SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
คลื่นวิทยุ
                 นำเสนอ
       อำจำรย์ ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
                  สมำชิก
1.นำงสำว เนตรธำรำ หำทูล ม.4/3 เลขที่ 12
    2.นำยพิทยำ ยอดลำ ม.4/3 เลขที่ 14
คลื่นวิทยุ
• คลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำชนิดหนึ่งที่เกิดขึนในช่วงควำมถี่วิทยุบนเส้น
  สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้ำซึงสำมำรไช้ต้มนำร้อนได้แล้วช่วยลอโลกร้อนได้เป็นกำรบวก
  ที่ดี
• คลื่นวิทยุถูกค้นพบครังแรกระหว่ำงกำรตรวจสอบทำงคณิตศำสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก
  แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบำงประกำรที่
  คล้ำยคลึงกับคลืน และคล้ำยคลึงกับผลกำรเฝ้ำสังเกตกระแสไฟฟ้ำและแม่เหล็ก เขำ
                   ่
  จึงนำเสนอสมกำรที่อธิบำยคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำที่
  เดินทำงในอวกำศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สำธิตสมกำรของแมกซ์เวลล์ว่ำเป็น
  ควำมจริงโดยจำลองกำรสร้ำงคลืนวิทยุขึนในห้องทดลองของเขำ หลังจำกนันก็มี
                                  ่
  สิ่งประดิษฐ์ต่ำงๆ เกิดขึนมำกมำย และทำให้เรำสำมำรถนำคลื่นวิทยุมำใช้ในกำรส่ง
  ข้อมูลผ่ำนห้วงอวกำศได้
ประเภทของคลื่นวิทยุ
• คลื่นวิทยุที่กระจำยออกจำกสำยอำกำศ จะเดินทำงไปทุกทิศทำง ในทุกระนำบ กำรกระจำย
  คลื่นนีมีลักษณะเป็นกำรขยำยตัวของพลังงำนออกเป็นทรงกลม ถ้ำจะพิจำรณำในส่วนของพืนที่
  แทนหน้ำคลื่นจะเห็นได้ว่ำมันพุ่งออกไปเรื่อย ๆ จำกจุดกำเนิด และสำมำรถเขียนแนวทิศทำงเดิน
  ของหน้ำคลื่นได้ด้วยเส้นตรงหรือเส้นรังสี เส้นรังสีที่ลำกจำกสำยอำกำศออกไปจะทำมุมกับระนำบ
  แนวนอน มุมนีเรียกว่ำ มุมแผ่คลื่น อำจมีค่ำเป็นบวก ( มุมเงย ) หรือมีค่ำเป็นลบ ( มุมกดลง ) ก็
  ได้ มุมของกำรแผ่คลื่นนีอำจนำมำใช้เป็นตัวกำหนดประเภทของคลื่นวิทยุได้
     โดยทั่วไปคลื่นวิทยุอำจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ คลื่นดิน (GROUND
  WAVE ) กับคลื่นฟ้ำ (SKY WAVE ) พลังงำนคลื่นวิทยุส่วนใหญ่จะเดินทำงอยู่ใกล้ ๆ ผิว
  โลกหรือเรียกว่ำคลื่นดิน ซึ่งคลื่นนีจะเดินไปตำมส่วนโค้งของโลก คลื่นอีกส่วนที่ออกจำก
  สำยอำกำศ ด้วยมุมแผ่คลื่นเป็นค่ำบวก จะเดินทำงจำกพืนโลกพุ่งไปยังบรรยำกำศจนถึงชันเพดำน
  ฟ้ำและจะสะท้อนกลับลงมำยังโลกนีเรียกว่ำ คลื่นฟ้ำ
•
องค์ประกอบของคลืน
                                              ่
• องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ คลื่นผิวดิน                  คลื่น
  ตรง คลื่นสะท้อนดิน           และคลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์
• คลื่นผิวดิน หมำยถึง คลื่นที่เดินตำมไปยังผิวโลกอำจเป็นผิวดิน หรือผิวนำก็ได้ พิสัยของกำรกระจำย
  คลื่นชนิดนีขึนอยู่กับค่ำควำมนำทำงไฟฟ้ำของผิวที่คลื่นนีเดินทำงผ่ำนไป เพรำะค่ำควำมนำจะเป็นตัว
