ครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือ
สามารถทาให ้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให ้
ได ้มากที่สุด
จากความเชื่อและวิธีการสอนของครูสมศรี ขัดแย ้งกับ
แนวคิดและหลักการของการจัดการเรียนรู้ ในยุคปฏิรูปการศึกษา
อย่างมาก ดังนี้
1. วิธีการสอนของครูสมศรีจะเน้นการท่องจาเนื้อหาให ้ได ้มาก
ที่สุด
2. วิธีการสอนของครูสมศรี คือ การบรรยาย โดยมีสื่อการสอน
เป็นเพียงหนังสือเรียน การเขียนบนกระดานดาและการใช ้
วิดิโอ
นักเรียน : รอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรม
การเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด เรียนไปได ้ไม่นานก็เบื่อ ไม่
กระตือรือร ้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให ้ทาแค่ไหนก็ทาแค่
นั้นพอ
วิธีการเรียนของนักเรียน ก็ขัดแย ้งกับแนวคิดและหลักการของ
การจัดการเรียนรู้ ในยุคปฏิรูปการศึกษาอย่างมากเช่นกัน ดังนี้
1. นักเรียนรอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว
2. นักเรียนดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด
3. นักเรียนไม่กระตือรือร ้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให ้ทา
แค่ไหนก็ทาแค่นั้นพอ
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงทางด ้านใดบ ้าง พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
1. การเปลี่ยนแปลงด ้านการเรียนการสอน
เนื่องจากในปัจจุบัน กระแสการเปลี่ยนแปลงด ้านต่างๆเกิดขึ้น
อย่างรวดเร็ว ซึ่งเข ้ามามีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์เป็น
อย่างมาก ดังนั้นการศึกษาจึงต ้องปรับเปลี่ยนให ้ทันและสอดคล ้อง
กับการเปลี่ยนแปลงของชาตอและสังคมโลก ซึ่งทาให ้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในด ้านการเรียนการสอนด ้านการเรียน
การสอน ดังนี้
1. การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช ้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ต่างๆ ให ้เป็นประโยชน์
2. ฝึกให ้นักเรียนให ้คิดเป็น แก ้ปัญหาเป็น และสามารถศึกษา
ด ้วยตนเองได ้
2. การเปลี่ยนแปลงบทบาทของผู้เรียน
ในสังคมโลกปัจจุบันพบว่า ความต ้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น
แม ้ว่าครั้งหนึ่งอาจจะมีการตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจามามาก แต่
ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริงต ้องการบุคคลที่มี ความสามารถในการใช ้
ทักษะการให ้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อการแก ้ปัญหาที่ซับซ ้อน ซึ่ง
พบว่า ความสามารถในทักษะดังกล่าวที่จะนามาใช ้ในการแก ้ปัญหาไม่
ค่อยปรากฏให ้เห็น หรือมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน แนวคิดเกี่ยวกับผู้เรียน
จึงต ้องเปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่ จึงเป็นสาเหตุที่ทาให ้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงบทบาทผู้เรียน ดังนี้
1. เป็นผู้ร่วมเรียนรู้อย่างตื่นตัวในกระบวนการเรียนรู้
2. เป็นผู้สร ้างและแลกเปลี่ยน ความรู้ร่วมกับเพื่อนในชั้นแบบ
ผู้เชี่ยวชาญ
3. เป็นการร่วมมือกันเรียนรู้กับผู้เรียนอื่นๆ
3. การเปลี่ยนแปลงบทบาทของครูผู้สอน
ในปัจจุบัน เป็นยุคที่การศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากที่ครู
เคยเป็นเพียงผู้ถ่ายถอดความรู้ให ้นักเรียนเพียงอย่างเดียว ซึ่งทา
ให ้นักเรียนไม่เกิดความกระตือรือร ้นในการหาความรู้ใหม่ด ้วย
ตนเอง ครูจึงต ้องมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่ให ้สอดคล ้อง
กับยุคปฏิรูปการศึกษาด ้วย เพื่อให ้การจัดการเรียนการสอนมี
ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ดังนี้
1. เป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วมแก ้ปัญหา โค ้ช ชี้นาความรู้
และผู้ร่วมเรียนรู้
2. เป็นผู้จัดเตรียมหรือให ้สิ่งที่ ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของผู้
