SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Introduction to Information Technology


                          ระบบคอมพิ ว เตอร์

ยุ ค ของคอมพิ ว เตอร์
١. ยุคที่หนึ่ง (First Generation)
         ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. ١٩٤٤ เป็นต้นมา หรือประมาณปี พ.ศ. ٢
٢٥٠٢ – ٤٩٤ เทคโนโลยีที่ใช้สร้างคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะใช้หลอด
สุ ญ ญากาศ และวงจรไฟฟ้ า ซึ่ ง ต้ อ งใช้ พ ลั ง ความร้ อ นในขณะ
ทำา งานสู ง ดั ง นั้ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ใ นยุ ค นี้ จึ งมี ข นาดใหญ่ แ ละ
ต้องใช้เครื่องปรับอากาศมาช่วยในการระบายความร้อน นอกจาก
นั้ น ยั ง มี ก ารใช้ เ ทปกระดาษหรื อ บั ต รเจาะรู ใ นการรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล
สำา หรั บ ปั ญ หาที่ เกิ ด ในยุ ค นี้ จ ะเป็ น ปั ญ หาในด้ านการบำา รุ งรั ก ษา
และการซ่อมแซมเครื่องเพื่อให้เครื่องสามารถทำา งานได้ นอกจาก
นั้นการใช้คำาสั่งในการสั่งงานก็ค่อนข้างยาก เพราะส่วนมากแล้ว
ใ น ก า ร ทำา ง า น ต้ อ ง สั่ ง ง า น โ ด ย ใ ช้ ภ า ษ า เ ค รื่ อ ง (Machine
Language) ซึ่งจะถือเป็นภาษาระดับตำ่า รหัสคำา สั่งต่าง ๆจะจดจำา
ค่อนข้างยาก การใช้งานคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ส่วนใหญ่จะเป็นงาน
ทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ส่วนงานทางด้านธุรกิจมี
การเริ่มใช้ในยุคนี้เช่นกัน แต่มีการใช้ที่ค่อนข้างน้อย

٢. ยุคที่สอง (Second Generation)
       ยุ คนี้ เริ่ มในปี ค.ศ. ١٩٥٧ หรือประมาณปี พ.ศ. ٢٥٠٧ -٢٥٠٢
ในยุ ค นี้ ไ ด้ มี การริ เริ่ ม นำา เอาทรานซิ ส เตอร์ (Transistor) และได
โอด (Diodes) มาใช้แทนหลอดสุญญากาศ ซึ่งมีขนาดเล็ก มีราคา
ถูกลงและทำางานได้เร็วขึ้น ขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์จึงเล็กลง
ตามไปด้ ว ย ในการทำา งานจะใช้ ว งแหวนแม่ เ หล็ ก สำา หรั บ เก็ บ
ข้อมูลและใช้เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กเป็นสื่อในการรับส่งข้อมูล
นอกจากนั้นยังมีการเพิ่มอุปกรณ์ ในการรับข้อมูล และอุปกรณ์ใน
การแสดงผลลั พ ธ์ อี กมากมาย มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ จานแม่ เ หล็ ก
บัตรเจาะรู จอภาพ และแป้นพิมพ์เป็นเครื่องปลายทาง ในยุคนี้ได้
เปลี่ยนจากการสั่งงานด้วยภาษาเครื่องเป็นการใช้สัญลักษณ์แทน
จึงทำาให้การสั่งงานง่ายขึ้นและมีภาษาระดับสูงบางภาษาเกิดขึ้นใน
ยุคนี้เช่นกัน

٣. ยุคที่สาม (Third Generation)
     เริ่มในปี ค.ศ. ١٩٦٥ ในยุคนี้มีการนำาเอาวงจรผนึกมาใช้แทน
ทรานซิ ส เตอร์ ทำา ให้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นยุ ค นี้ มี ข นาดเล็ ก ลงไปอี ก
ความเร็ ว ก็ สู ง ขึ้ น และราคาก็ ล ดลงไปอี ก มี ก ารพั ฒ นาโปรแกรม

                                                                             1
Introduction to Information Technology


กว้างขวางขึ้น และมีการเริ่มใช้ภาษาระดับสูงมาช่วยในการเขียน
โปรแกรม จึ ง มี ห ลายบริ ษั ท เริ่ ม ผลิ ต โปรแกรมสำา เร็ จ รู ป มาใช้ ใ น
การทำางาน


٤. ยุคที่สี่ (Fourth Generation)
       เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. ١٩٧٦ มีการนำาเอาแผงวงจรรวมมาใช้แทน
วงจรผนึก และมีการปรับปรุ งอุปกรณ์อื่น ๆ ให้มีความสามารถสูง
ขึ้น จึงทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้เร็วขึ้น นอกจากนั้นยัง
มี ก ารเปลี่ ย นหน่ ว ยความจำา จากวงแหวนแม่ เ หล็ ก มาเป็ น หน่ ว ย
ความจำา สารกึ่ งตั ว นำา มี การผลิ ต ไมโครโพรเซสเซอร์ ขึ้ น ทำา ให้ มี
การสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (Minicomputer) และขนาดเล็ก
(Microcomputer) ขึ้ นมาเพื่ อ ขาย ความเหมาะสมในการใช้ ง าน
ในแต่ ล ะประเภท ในยุ ค นี้ มี ป ระชาชนสนใจคอมพิ ว เตอร์ ม ากขึ้ น
ทำาให้มีการใช้อย่างแพร่หลายในหมู่ประชาชนทั่วไป ไม่ว่าจะเป็น
นักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย์ นายแพทย์ นักธุรกิจ เป็นต้น