  กำหนดกำรถูกดูดกลืนพลังงำนของคลื่นผิวโลก กำรถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนีจะเพิ่มขึนตำมควำมถี่ที่
  สูงขึน
• คลื่นตรง หมำยถึง คลื่นที่เดินทำงออกไปเป็นเส้นตรงจำกสำยอำกำศ ส่งผ่ำนบรรยำกำศตรงไปยัง
  สำยอำกำศรับโดยมิได้มีกำรสะท้อนใด ๆ
• คลื่นสะท้อนดิน หมำยถึง คลื่นที่ออกมำจำกสำยอำกำศ ไปกระทบผิวดินแล้วเกิดกำรสะท้อนไปเข้ำที่
  สำยอำกำศรับ
• คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมำยถึง คลื่นหักเหในบรรยำกำศชันต่ำของโลกที่เรียกว่ำ โทรโปสเฟียร์ กำร
  หักเหนีมิใช่เป็นกำรหักเหแบบปกติที่เกิดขึนจำกกำรเปลี่ยนแปลงควำมหนำแน่นของชันบรรยำกำศของ
  โลกกับควำมสูง แต่เป็นกำรหักเหที่เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมหนำแน่นของชันบรรยำกำศอย่ำง
  ทันทีทันใด และไม่สม่ำเสมอของควำมหนำแน่นและในควำมชืนของบรรยำกำศ ได้แก่ ปรำกฏกำรณ์ที่
  เรียกว่ำ อุณหภูมิแปรกลับ
คลื่นผิวดิน
•    เป็นคลื่นที่แพร่กระจำยออกจำกสำยอำกำศโดยผิวพืนดินเป็นสื่อนำ คลื่นผิวดินจะมีขึนได้ก็ต่อเมื่อสำยอำกำศของ
    เครื่องส่งจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับพืนดิน ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อควำมถี่ในย่ำน VLF , LF และ MF กำรแพร่กระจำย
    คลื่นชนิดนี สำมำรถแพร่กระจำยได้ระยะทำงไกลมำก ส่วนย่ำน VHF , UHF ก็สำมำรถที่จะแพร่กระจำยคลื่น
    ชนิดนีได้ เช่นกัน แต่ระยะทำงติดต่อไม่ไกลนัก เพรำะค่ำคุณสมบัติทำงไฟฟ้ำของพืนดินจะมีผลต่อควำมถี่สูง ๆ เป็นอย่ำง
    มำก เพรำะจะทำให้เกิดควำมสูญเสียกำลังไปในพืนดิน นั่นคือ เมื่อคลื่นแพร่ผ่ำนผิวดินไป เส้นแรงของสนำมไฟฟ้ำของ
    คลื่นจะเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้ำเกิดขึนบนดิน ทำให้เกิดกระแสไหลในดินขึน และเนื่องจำกพืนดินมิใช่เป็นตัวนำ
    สมบูรณ์แบบ ทำให้มีควำมต้ำนทำนเกิดขึนเป็นเหตุให้เกิดกำรสูญเสียกำลัง ( I2R) ขึน
•    เป็นคลื่นที่แพร่กระจำยออกจำกสำยอำกำศโดยผิวพืนดินเป็นสื่อนำ คลื่นผิวดินจะมีขึนได้ก็ต่อเมื่อสำยอำกำศของ
    เครื่องส่งจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับพืนดิน ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อควำมถี่ในย่ำน VLF , LF และ MF กำรแพร่กระจำย
    คลื่นชนิดนี สำมำรถแพร่กระจำยได้ระยะทำงไกลมำก ส่วนย่ำน VHF , UHF ก็สำมำรถที่จะแพร่กระจำยคลื่น
    ชนิดนีได้ เช่นกัน แต่ระยะทำงติดต่อไม่ไกลนัก เพรำะค่ำคุณสมบัติทำงไฟฟ้ำของพืนดินจะมีผลต่อควำมถี่สูง ๆ เป็นอย่ำง
    มำก เพรำะจะทำให้เกิดควำมสูญเสียกำลังไปในพืนดิน นั่นคือ เมื่อคลื่นแพร่ผ่ำนผิวดินไป เส้นแรงของสนำมไฟฟ้ำของ
    คลื่นจะเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้ำเกิดขึนบนดิน ทำให้เกิดกระแสไหลในดินขึน และเนื่องจำกพืนดินมิใช่เป็นตัวนำ
    สมบูรณ์แบบ ทำให้มีควำมต้ำนทำนเกิดขึนเป็นเหตุให้เกิดกำรสูญเสียกำลัง ( I2R) ขึน
คลื่นตรง
• คลื่นตรงมีลักษณะกำรแพร่กระจำยคลื่นวิทยุเหมือนกับกำรเดินทำงของแสง คือ พุ่งเป็นเส้นตรง และกำร
  กระจำยคลื่นชนิดนีจะอยู่ในระดับสำยตำ ( line of sight )