เรียนอย่างหลากหลาย
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ให ้เหมาะสมกับยุคปฏิรูป
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ครูถือว่าเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการปฏิรูปการเรียนรู้ ครูต ้องปรับวิธีเรียน
เปลี่ยนวิธีสอนจากเดิมที่สอนหนังสือ ต ้องเปลี่ยนเป็นการสอนคน เพราะปัจจุบันนี้
นักเรียนสามารถเรียนรู้ได ้ด ้วยตนเองจากสื่อต่าง ๆ ทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
หนังสือตาราเรียน และรวมทั้งความรู้ทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีหลากหลายวิธี ดังนี้
การเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ มีหลายรูปแบบ และหลายวิธีด ้วยกัน ซึ่งจะขอ
นาเสนอไว ้เฉพาะชื่อ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาค ้นคว ้า และทาความเข ้าใจให ้ถ่องแท ้
ครบถ ้วนสืบไปดังนี้ ( กรมวิชาการ 2539. และ Apel and Comozzi . 1996 : 98 – 139 )
วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีหลากหลายวิธี ดังนี้
เกมการศึกษา ( Educational Game )
สถานการณ์จาลอง ( Simulation )
กรณีตัวอย่าง ( Case Study )
บทบาทสมมุติ ( Role - Play )
โปรแกรมสาเร็จรูป ( Programme Instruction )
ศูนย์การเรียน ( Learning Centre )
ชุดการสอน ( Instructional Package )
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted )
โครงงาน ( Project )
การทดลอง ( Experimentary )
การใช ้คาถาม
อภิปรายกลุ่มย่อย ( Small Group Discuss )
การแก ้ปัญหา ( Problem - Solving )
สืบสวนสอบสวน ( Inquiry )
กลุ่มสืบค ้นความรู้ (Group Investication )
การเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Cooperative Learning )
อริยสัจ 4 ( 4 Noble Truth Method )
ทัศนศึกษานอกสถานที่ ( Field Trip )
โมเดลซิปปา (CIPPA Model)
โมเดลซิปปา ( CIPPA Model )
เป็นหลักการซึ่งสามารถนาไปใช ้เป็นหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ให ้แก่
ผู้เรียน การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA” นี้สามารถใช ้วิธีการและ
กระบวนการที่หลากหลาย ซึ่งอาจจัดเป็นแบบแผนได ้หลายรูปแบบ มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 การทบทวนความรู้เดิม
- ดึงความรู้เดิมของผู้เรียนในเรื่องที่จะเรียน เพื่อช่วยให ้ผู้เรียนมีความพร ้อมในการ
เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน
ขั้นที่ 2 การแสวงหาความรู้ใหม่
- ผู้เรียนแสวงหาข ้อมูลความรู้ใหม่จากแหล่งความรู้ต่างๆ
ขั้นที่ 3 การศึกษาทาความเข ้าใจข ้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยง ความรู้ใหม่
กับความรู้เดิม
ขั้นที่ 4 การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข ้าใจกับกลุ่ม
- ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือในการตรวจสภาพความรู้ ความเข ้าใจของตน
ขั้นที่ 5 การสรุปและการจัดระเบียบความรู้
- ผู้เรียนสรุปความรู้ที่ได ้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและ ความรู้ใหม่
ขั้นที่ 6 การปฏิบัติ และ / หรือการแสดงผลงานผู้เรียนลงมือปฏิบัติและแสดงผล
งานที่ได ้ปฏิบัติ
ขั้นที่ 7 การประยุกต์ใช ้ความรู้
- ผู้เรียนนาความรู้ความเข ้าใจของตนเองไปใช ้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
ขั้นตอนที่ 1 – 6 เป็นกระบวนการของการสร ้างความรู้
( Construction of knowledge ) ซึ่งครูสามารถจัดกิจกรรมให ้
ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( Interaction )
และฝึกฝนทักษะกระบวนการต่าง ๆ ( Process learning ) อย่าง
ต่อเนื่อง เนื่องจากขั้นตอนแต่ละขั้นตอนช่วยให ้ผู้เรียนได ้ทากิจกรรม
หลากหลาย มีลักษณะให ้ผู้เรียนได ้มีเคลื่อนไหวทางกาย
ทางสติปัญญา ทางอารมณ์ และทางสังคม อย่างเหมาะสม อันช่วยให ้
ผู้เรียนตื่นตัว ( Active ) สามารถรับรู้และเรียนรู้ได ้อย่างดี จึงกล่าวได ้