วิ ว ั ฒ นาการของคอมพิ ว เตอร์
         นั บ ตั้ ง แต่ อ ดี ต มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น จะพบว่ า คอมพิ ว เตอร์ มี
วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปมากทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และทางด้าน
ซอฟต์ แวร์ เพื่ อ ให้ ทั นสมั ย และรวดเร็ ว ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ สำา หรั บ
การเปลี่ ย นแปลงทางด้ า นฮาร์ ด แวร์ นั้น ได้ มี วิ วั ฒ นาการหรื อ การ
เปลี่ยนแปลงดังนี้
ปี ค.ศ. ١٩٨١             ได้ผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นไอบีเอ็มพีซี
                  ขึ้น โดยบริษัทอินเทล ในรุ่นนี้ใช้ CPU เบอร์ ٨٠٨٨ ซึ่ง
                  ถือว่าเป็นต้นกำาเนิดของเครื่องพีซีในปัจจุบัน
ปี ค.ศ. ١٩٨٢             ไ ด้ พั ฒ น า เ ป็ น รุ่ น ไ อ บี เ อ็ ม พี ซี เ อ็ ก ซ์ ที (IBM
                  PC/XT) มี ก ารออกแบบวงจรภายในใหม่ ให้ มี ข นาด
                  เล็กลงและทำางานรวดเร็วขึ้น แต่ยังคงใช้ CPU เบอร์ ٨
                  ٠٨٨ ของอินเทล เครื่องรุ่นนี้สามารถติดตั้งฮาร์ดดิสก์ได้
                  มีการเปลี่ยนไปจากเดิม คือ ٨ เซกเตอร์ต่อแทรก เป็น ٩
                  เซกเตอร์ต่อแทรก ทำาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
                  เป็น ٣٦٠ กิโลไบต์
ปี ค.ศ. ١٩٨٥             ได้ พั ฒ นาเป็ น รุ่ น ไอบี เ อ็ ม พี ซี เ อที (IBM PC/AT)
                  ในรุ่ นนี้ ได้ เปลี่ ย นไปใช้ CPU เบอร์ ٨٠٢٨٦ ซึ่ งเป็ น ตั ว
                  ใหม่ ข องบริ ษั ท อิ น เทลในการเก็ บ ข้ อ มู ล ก็ มี ก ารเพิ่ ม
                  ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ให้ มี ค วามจุ เ พิ่ ม ขึ้ น เป็ น ٢٠ เมกะไบต์

                                                                                       2
Introduction to Information Technology


           ฟลอปปี ดิ ส ก์ ก็ ส ามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ ถึ ง ١.٢ เมกะไบต์
           ทำา ให้มีประสิทธิภาพสูงและทำา งานเร็วกว่ารุ่นไอบีเอ็ม
           เอ็กซ์ที
ปี ค.ศ. ١٩٨٧        บริษัทไอบีเอ็มได้สร้างคอมพิวเตอร์รุ่น PS/2 ขึ้น
           ม า ใ น รุ่ น นี้ ฮ า ร์ ด ดิ ส ก์ จ ะ มี ค ว า ม จุ ม า ก ขึ้ น
           ฟลอปปีดิสก์ก็เพิ่มความจุจากเดิม ٧٢٠ กิโลไบต์ เป็น ١.
           ٤٤ เมกะไบต์ และเปลี่ยนเป็นแผ่นดิสก์ขนาด ٣.٥ นิ้ว
ปีต่อมา    ได้พัฒนาเป็นเครื่องมือที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์เบอร์ ٨
           ٠ ٣ ٨ ٦ ข อ ง อิ น เ ท ล ซึ่ ง มี ข น า ด ٣ ٢ บิ ต แ ล ะ มี
           ประสิท ธิภาพสูงกว่าเครื่อ งเอที มาก แต่ ก็มี ปัญ หาหนึ่ ง
           ของเครื่อง ٣٨٦ คือระบบปฏิบัติการและแอพพลิเคชั่นที่
           ผ่ า นมาถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาบนเครื่ อ งพี ซี ธ รรมดาเท่ า นั้ น
           โปรแกรมเหล่านั้นจึงไม่สามารถใช้ความสามารถของ
           ซี พี ยู ٨٠٣٨٦ ได้ เ ต็ ม ที่ นั ก จะมี ก็ แ ต่ ค วามเร็ ว ที่ สู ง ขึ้ น
           เท่านั้น
ปัจจุบัน   บริษัท อินเทล ได้พัฒนาเครื่องพีซี ٥٨٦ (Pentium) ขึ้น
           มา เพื่ อ การใช้ ง านกั บ แอพพลิ เ คชั่ น บนวิ น โดวส์ โ ดย
           เฉพาะและรองรั บ ความเร็ ว ของซี พี ยู ไ ด้ สำา หรั บ ใน
           ปั จ จุ บั น รุ่ น นี้ เ ป็ น รุ่ น ที่ กำา ลั ง ได้ รั บ ความนิ ย มในการ
           ทำางานค่อนข้างสูง

ประเภทของคอมพิ ว เตอร์
         คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุ บันนี้ จะพบว่ามีหลาย
ประเภทหลายแบบ ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกได้ตามความต้องการ แต่
ถ้ า ต้ อ งการแบ่ ง ประเภทของคอมพิ ว เตอร์ ต ามการสร้ า งแล้ ว
สามารถแบ่งออกได้เป็น ٣ ประเภท คือ
         1. ดิจิตอล (Digital Computer)
         2. อนาลอก (Analog Computer)
         3. ผสม (Hybrid Computer)