• กำรกระจำยคลื่นชนิดนีจะมีกำรถ่ำง ของ Radio beam และมีกำรแตกกระจำยหรือสะท้อนได้ เมื่อ
  พบกับสิ่งกีดขวำง เช่น ตึก ภูเขำ โดยที่ระยะทำงของกำรแพร่กระจำยคลื่นจะมำกหรือน้อยนันต้อง
  ขึนอยู่กับควำมสูงของสำยอำกำศเป็นสำคัญ กำรแพร่กระจำยคลื่นชนิดนี จะมีผลต่อกำรแพร่กระจำยคลืน ่
  ในย่ำนควำมถี่ที่สูงกว่ำย่ำน VHF ขึนไป แต่ส่วนใหญ่ จะใช้ควำมถี่ในย่ำนที่สูงกว่ำ UHF ขึน
  ไป เนื่องจำกกำรใช้ควำมถี่ในย่ำน VHF และ UHF (LOW BAND ) จะมีกำรสะท้อนบน
  พืนดินด้วย ( reflection propagation ) เกิดขึนเป็นอย่ำงมำก
  จำกกำรแพร่ก
การแพร่กระจายเป็นแนวโค้ง เนื่องจากการเบี่ยงเบนในชันบรรยากาศ
                                                   ้
โดยปกติ คลื่นวิทยุที่แพร่กระจำยไปในอำกำศ จะมีลักษณะเป็นเส้นตรงเช่นเดียวกับแสง แต่ข้อเท็จจริงประกำรหนึ่ง คือ ชัน
    บรรยำกำศก็ย่อมมีควำมแตกต่ำงกัน ดังนันคลื่นวิทยุที่ส่งออกอำกำศไป ย่อมที่จะเบี่ยงเบนไปบ้ำงนอกเหนือจำกที่พุ่งเป็น
    เส้นตรงแล้ว ด้วยเหตุนีทำให้สำมำรถรับสัญญำณคลื่นวิทยุที่อยู่ห่ำงไกลจำกระดับสำยตำได้ กำรแพร่กระจำยคลื่นชนิดนีจะมี
    อิทธิพลต่อกำรติดต่อสื่อสำรควำมถี่วิทยุในย่ำนสูงกว่ำ VHF ขึนไปกำรกระจำยคลื่นดังกล่ำวนีไม่มีทฤษฎีที่แน่นอน
    ว่ำ คลื่นวิทยุที่ส่งออกไปแล้วจะเบี่ยงเบนลงสู่พืนดินในช่วงใดบ้ำง แต่จำกกำรทดลองพบว่ำ คลื่นวิทยุที่เบี่ยงเบนจะมีลักษณะ
    เป็น Multi part เบี่ยงเบนลงสู่พืนดินเป็นจำนวนมำก
การแพร่กระจายคลื่นไปยังด้านที่มองไม่เห็นในระยะสายตา
•    เป็นกำรกระจำยคลื่นโดยกำรแตกกระจำยของคลืนวิทยุ ลักษณะของกำรติดต่อ
                                                    ่
    กล่ำวคือ เมื่อคลื่นวิทยุที่ส่งออกไปจะกระทบกับสิ่งที่กีดขวำง พลังงำนบำงส่วนจะ
    เกิดกำรแตกกระจำยรอบๆบริเวณสิ่งกีดขวำงนัน ในทำงปฏิบัติ เรำจะให้คลื่นวิทยุ
    พุ่งไปกระทบกับส่วนบนของสิ่งกีดขวำงนันๆ สืบเนื่องจำกเหตุผลที่ว่ำ คลื่นที่เกิดกำร
    แตกกระจำยไปนัน สำมำรถเคลือนที่ต่อไปได้ตำมหลักกำร
                                    ่
    ของ Ray Theory จะถือเอำส่วนโค้งของผิวโลก อำคำร ต้นไม้ เนิน
    เขำ ที่รำบสูง ภูเขำ หรืออำกำศยำน เหล่ำนีเป็นต้น แต่ถ้ำสิ่งกีดขวำงมีขนำด
    เล็กและมียอดแหลมคล้ำยสันมีด (มุมยอดเล็ก) คลื่นที่มำตกกระทบจะไม่มีผลต่อ
    กำรที่จะทำให้
    เกิด Diffraction loss หรือ Shower effect ได้ แต่ถ้ำหำกสิ่งกีด
    ขวำงมีขนำดใหญ่ ค่ำของ Shower effect จะเกิดขึนมำก ซึ่งเป็นผลทำ
    ให้ควำมแรงของสัญญำณลดลง
    กำรแพร่กระจำยคลื่นดังกล่ำว
คำถำม
• องค์ประกอบของคลื่น มีกประเภท และมีอะไรบ้ำง?
                        ี่
• ตอบ:องค์ประกอบของคลื่นแบ่งออกเป็น4องค์ประกอบด้วยกันคือคลื่น
  ผิวดิน    ลื่นตรง คลื่นสะท้อนดิน      และคลื่นหักเหโทรโปส
  เฟียร์
อ้ำงอิง
• http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/mach
  anical/co
• http://www.hs8jyx.com/html/radio_property.
  html mmu/tepe.html
• http://www.blognone.com/node/37034