ขั้นตอนทั้ง 6 มีคุณสมบัติตามหลัก “CIPPA” ส่วนขั้นตอนที่ 7 เป็น
ขั้นตอนที่ช่วยให ้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช ้( Application ) จึงทาให ้ได ้
รูปแบบที่มีคุณสมบัติครบตามหลัก “CIPPA”
การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้นก็คือ การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้น
ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์
การจัดการเรียนการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช ้
CIPPA Model สามารถช่วยให ้ผู้เรียนได ้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้
ทั้งทางด ้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ ดังนี้
C มาจากคาว่า Construct ซึ่งหมายถึง การสร ้างความรู้ตามแนวคิดของปรัชญา
Constructivism กล่าวคือ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให ้ผู้เรียนมีโอกาส
สร ้างความรู้ด ้วยตนเอง ซึ่งจะทาให ้ผู้เรียนมีความเข ้าใจและเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อ
ตนเอง การที่ผู้เรียนมีโอกาสได ้สร ้างความรู้ด ้วยตนเองนี้เป็นกิจกรรมที่ช่วยให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
ทาง สติปัญญา
I มาจากคาว่า Interaction ซึ่งหมายถึง การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือสิ่งแวดล ้อม
รอบตัวกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี จะต ้องเปิดโอกาสให ้ผู้เรียนได ้เคลื่อนไหวทางร่างกาย โดยการ
ทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ
P มาจากคาว่า Physical Participation ซึ่งหมายถึง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ
เรียนรู้ทางกาย คือ ผู้เรียนมีโอกาสได ้เคลื่อนไหวร่างกาย โดยทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ
P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้กระบวนการต่างๆ กิจกรรม
การเรียนรู้ที่ดีควรเปิดโอกาสให ้ผู้เรียนได ้เรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการ
ดารงชีวิต เช่น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการแก ้ปัญหา กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการพัฒนาตนเอง เป็นต ้น การเรียนรู้กระบวนการเป็นสิ่งที่สาคัญเช่นเดียวกับการ
เรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆ การเรียนรู้ทางด ้านกระบวนการ เป็นการช่วยให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทาง
สติปัญญาอีกทางหนึ่ง
A มาจากคาว่า Application หมายถึง การนาความรู้ที่ได ้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช ้ซึ่งจะ
ช่วยให ้ผู้เรียนได ้รับประโยชน์จากการเรียน และช่วยให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ
กิจกรรม การเรียนรู้ที่มีแต่เพียงการสอนเนื้อหาสาระให ้ผู้เรียนเข ้าใจ โดยขาดกิจกรรมการนา
ความรู้ไปประยุกต์ใช ้จะทาให ้ผู้เรียนขาดการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกับการปฏิบัติ ซึ่งจะทา
ให ้การเรียนรู้ไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร การจัดกิจกรรมที่ช่วยให ้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไป
ประยุกต์ใช ้นี้ เท่ากับเป็นการช่วยให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ด ้านใดด ้านหนึ่งหรือ
หลายๆ ด ้าน แล ้วแต่ลักษณะของสาระและกิจกรรมที่จัด
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ phatthra jampathong
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52guest7f765e
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดKiingz Phanumas
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวkomjankong
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยJo Smartscience II
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 