      สำา หรั บ การแบ่ ง ประเภทของคอมพิ ว เตอร์ นั้ น มั ก จะดู จ าก
ลั ก ษณะการทำา งานมาเป็ น เกณฑ์ ใ นการแบ่ ง ซึ่ ง อาจจะดู จ าก
ประเภทของข้ อ มู ล ที่ รั บ เข้ า มาประมวลผลว่ า เป็ น ข้ อ มู ล ชนิ ด ใด
นอกจากนั้นยังดูถึงการเก็บข้อมูล การแสดงข้อมูล และการนำา ไป
ประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านอี ก ด้ ว ย สำา หรั บ การทำา งานและข้ อ แตกต่ า งของ
คอมพิวเตอร์ทั้ง ٣ ประเภท มีดังนี้
١. คอมพิวเตอร์ชนิดดิจิตอล (Digital computer)

                                                                                  3
Introduction to Information Technology


      คอมพิ ว เตอร์ ช นิ ด ดิ จิ ต อลเป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี ก าร
คำานวณโดยการนับจำา นวนโดยตรง ข้อมูลที่นับได้จะเก็บเป็นรหัส
ตั วเลขฐาน ٢ คื อ มีเลข ٠ กับ เลข ١ การประมวลผลจะทำา งานต่ อ
เนื่องกันไป และมีการเก็บ ข้อ มูล ไว้ ให้อ ย่างถู ก ต้อ งแม่ น ยำา ซึ่งจะ
ขึ้นอยู่กับงานที่นำา ไปใช้ด้วย เช่น ใช้ในการจองสายการบิน การ
ควบคุมการยิงขีปนาวุธ การพยากรณ์สภาพภูมิอากาศ เป็นต้น

٢. คอมพิวเตอร์ชนิดอนาลอก (Analog Computer)
      คอมพิวเตอร์ชนิดอนาลอกเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ทำา งาน
โดยการรับข้อมูลแบบวัดจำานวนที่ต่อเนื่องกัน ซึ่งจะนำาข้อมูลที่วัด
ได้มาแปลงเป็นค่าตัวเลข เช่น การวัดอุณหภูมิของอากาศ การวัด
แรงดันไฟฟ้า การวัดความดังของเสียงเครื่องยนต์ การวัดปริมาณ
อากาศที่เป็นพิษ เป็นต้น ซึ่งผลจากการวัดที่ได้จะมีความละเอียด
ค่ อ นข้ า งมาก จึ ง เหมาะกั บ งานทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ วิ ศ วกรรม
และทางด้านคณิตศาสตร์ เนื่องจากงานเหล่านี้จะต้องใช้ค่าตัวเลข
ที่ละเอียด มีจุดทศนิยมหลายตำาแหน่ง

٣. คอมพิวเตอร์แบบผสม (Hybrid Computer)
      คอมพิ ว เตอร์ แบบผสมเป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ นำา ลั ก ษณะ
การทำา งานแบบดิจิตอลและแบบอนาลอกมาผสมกัน ลักษณะการ
ทำา งานของคอมพิว เตอร์ แ บบนี้ จะมี ก ารรั บข้ อมู ลเข้ าเครื่ อ งหรื อ มี
การแสดงผลข้อมูลออกมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์
แบบนี้ยังมีความสามารถในด้านการคำานวณที่ถูกต้องแม่นยำา และ
สามารถทำางานตามโปรแกรมที่ซับซ้อนได้
      สำาหรับงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์แบบผสม หรือไฮบริดนั้น มัก
จะเป็ น งานเฉพาะด้ า น เช่ น งานทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ การฝึ ก
นักบิน ใช้ในการควบคุมการทำางานด้านอุตสาหกรรม หรืออาจจะ
ใช้ในวงการแพทย์ เป็นต้น

ขนาดของคอมพิ ว เตอร์
         การแบ่งคอมพิวเตอร์ออกตามขนาดนั้น ไม่ได้แบ่งว่ามีขนาด
ใหญ่หรือเล็ก แต่จะแบ่งจากขนาดของหน่วยความจำาและอุปกรณ์
ที่ ใช้ ในการรั บ และแสดงข้อ มูล ดังนั้น การที่จ ะเลื อกคอมพิ ว เตอร์
ขนาดใดมาใช้งานนั้น จะต้องคำานึ่งถึงงานด้วยว่า มีความซับซ้อน
ยุ่งยาก ต้องใช้หน่วยความจำาในการเก็บข้อมูลมากหรือไม่ ถ้าเรามี
การเลือกขนาดคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับงานแล้ว งานที่ได้ก็จะมี



                                                                            4
Introduction to Information Technology


ประสิทธิภาพสูงและได้ผลรวดเร็ว ถูกต้อง ขนาดของคอมพิวเตอร์
นั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ٤ ขนาดดังนี้
١. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
      เป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด และสามารถ
ประมวลผลได้เร็วที่สุด ซึ่งส่วนมากแล้วจะผลิตมาใช้กับงานเฉพาะ
ด้านเท่านั้น เช่น งานทางวิทยาศาสตร์ที่ยุ่งยากซับซ้อน และต้องมี
การคำา นวณมาก งานออกแบบเครื่ อ งบิ น งานวิ จั ย ทางด้ า น
นิ วเคลี ยร์ ซึ่ งเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ช นิ ด นี้ จ ะมี ร าคาที่ ค่อ นข้ างแพง
มาก ดังนั้นจึงมีใช้ไม่แพร่หลายมากนัก

٢. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Miainframe Computer)
     เป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ข นาดใหญ่ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มี
ความเร็ ว ในการทำา งานและมี ห น่ ว ยความจำา สู ง มาก เหมาะกั บ
หน่วยงานขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร

٣. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
       เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดรองลงมา มีขนาดหน่วยความ
จำา น้อยกว่า ٢ แบบแรก แต่ก็มีความรวดเร็วในการประมวลผลสูง
มักจะใช้กับงานที่มีข้อมูลไม่มาก เช่น การควบคุมอุปกรณ์ในการ
ทดลอง การควบคุมเครื่องจักรในโรงงาน เป็นต้น

٤. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
       เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุด แต่ก็มีประสิทธิภาพ
สูง ปัจจุบันเป็นเครื่องที่นิยมใช้กันมาก เนื่องจากมีขนาดเล็ก มีนำ้า
หนักเบา ราคาไม่แพง สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่ายและสะดวก บาง
รุ่นมีลักษณะเป็นกระเป๋าหิ้วหรือที่เรียกว่า Note Book สามารถพก
พาได้ สำา หรั บ งานที่ จ ะใช้ กั บ เครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร์ นั้ น ส่ ว น
มากแล้วจะเป็นงานไม่ใหญ่มาก เช่น งานในสำานักงานทั่วไป งาน
เก็บข้อมูลต่าง ๆ ปัจจุบันนี้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีการพัฒนา
ออกแบบหลายแบบหลายรุ่ น เพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ เ ลื อ กซื้ อ ได้ แ ละมี ก าร
พัฒนารุ่นต่าง ๆ ออกมาอยู่ตลอดเวลา

ส่ ว นประกอบของ Computer
        เครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าจะทำางานได้นั้นจะต้องประกอบไปด้วย
ส่ ว นประกอบ ٣ ส่ ว น ใหญ่ ๆ ด้ ว ยกั น คื อ ส่ ว นแรกนั้ น จะเป็ น ตั ว
เครื่ อ งหรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า ฮาร์ ด แวร์ (Hardware) ซึ่ ง ประกอบไป
ด้วย จอภาพ ชุดซีพียู คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และแผ่นดิสก์ ส่วนที่ ٢

                                                                              5
Introduction to Information Technology


เรียกว่า ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งหมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ ที่ไว้
ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำา งานตามที่เราต้องการ ส่วนสุดท้าย เรียก
ว่า พีเพิลแวร์ (Peopleware) ซึ่งส่วนนี้จะหมายถึง บุคคลที่มีหน้า
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ คอมพิ ว เตอร์ ไม่ ว่ า จะเป็ น พนั ก งานป้ อ นข้ อ มู ล นั ก
เขี ย นโปรแกรม หรื อ นั ก วิ เ คราะห์ อ อกแบบระบบงานต่ า ง ๆ บน
คอมพิวเตอร์ ทั้ง ٣ ส่วนนี้เป็นส่วนประกอบที่สำาคัญของ Computer
ถ้าขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปแล้ว Computer ก็ไม่สามารถใช้งานได้
เลย สำาหรับในบทนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดของฮาร์ดแวร์ ซึ่งมีส่วน
ประกอบดังต่อไปนี้

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
     หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบไปด้วย
หน่วยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ
           หน่ ว ยรั บ ข้ อ มู ล (Input Unit) ทำา หน้ า ที่ ใ นการรั บ
           ข้ อ มู ล ที่ บั นทึ ก ไว้ ใ นสื่ อ ต่ า ง ๆ เข้ า ไปเก็ บ ไว้ ใ นหน่ ว ย
           ความจำา สำาหรับอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูล
           ไ ด้ แ ก่ Keyboard, Disk Drive, Magnetic Tape,
           Card Reader, Mouse, Touch Screen                                  แ ล ะ
           Scanner เป็นต้น
            หน่ ว ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
           ทำา หน้าที่ในการคำา นวณและประมวลผล ซึ่งถือว่าเป็น
           ส่วนที่สำา คัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ สำา หรับในหน่วยนี้
           มี ห น้ า ที่ ٢ อย่ า งคื อ ควบคุ ม การทำา งาน คำา นวณและ
           ตรรก อุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่นี้ได้แก่ CPU
              หน่วยความจำา (Memory Unit) ทำา หน้าที่เ ก็บ ข้อ มูล
           และคำา สั่งต่ าง ๆ ที่ส่งมาจากหน่ว ยรับ ข้อ มูล หรื อส่ งมา
           จากหน่วยประมวลผลกลางมาเก็บไว้ เพื่อรอการเรียก
           ใช้หรือรอการประมวลผลภายหลัง สำาหรับหน่วยความ
           จำา แบ่งเป็นหน่วยความจำา หลัก ซึ่งในที่นี้คือ ROM กับ
           RAM และหน่วยความจำาสำารอง ซึ่งได้แก่ เทปแม่เหล็ก,
           Disk, Tape เป็นต้น
              หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) ทำาหน้าที่ในการ
           แสดงผลลั พธ์ ที่ได้ม าจากกรประมวลผล อุ ป กรณ์ ที่ ทำา
           ห น้ า ที่ เ ป็ น ห น่ ว ย แ ส ด ง ผ ล ลั พ ธ์ ไ ด้ แ ก่ Monitor,
           Printer, Diskette, CD-ROM, Plotter, Disk Drive
           และ Magnetic Tape เป็นต้น


                                                                                  6

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)Phongsakorn Wisetthon
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Mayuree Srikulwong
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์Supitcha Kietkittinan
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 

La actualidad más candente (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
Introduction to Computer and Software คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและซอฟแวร์ (ภาษาไทย)
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
computer
computercomputer
computer
 

Destacado

บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Alena_Stog
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตPokypoky Leonardo
 
OIA administration
OIA administrationOIA administration
OIA administrationtechmeonline
 