La actualidad más candente (16)

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 

Similar a Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้าfa_o
 
เบญ
เบญเบญ
เบญben_za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 

Similar a Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา (20)

บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
อาม
อามอาม
อาม
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้า
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 

Más de Thitaporn Chobsanchon (6)

Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
Chapter 7
Chapter  7 Chapter  7
Chapter 7
 
Charpter 5
Charpter 5Charpter 5
Charpter 5
 
Charpter4 pdf
Charpter4 pdfCharpter4 pdf
Charpter4 pdf
 
Charpter 3
Charpter 3Charpter 3
Charpter 3
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 

Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

  • 1. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1. นางสาวชนิกานต์ พิทักษ์วงศ์ศร รหัสนักศึกษา 523050527-8 2. นางสาวฐิตาพร จบสัญจร รหัสนักศึกษา 533050427-3 3. นางสาวอาภาศิริ รติเมธากุล รหัสนักศึกษา 533050452-4 4. นางสาวรากิตาร์ ภูกองไชย รหัสนักศึกษา 533050495-0 สาขา การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ชั้นปีที่ 4
  • 2. สถานการณ์ปัญหา ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมี ความเชี่ยวชาญในด ้านนี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียน ในแต่ละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให ้นักเรียนจา และสื่อการสอนที่นามาใช ้ในประกอบการสอนก็เป็นใน ลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ด ้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ เรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม ้กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิด ให ้นักเรียนได ้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทาให ้นักเรียนสามารถ จาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให ้ได ้มากที่สุด ส่วนนักเรียน ของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่ เพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนด ทั้งหมด เรียนไปได ้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหา ความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให ้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นั้นพอ ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่ กล่าวมาทั้งหมด ได ้ส่งผลให ้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่าน มาได ้ไม่นานก็ทาให ้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิด ได ้ด ้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนามาใช ้แก ้ปัญหาใน ชีวิตประจาวันได ้
  • 3. ภารกิจ 1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบ 2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามี การเปลี่ยนแปลงทางด ้านใดบ ้าง พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน 3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ให ้เหมาะสมกับยุคปฏิรูป การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
  • 4. ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเกิดขึ้นจากพื้นฐาน ความเชื่อที่ว่า การจัดการศึกษามีเป้าหมายสาคัญที่สุด คือ การจัดการ ให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อให ้ผู้เรียนแต่ละคนได ้พัฒนาตนเอง สูงสุด ตามกาลังหรือศักยภาพของแต่ละคน แต่เนื่องจากผู้เรียนแต่ละ คนมีความแตกต่างกัน ทั้งด ้านความต ้องการ ความสนใจ ความถนัด และยังมีทักษะพื้นฐานอันเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะใช ้ในการเรียนรู้ อัน ได ้แก่ ความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียน ความสามารถทางสมอง ระดับสติปัญญา และการแสดงผลของการเรียนรู้ออกมาในลักษณะที่ ต่างกัน จึงควรมีการจัดการที่เหมาะสมในลักษณะที่แตกต่างกัน ตาม เหตุปัจจัยของผู้เรียนแต่ละคน ครูหรือผู้จัดการเรียนรู้ควรมีความเชื่อพื้นฐานอย่างน้อย 3 ประการ คือ 1. เชื่อว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน 2. เชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ได ้ 3. เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดได ้ทุกที่ ทุกเวลา