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...vincenzo santalucia
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Alena_Stog
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำPokypoky Leonardo
 
General Overview of Gil University
General Overview of Gil UniversityGeneral Overview of Gil University
General Overview of Gil Universitytommo42
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 

Destacado (17)

Marshmallow design challenge
Marshmallow design challengeMarshmallow design challenge
Marshmallow design challenge
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
 
Roba
RobaRoba
Roba
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
 
OIA administration
OIA administrationOIA administration
OIA administration
 
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
KrutoTop.com
KrutoTop.comKrutoTop.com
KrutoTop.com
 
Preposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativoPreposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativo
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำ
 
General Overview of Gil University
General Overview of Gil UniversityGeneral Overview of Gil University
General Overview of Gil University
 
Gameplay Concept Tool
Gameplay Concept ToolGameplay Concept Tool
Gameplay Concept Tool
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 

Similar a บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์

Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์
ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์
ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์sak1459
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลparinee
 
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]Nattapon
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์Wangwiset School
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์okbeer
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันkanit087
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Oat_zestful
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์runjaun
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 

Similar a บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์ (20)

Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์
ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์
ประวัติยุคของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์

  • 1. Introduction to Information Technology ระบบคอมพิ ว เตอร์ ยุ ค ของคอมพิ ว เตอร์ ١. ยุคที่หนึ่ง (First Generation) ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. ١٩٤٤ เป็นต้นมา หรือประมาณปี พ.ศ. ٢ ٢٥٠٢ – ٤٩٤ เทคโนโลยีที่ใช้สร้างคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะใช้หลอด สุ ญ ญากาศ และวงจรไฟฟ้ า ซึ่ ง ต้ อ งใช้ พ ลั ง ความร้ อ นในขณะ ทำา งานสู ง ดั ง นั้ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ใ นยุ ค นี้ จึ งมี ข นาดใหญ่ แ ละ ต้องใช้เครื่องปรับอากาศมาช่วยในการระบายความร้อน นอกจาก นั้ น ยั ง มี ก ารใช้ เ ทปกระดาษหรื อ บั ต รเจาะรู ใ นการรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล สำา หรั บ ปั ญ หาที่ เกิ ด ในยุ ค นี้ จ ะเป็ น ปั ญ หาในด้ านการบำา รุ งรั ก ษา และการซ่อมแซมเครื่องเพื่อให้เครื่องสามารถทำา งานได้ นอกจาก นั้นการใช้คำาสั่งในการสั่งงานก็ค่อนข้างยาก เพราะส่วนมากแล้ว ใ น ก า ร ทำา ง า น ต้ อ ง สั่ ง ง า น โ ด ย ใ ช้ ภ า ษ า เ ค รื่ อ ง (Machine Language) ซึ่งจะถือเป็นภาษาระดับตำ่า รหัสคำา สั่งต่าง ๆจะจดจำา ค่อนข้างยาก การใช้งานคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ส่วนใหญ่จะเป็นงาน ทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ส่วนงานทางด้านธุรกิจมี การเริ่มใช้ในยุคนี้เช่นกัน แต่มีการใช้ที่ค่อนข้างน้อย ٢. ยุคที่สอง (Second Generation) ยุ คนี้ เริ่ มในปี ค.ศ. ١٩٥٧ หรือประมาณปี พ.ศ. ٢٥٠٧ -٢٥٠٢ ในยุ ค นี้ ไ ด้ มี การริ เริ่ ม นำา เอาทรานซิ ส เตอร์ (Transistor) และได โอด (Diodes) มาใช้แทนหลอดสุญญากาศ ซึ่งมีขนาดเล็ก มีราคา ถูกลงและทำางานได้เร็วขึ้น ขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์จึงเล็กลง ตามไปด้ ว ย ในการทำา งานจะใช้ ว งแหวนแม่ เ หล็ ก สำา หรั บ เก็ บ ข้อมูลและใช้เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กเป็นสื่อในการรับส่งข้อมูล นอกจากนั้นยังมีการเพิ่มอุปกรณ์ ในการรับข้อมูล และอุปกรณ์ใน การแสดงผลลั พ ธ์ อี กมากมาย มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ จานแม่ เ หล็ ก บัตรเจาะรู จอภาพ และแป้นพิมพ์เป็นเครื่องปลายทาง ในยุคนี้ได้ เปลี่ยนจากการสั่งงานด้วยภาษาเครื่องเป็นการใช้สัญลักษณ์แทน จึงทำาให้การสั่งงานง่ายขึ้นและมีภาษาระดับสูงบางภาษาเกิดขึ้นใน ยุคนี้เช่นกัน ٣. ยุคที่สาม (Third Generation) เริ่มในปี ค.ศ. ١٩٦٥ ในยุคนี้มีการนำาเอาวงจรผนึกมาใช้แทน ทรานซิ ส เตอร์ ทำา ให้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นยุ ค นี้ มี ข นาดเล็ ก ลงไปอี ก ความเร็ ว ก็ สู ง ขึ้ น และราคาก็ ล ดลงไปอี ก มี ก ารพั ฒ นาโปรแกรม 1
  • 2. Introduction to Information Technology กว้างขวางขึ้น และมีการเริ่มใช้ภาษาระดับสูงมาช่วยในการเขียน โปรแกรม จึ ง มี ห ลายบริ ษั ท เริ่ ม ผลิ ต โปรแกรมสำา เร็ จ รู ป มาใช้ ใ น การทำางาน ٤. ยุคที่สี่ (Fourth Generation) เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. ١٩٧٦ มีการนำาเอาแผงวงจรรวมมาใช้แทน วงจรผนึก และมีการปรับปรุ งอุปกรณ์อื่น ๆ ให้มีความสามารถสูง ขึ้น จึงทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้เร็วขึ้น นอกจากนั้นยัง มี ก ารเปลี่ ย นหน่ ว ยความจำา จากวงแหวนแม่ เ หล็ ก มาเป็ น หน่ ว ย ความจำา สารกึ่ งตั ว นำา มี การผลิ ต ไมโครโพรเซสเซอร์ ขึ้ น ทำา ให้ มี การสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (Minicomputer) และขนาดเล็ก (Microcomputer) ขึ้ นมาเพื่ อ ขาย ความเหมาะสมในการใช้ ง าน ในแต่ ล ะประเภท ในยุ ค นี้ มี ป ระชาชนสนใจคอมพิ ว เตอร์ ม ากขึ้ น ทำาให้มีการใช้อย่างแพร่หลายในหมู่ประชาชนทั่วไป ไม่ว่าจะเป็น นักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย์ นายแพทย์ นักธุรกิจ เป็นต้น วิ ว ั ฒ นาการของคอมพิ ว เตอร์ นั บ ตั้ ง แต่ อ ดี ต มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น จะพบว่ า คอมพิ ว เตอร์ มี วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปมากทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และทางด้าน ซอฟต์ แวร์ เพื่ อ ให้ ทั นสมั ย และรวดเร็ ว ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ สำา หรั บ การเปลี่ ย นแปลงทางด้ า นฮาร์ ด แวร์ นั้น ได้ มี วิ วั ฒ นาการหรื อ การ เปลี่ยนแปลงดังนี้ ปี ค.ศ. ١٩٨١ ได้ผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นไอบีเอ็มพีซี ขึ้น โดยบริษัทอินเทล ในรุ่นนี้ใช้ CPU เบอร์ ٨٠٨٨ ซึ่ง ถือว่าเป็นต้นกำาเนิดของเครื่องพีซีในปัจจุบัน ปี ค.ศ. ١٩٨٢ ไ ด้ พั ฒ น า เ ป็ น รุ่ น ไ อ บี เ อ็ ม พี ซี เ อ็ ก ซ์ ที (IBM PC/XT) มี ก ารออกแบบวงจรภายในใหม่ ให้ มี ข นาด เล็กลงและทำางานรวดเร็วขึ้น แต่ยังคงใช้ CPU เบอร์ ٨ ٠٨٨ ของอินเทล เครื่องรุ่นนี้สามารถติดตั้งฮาร์ดดิสก์ได้ มีการเปลี่ยนไปจากเดิม คือ ٨ เซกเตอร์ต่อแทรก เป็น ٩ เซกเตอร์ต่อแทรก ทำาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เป็น ٣٦٠ กิโลไบต์ ปี ค.ศ. ١٩٨٥ ได้ พั ฒ นาเป็ น รุ่ น ไอบี เ อ็ ม พี ซี เ อที (IBM PC/AT) ในรุ่ นนี้ ได้ เปลี่ ย นไปใช้ CPU เบอร์ ٨٠٢٨٦ ซึ่ งเป็ น ตั ว ใหม่ ข องบริ ษั ท อิ น เทลในการเก็ บ ข้ อ มู ล ก็ มี ก ารเพิ่ ม ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ให้ มี ค วามจุ เ พิ่ ม ขึ้ น เป็ น ٢٠ เมกะไบต์ 2
  • 3. Introduction to Information Technology ฟลอปปี ดิ ส ก์ ก็ ส ามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ ถึ ง ١.٢ เมกะไบต์ ทำา ให้มีประสิทธิภาพสูงและทำา งานเร็วกว่ารุ่นไอบีเอ็ม เอ็กซ์ที ปี ค.ศ. ١٩٨٧ บริษัทไอบีเอ็มได้สร้างคอมพิวเตอร์รุ่น PS/2 ขึ้น ม า ใ น รุ่ น นี้ ฮ า ร์ ด ดิ ส ก์ จ ะ มี ค ว า ม จุ ม า ก ขึ้ น ฟลอปปีดิสก์ก็เพิ่มความจุจากเดิม ٧٢٠ กิโลไบต์ เป็น ١. ٤٤ เมกะไบต์ และเปลี่ยนเป็นแผ่นดิสก์ขนาด ٣.