  • 5. ดังนั้น การจัดการเรียนรู้จึงเป็นการจัดการบรรยากาศ จัดกิจกรรม จัดสื่อ จัด สถานการณ์ ฯลฯ ให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได ้เต็มตามศักยภาพ ครูจึงมีความ จาเป็นที่จะต ้องรู้จักผู้เรียนครอบคลุมอย่างรอบด ้าน และสามารถวิเคราะห์ ข ้อมูลเพื่อนาไปเป็นพื้นฐานการออกแบบหรือวางแผนการเรียนรู้ได ้สอดคล ้อง กับผู้เรียน สาหรับในการจัดกิจกรรมหรือออกแบบการเรียนรู้ อาจทาได ้หลาย วิธีการและหลายเทคนิค แต่มีข ้อควรคานึงว่า ในการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้ง แต่ละเรื่อง ได ้เปิดโอกาสให ้กับผู้เรียนในเรื่องต่อไปนี้หรือไม่ 1. เปิดโอกาสให ้นักเรียนเป็นผู้เลือกหรือตัดสินใจในเนื้อหาสาระที่สนใจ เป็น ประโยชน์ต่อตัว ผู้เรียนหรือไม่ 2. เปิดโอกาสให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได ้คิด ได ้รวบรวม ความรู้และลงมือปฏิบัติจริงด ้วยตนเองหรือไม่
  • 6. 1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญหรือไม่ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบ แนวคิดของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Learner-centered, Student-centred หรือ Child-centered) มีหลักการ ว่า กระบวนการจัดการเรียนการสอนต ้องเน้นให ้ผู้เรียนสามารถแสวงหา ความรู้ และพัฒนาความรู้ได ้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพของตนเอง รวมทั้งสนับสนุนให ้มีการฝึกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทางาน มีการ เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคมและการประยุกต์ใช ้มีการจัดกิจกรรมและ กระบวนการให ้ผู้เรียนได ้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและสร ้างสรรค์สิ่ง ต่างๆ โดยไม่เน้นไปที่การท่องจาเพียงเนื้อหา
  • 7. ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนของครูสมศรีและ วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน จึงไม่สอดคล้องกับการศึกษาใน ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ เหตุผล เพราะว่า ครูสมศรี : มักจะสอนหรือบรรยายให ้นักเรียนจา และสื่อการ สอนที่นามาใช ้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการ ถ่ายทอดความรู้ด ้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบน กระดาน หรือแม ้กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิดให ้นักเรียนได ้เรียน โดย ครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือ สามารถทาให ้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให ้ ได ้มากที่สุด จากความเชื่อและวิธีการสอนของครูสมศรี ขัดแย ้งกับ แนวคิดและหลักการของการจัดการเรียนรู้ ในยุคปฏิรูปการศึกษา อย่างมาก ดังนี้ 1. วิธีการสอนของครูสมศรีจะเน้นการท่องจาเนื้อหาให ้ได ้มาก ที่สุด 2. วิธีการสอนของครูสมศรี คือ การบรรยาย โดยมีสื่อการสอน เป็นเพียงหนังสือเรียน การเขียนบนกระดานดาและการใช ้ วิดิโอ
  • 8. นักเรียน : รอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรม การเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด เรียนไปได ้ไม่นานก็เบื่อ ไม่ กระตือรือร ้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให ้ทาแค่ไหนก็ทาแค่ นั้นพอ วิธีการเรียนของนักเรียน ก็ขัดแย ้งกับแนวคิดและหลักการของ การจัดการเรียนรู้ ในยุคปฏิรูปการศึกษาอย่างมากเช่นกัน ดังนี้ 1. นักเรียนรอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว 2. นักเรียนดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด 3. นักเรียนไม่กระตือรือร ้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให ้ทา แค่ไหนก็ทาแค่นั้นพอ
  • 9. 2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการ เปลี่ยนแปลงทางด ้านใดบ ้าง พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน 1. การเปลี่ยนแปลงด ้านการเรียนการสอน เนื่องจากในปัจจุบัน กระแสการเปลี่ยนแปลงด ้านต่างๆเกิดขึ้น อย่างรวดเร็ว ซึ่งเข ้ามามีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์เป็น อย่างมาก ดังนั้นการศึกษาจึงต ้องปรับเปลี่ยนให ้ทันและสอดคล ้อง กับการเปลี่ยนแปลงของชาตอและสังคมโลก ซึ่งทาให ้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในด ้านการเรียนการสอนด ้านการเรียน การสอน ดังนี้ 1. การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช ้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ต่างๆ ให ้เป็นประโยชน์ 2. ฝึกให ้นักเรียนให ้คิดเป็น แก ้ปัญหาเป็น และสามารถศึกษา ด ้วยตนเองได ้