٥ นิ้ว ปีต่อมา ได้พัฒนาเป็นเครื่องมือที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์เบอร์ ٨ ٠ ٣ ٨ ٦ ข อ ง อิ น เ ท ล ซึ่ ง มี ข น า ด ٣ ٢ บิ ต แ ล ะ มี ประสิท ธิภาพสูงกว่าเครื่อ งเอที มาก แต่ ก็มี ปัญ หาหนึ่ ง ของเครื่อง ٣٨٦ คือระบบปฏิบัติการและแอพพลิเคชั่นที่ ผ่ า นมาถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาบนเครื่ อ งพี ซี ธ รรมดาเท่ า นั้ น โปรแกรมเหล่านั้นจึงไม่สามารถใช้ความสามารถของ ซี พี ยู ٨٠٣٨٦ ได้ เ ต็ ม ที่ นั ก จะมี ก็ แ ต่ ค วามเร็ ว ที่ สู ง ขึ้ น เท่านั้น ปัจจุบัน บริษัท อินเทล ได้พัฒนาเครื่องพีซี ٥٨٦ (Pentium) ขึ้น มา เพื่ อ การใช้ ง านกั บ แอพพลิ เ คชั่ น บนวิ น โดวส์ โ ดย เฉพาะและรองรั บ ความเร็ ว ของซี พี ยู ไ ด้ สำา หรั บ ใน ปั จ จุ บั น รุ่ น นี้ เ ป็ น รุ่ น ที่ กำา ลั ง ได้ รั บ ความนิ ย มในการ ทำางานค่อนข้างสูง ประเภทของคอมพิ ว เตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุ บันนี้ จะพบว่ามีหลาย ประเภทหลายแบบ ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกได้ตามความต้องการ แต่ ถ้ า ต้ อ งการแบ่ ง ประเภทของคอมพิ ว เตอร์ ต ามการสร้ า งแล้ ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ٣ ประเภท คือ 1. ดิจิตอล (Digital Computer) 2. อนาลอก (Analog Computer) 3. ผสม (Hybrid Computer) สำา หรั บ การแบ่ ง ประเภทของคอมพิ ว เตอร์ นั้ น มั ก จะดู จ าก ลั ก ษณะการทำา งานมาเป็ น เกณฑ์ ใ นการแบ่ ง ซึ่ ง อาจจะดู จ าก ประเภทของข้ อ มู ล ที่ รั บ เข้ า มาประมวลผลว่ า เป็ น ข้ อ มู ล ชนิ ด ใด นอกจากนั้นยังดูถึงการเก็บข้อมูล การแสดงข้อมูล และการนำา ไป ประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านอี ก ด้ ว ย สำา หรั บ การทำา งานและข้ อ แตกต่ า งของ คอมพิวเตอร์ทั้ง ٣ ประเภท มีดังนี้ ١. คอมพิวเตอร์ชนิดดิจิตอล (Digital computer) 3
  • 4. Introduction to Information Technology คอมพิ ว เตอร์ ช นิ ด ดิ จิ ต อลเป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี ก าร คำานวณโดยการนับจำา นวนโดยตรง ข้อมูลที่นับได้จะเก็บเป็นรหัส ตั วเลขฐาน ٢ คื อ มีเลข ٠ กับ เลข ١ การประมวลผลจะทำา งานต่ อ เนื่องกันไป และมีการเก็บ ข้อ มูล ไว้ ให้อ ย่างถู ก ต้อ งแม่ น ยำา ซึ่งจะ ขึ้นอยู่กับงานที่นำา ไปใช้ด้วย เช่น ใช้ในการจองสายการบิน การ ควบคุมการยิงขีปนาวุธ การพยากรณ์สภาพภูมิอากาศ เป็นต้น ٢. คอมพิวเตอร์ชนิดอนาลอก (Analog Computer) คอมพิวเตอร์ชนิดอนาลอกเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ทำา งาน โดยการรับข้อมูลแบบวัดจำานวนที่ต่อเนื่องกัน ซึ่งจะนำาข้อมูลที่วัด ได้มาแปลงเป็นค่าตัวเลข เช่น การวัดอุณหภูมิของอากาศ การวัด แรงดันไฟฟ้า การวัดความดังของเสียงเครื่องยนต์ การวัดปริมาณ อากาศที่เป็นพิษ เป็นต้น ซึ่งผลจากการวัดที่ได้จะมีความละเอียด ค่ อ นข้ า งมาก จึ ง เหมาะกั บ งานทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ วิ ศ วกรรม และทางด้านคณิตศาสตร์ เนื่องจากงานเหล่านี้จะต้องใช้ค่าตัวเลข ที่ละเอียด มีจุดทศนิยมหลายตำาแหน่ง ٣. คอมพิวเตอร์แบบผสม (Hybrid Computer) คอมพิ ว เตอร์ แบบผสมเป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ นำา ลั ก ษณะ การทำา งานแบบดิจิตอลและแบบอนาลอกมาผสมกัน ลักษณะการ ทำา งานของคอมพิว เตอร์ แ บบนี้ จะมี ก ารรั บข้ อมู ลเข้ าเครื่ อ งหรื อ มี การแสดงผลข้อมูลออกมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ แบบนี้ยังมีความสามารถในด้านการคำานวณที่ถูกต้องแม่นยำา และ สามารถทำางานตามโปรแกรมที่ซับซ้อนได้ สำาหรับงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์แบบผสม หรือไฮบริดนั้น มัก จะเป็ น งานเฉพาะด้ า น เช่ น งานทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ การฝึ ก นักบิน ใช้ในการควบคุมการทำางานด้านอุตสาหกรรม หรืออาจจะ ใช้ในวงการแพทย์ เป็นต้น ขนาดของคอมพิ ว เตอร์ การแบ่งคอมพิวเตอร์ออกตามขนาดนั้น ไม่ได้แบ่งว่ามีขนาด ใหญ่หรือเล็ก แต่จะแบ่งจากขนาดของหน่วยความจำาและอุปกรณ์ ที่ ใช้ ในการรั บ และแสดงข้อ มูล ดังนั้น การที่จ ะเลื อกคอมพิ ว เตอร์ ขนาดใดมาใช้งานนั้น จะต้องคำานึ่งถึงงานด้วยว่า มีความซับซ้อน ยุ่งยาก ต้องใช้หน่วยความจำาในการเก็บข้อมูลมากหรือไม่ ถ้าเรามี การเลือกขนาดคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับงานแล้ว งานที่ได้ก็จะมี 4
  • 5. Introduction to Information Technology ประสิทธิภาพสูงและได้ผลรวดเร็ว ถูกต้อง ขนาดของคอมพิวเตอร์ นั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ٤ ขนาดดังนี้ ١. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด และสามารถ ประมวลผลได้เร็วที่สุด ซึ่งส่วนมากแล้วจะผลิตมาใช้กับงานเฉพาะ ด้านเท่านั้น เช่น งานทางวิทยาศาสตร์ที่ยุ่งยากซับซ้อน และต้องมี การคำา นวณมาก งานออกแบบเครื่ อ งบิ น งานวิ จั ย ทางด้ า น นิ วเคลี ยร์ ซึ่ งเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ช นิ ด นี้ จ ะมี ร าคาที่ ค่อ นข้ างแพง มาก ดังนั้นจึงมีใช้ไม่แพร่หลายมากนัก ٢. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Miainframe Computer) เป็ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ข นาดใหญ่ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มี ความเร็ ว ในการทำา งานและมี ห น่ ว ยความจำา สู ง มาก เหมาะกั บ หน่วยงานขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร ٣. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดรองลงมา มีขนาดหน่วยความ จำา น้อยกว่า ٢ แบบแรก แต่ก็มีความรวดเร็วในการประมวลผลสูง มักจะใช้กับงานที่มีข้อมูลไม่มาก เช่น การควบคุมอุปกรณ์ในการ ทดลอง การควบคุมเครื่องจักรในโรงงาน เป็นต้น ٤. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุด แต่ก็มีประสิทธิภาพ สูง ปัจจุบันเป็นเครื่องที่นิยมใช้กันมาก เนื่องจากมีขนาดเล็ก มีนำ้า หนักเบา ราคาไม่แพง สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่ายและสะดวก บาง รุ่นมีลักษณะเป็นกระเป๋าหิ้วหรือที่เรียกว่า Note Book สามารถพก พาได้ สำา หรั บ งานที่ จ ะใช้ กั บ เครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร์ นั้ น ส่ ว น มากแล้วจะเป็นงานไม่ใหญ่มาก เช่น งานในสำานักงานทั่วไป งาน เก็บข้อมูลต่าง ๆ ปัจจุบันนี้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีการพัฒนา ออกแบบหลายแบบหลายรุ่ น เพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ เ ลื อ กซื้ อ ได้ แ ละมี ก าร พัฒนารุ่นต่าง ๆ ออกมาอยู่ตลอดเวลา ส่ ว นประกอบของ Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าจะทำางานได้นั้นจะต้องประกอบไปด้วย ส่ ว นประกอบ ٣ ส่ ว น ใหญ่ ๆ ด้ ว ยกั น คื อ ส่ ว นแรกนั้ น จะเป็ น ตั ว เครื่ อ งหรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า ฮาร์ ด แวร์ (Hardware) ซึ่ ง ประกอบไป ด้วย จอภาพ ชุดซีพียู คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และแผ่นดิสก์ ส่วนที่ ٢ 5
  • 6. Introduction to Information Technology เรียกว่า ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งหมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ ที่ไว้ ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำา งานตามที่เราต้องการ ส่วนสุดท้าย เรียก ว่า พีเพิลแวร์ (Peopleware) ซึ่งส่วนนี้จะหมายถึง บุคคลที่มีหน้า ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ คอมพิ ว เตอร์ ไม่ ว่ า จะเป็ น พนั ก งานป้ อ นข้ อ มู ล นั ก เขี ย นโปรแกรม หรื อ นั ก วิ เ คราะห์ อ อกแบบระบบงานต่ า ง ๆ บน คอมพิวเตอร์ ทั้ง ٣ ส่วนนี้เป็นส่วนประกอบที่สำาคัญของ Computer ถ้าขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปแล้ว Computer ก็ไม่สามารถใช้งานได้ เลย สำาหรับในบทนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดของฮาร์ดแวร์ ซึ่งมีส่วน ประกอบดังต่อไปนี้ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบไปด้วย หน่วยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ หน่ ว ยรั บ ข้ อ มู ล (Input Unit) ทำา หน้ า ที่ ใ นการรั บ ข้ อ มู ล ที่ บั นทึ ก ไว้ ใ นสื่ อ ต่ า ง ๆ เข้ า ไปเก็ บ ไว้ ใ นหน่ ว ย ความจำา สำาหรับอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูล ไ ด้ แ ก่ Keyboard, Disk Drive, Magnetic Tape, Card Reader, Mouse, Touch Screen แ ล ะ Scanner เป็นต้น หน่ ว ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทำา หน้าที่ในการคำา นวณและประมวลผล ซึ่งถือว่าเป็น ส่วนที่สำา คัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ สำา หรับในหน่วยนี้ มี ห น้ า ที่ ٢ อย่ า งคื อ ควบคุ ม การทำา งาน คำา นวณและ ตรรก อุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่นี้ได้แก่ CPU หน่วยความจำา (Memory Unit) ทำา หน้าที่เ ก็บ ข้อ มูล และคำา สั่งต่ าง ๆ ที่ส่งมาจากหน่ว ยรับ ข้อ มูล หรื อส่ งมา จากหน่วยประมวลผลกลางมาเก็บไว้ เพื่อรอการเรียก ใช้หรือรอการประมวลผลภายหลัง สำาหรับหน่วยความ จำา แบ่งเป็นหน่วยความจำา หลัก ซึ่งในที่นี้คือ ROM กับ RAM และหน่วยความจำาสำารอง ซึ่งได้แก่ เทปแม่เหล็ก, Disk, Tape เป็นต้น หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) ทำาหน้าที่ในการ แสดงผลลั พธ์ ที่ได้ม าจากกรประมวลผล อุ ป กรณ์ ที่ ทำา ห น้ า ที่ เ ป็ น ห น่ ว ย แ ส ด ง ผ ล ลั พ ธ์ ไ ด้ แ ก่ Monitor, Printer, Diskette, CD-ROM, Plotter, Disk Drive และ Magnetic Tape เป็นต้น 6