  • 10. 2. การเปลี่ยนแปลงบทบาทของผู้เรียน ในสังคมโลกปัจจุบันพบว่า ความต ้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น แม ้ว่าครั้งหนึ่งอาจจะมีการตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจามามาก แต่ ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริงต ้องการบุคคลที่มี ความสามารถในการใช ้ ทักษะการให ้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อการแก ้ปัญหาที่ซับซ ้อน ซึ่ง พบว่า ความสามารถในทักษะดังกล่าวที่จะนามาใช ้ในการแก ้ปัญหาไม่ ค่อยปรากฏให ้เห็น หรือมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน แนวคิดเกี่ยวกับผู้เรียน จึงต ้องเปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่ จึงเป็นสาเหตุที่ทาให ้เกิดการ เปลี่ยนแปลงบทบาทผู้เรียน ดังนี้ 1. เป็นผู้ร่วมเรียนรู้อย่างตื่นตัวในกระบวนการเรียนรู้ 2. เป็นผู้สร ้างและแลกเปลี่ยน ความรู้ร่วมกับเพื่อนในชั้นแบบ ผู้เชี่ยวชาญ 3. เป็นการร่วมมือกันเรียนรู้กับผู้เรียนอื่นๆ
  • 11. 3. การเปลี่ยนแปลงบทบาทของครูผู้สอน ในปัจจุบัน เป็นยุคที่การศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากที่ครู เคยเป็นเพียงผู้ถ่ายถอดความรู้ให ้นักเรียนเพียงอย่างเดียว ซึ่งทา ให ้นักเรียนไม่เกิดความกระตือรือร ้นในการหาความรู้ใหม่ด ้วย ตนเอง ครูจึงต ้องมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่ให ้สอดคล ้อง กับยุคปฏิรูปการศึกษาด ้วย เพื่อให ้การจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ดังนี้ 1. เป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วมแก ้ปัญหา โค ้ช ชี้นาความรู้ และผู้ร่วมเรียนรู้ 2. เป็นผู้จัดเตรียมหรือให ้สิ่งที่ ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของผู้ เรียนอย่างหลากหลาย
  • 12. 3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ให ้เหมาะสมกับยุคปฏิรูป การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูถือว่าเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการปฏิรูปการเรียนรู้ ครูต ้องปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอนจากเดิมที่สอนหนังสือ ต ้องเปลี่ยนเป็นการสอนคน เพราะปัจจุบันนี้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ได ้ด ้วยตนเองจากสื่อต่าง ๆ ทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หนังสือตาราเรียน และรวมทั้งความรู้ทางอินเตอร์เน็ต วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีหลากหลายวิธี ดังนี้ การเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ มีหลายรูปแบบ และหลายวิธีด ้วยกัน ซึ่งจะขอ นาเสนอไว ้เฉพาะชื่อ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาค ้นคว ้า และทาความเข ้าใจให ้ถ่องแท ้ ครบถ ้วนสืบไปดังนี้ ( กรมวิชาการ 2539. และ Apel and Comozzi . 1996 : 98 – 139 )
  • 13. วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีหลากหลายวิธี ดังนี้ เกมการศึกษา ( Educational Game ) สถานการณ์จาลอง ( Simulation ) กรณีตัวอย่าง ( Case Study ) บทบาทสมมุติ ( Role - Play ) โปรแกรมสาเร็จรูป ( Programme Instruction ) ศูนย์การเรียน ( Learning Centre ) ชุดการสอน ( Instructional Package ) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted ) โครงงาน ( Project ) การทดลอง ( Experimentary ) การใช ้คาถาม อภิปรายกลุ่มย่อย ( Small Group Discuss ) การแก ้ปัญหา ( Problem - Solving ) สืบสวนสอบสวน ( Inquiry ) กลุ่มสืบค ้นความรู้ (Group Investication ) การเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Cooperative Learning ) อริยสัจ 4 ( 4 Noble Truth Method ) ทัศนศึกษานอกสถานที่ ( Field Trip ) โมเดลซิปปา (CIPPA Model)
  • 14. โมเดลซิปปา ( CIPPA Model ) เป็นหลักการซึ่งสามารถนาไปใช ้เป็นหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ให ้แก่ ผู้เรียน การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA” นี้สามารถใช ้วิธีการและ กระบวนการที่หลากหลาย ซึ่งอาจจัดเป็นแบบแผนได ้หลายรูปแบบ มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การทบทวนความรู้เดิม - ดึงความรู้เดิมของผู้เรียนในเรื่องที่จะเรียน เพื่อช่วยให ้ผู้เรียนมีความพร ้อมในการ เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน ขั้นที่ 2 การแสวงหาความรู้ใหม่ - ผู้เรียนแสวงหาข ้อมูลความรู้ใหม่จากแหล่งความรู้ต่างๆ ขั้นที่ 3 การศึกษาทาความเข ้าใจข ้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยง ความรู้ใหม่ กับความรู้เดิม ขั้นที่ 4 การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข ้าใจกับกลุ่ม - ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือในการตรวจสภาพความรู้ ความเข ้าใจของตน ขั้นที่ 5 การสรุปและการจัดระเบียบความรู้ - ผู้เรียนสรุปความรู้ที่ได ้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและ ความรู้ใหม่ ขั้นที่ 6 การปฏิบัติ และ / หรือการแสดงผลงานผู้เรียนลงมือปฏิบัติและแสดงผล งานที่ได ้ปฏิบัติ ขั้นที่ 7 การประยุกต์ใช ้ความรู้ - ผู้เรียนนาความรู้ความเข ้าใจของตนเองไปใช ้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
  • 15. ขั้นตอนที่ 1 – 6 เป็นกระบวนการของการสร ้างความรู้ ( Construction of knowledge ) ซึ่งครูสามารถจัดกิจกรรมให ้ ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( Interaction ) และฝึกฝนทักษะกระบวนการต่าง ๆ ( Process learning ) อย่าง ต่อเนื่อง เนื่องจากขั้นตอนแต่ละขั้นตอนช่วยให ้ผู้เรียนได ้ทากิจกรรม หลากหลาย มีลักษณะให ้ผู้เรียนได ้มีเคลื่อนไหวทางกาย ทางสติปัญญา ทางอารมณ์ และทางสังคม อย่างเหมาะสม อันช่วยให ้ ผู้เรียนตื่นตัว ( Active ) สามารถรับรู้และเรียนรู้ได ้อย่างดี จึงกล่าวได ้ ขั้นตอนทั้ง 6 มีคุณสมบัติตามหลัก “CIPPA” ส่วนขั้นตอนที่ 7 เป็น ขั้นตอนที่ช่วยให ้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช ้( Application ) จึงทาให ้ได ้ รูปแบบที่มีคุณสมบัติครบตามหลัก “CIPPA”
  • 16. การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้นก็คือ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้น ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ การจัดการเรียนการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช ้ CIPPA Model สามารถช่วยให ้ผู้เรียนได ้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งทางด ้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ ดังนี้
  • 17. C มาจากคาว่า Construct ซึ่งหมายถึง การสร ้างความรู้ตามแนวคิดของปรัชญา Constructivism กล่าวคือ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให ้ผู้เรียนมีโอกาส สร ้างความรู้ด ้วยตนเอง ซึ่งจะทาให ้ผู้เรียนมีความเข ้าใจและเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อ ตนเอง การที่ผู้เรียนมีโอกาสได ้สร ้างความรู้ด ้วยตนเองนี้เป็นกิจกรรมที่ช่วยให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ทาง สติปัญญา I มาจากคาว่า Interaction ซึ่งหมายถึง การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือสิ่งแวดล ้อม รอบตัวกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี จะต ้องเปิดโอกาสให ้ผู้เรียนได ้เคลื่อนไหวทางร่างกาย โดยการ ทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ P มาจากคาว่า Physical Participation ซึ่งหมายถึง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ เรียนรู้ทางกาย คือ ผู้เรียนมีโอกาสได ้เคลื่อนไหวร่างกาย โดยทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้กระบวนการต่างๆ กิจกรรม การเรียนรู้ที่ดีควรเปิดโอกาสให ้ผู้เรียนได ้เรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิต เช่น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการแก ้ปัญหา กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการพัฒนาตนเอง เป็นต ้น การเรียนรู้กระบวนการเป็นสิ่งที่สาคัญเช่นเดียวกับการ เรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆ การเรียนรู้ทางด ้านกระบวนการ เป็นการช่วยให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทาง สติปัญญาอีกทางหนึ่ง A มาจากคาว่า Application หมายถึง การนาความรู้ที่ได ้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช ้ซึ่งจะ ช่วยให ้ผู้เรียนได ้รับประโยชน์จากการเรียน และช่วยให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ กิจกรรม การเรียนรู้ที่มีแต่เพียงการสอนเนื้อหาสาระให ้ผู้เรียนเข ้าใจ โดยขาดกิจกรรมการนา ความรู้ไปประยุกต์ใช ้จะทาให ้ผู้เรียนขาดการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกับการปฏิบัติ ซึ่งจะทา ให ้การเรียนรู้ไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร การจัดกิจกรรมที่ช่วยให ้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไป ประยุกต์ใช ้นี้ เท่ากับเป็นการช่วยให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ด ้านใดด ้านหนึ่งหรือ หลายๆ ด ้าน แล ้วแต่ลักษณะของสาระและกิจกรรมที่จัด