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นbenjamars nutprasat
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
Hamornics wave
Hamornics waveHamornics wave
Hamornics waverapinn
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 

La actualidad más candente (12)

สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
Hamornics wave
Hamornics waveHamornics wave
Hamornics wave
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 

Destacado

สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403Piyawan
 
21st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 8
21st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 821st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 8
21st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 8Piyawan
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางPiyawan
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางPiyawan
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางPiyawan
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางPiyawan
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406Piyawan
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
Avaliação de Software Educativo no Ensino das Ciências
Avaliação de Software Educativo no Ensino das CiênciasAvaliação de Software Educativo no Ensino das Ciências
Avaliação de Software Educativo no Ensino das CiênciasJoão Sousa
 

Destacado (9)

สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
 
21st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 8
21st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 821st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 8
21st Century Learning And Science Resources 1224179087427471 8
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลาง
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลาง
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลาง
 
งานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลางงานคู่ สื่อกลาง
งานคู่ สื่อกลาง
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
Avaliação de Software Educativo no Ensino das Ciências
Avaliação de Software Educativo no Ensino das CiênciasAvaliação de Software Educativo no Ensino das Ciências
Avaliação de Software Educativo no Ensino das Ciências
 

Similar a คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403

คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวMoukung'z Cazino
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 

Similar a คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403 (20)

คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403

  • 1. คลื่นวิทยุ นำเสนอ อำจำรย์ ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1.นำงสำว เนตรธำรำ หำทูล ม.4/3 เลขที่ 12 2.นำยพิทยำ ยอดลำ ม.4/3 เลขที่ 14
  • 2. คลื่นวิทยุ • คลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำชนิดหนึ่งที่เกิดขึนในช่วงควำมถี่วิทยุบนเส้น สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้ำซึงสำมำรไช้ต้มนำร้อนได้แล้วช่วยลอโลกร้อนได้เป็นกำรบวก ที่ดี • คลื่นวิทยุถูกค้นพบครังแรกระหว่ำงกำรตรวจสอบทำงคณิตศำสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบำงประกำรที่ คล้ำยคลึงกับคลืน และคล้ำยคลึงกับผลกำรเฝ้ำสังเกตกระแสไฟฟ้ำและแม่เหล็ก เขำ ่ จึงนำเสนอสมกำรที่อธิบำยคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำที่ เดินทำงในอวกำศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สำธิตสมกำรของแมกซ์เวลล์ว่ำเป็น ควำมจริงโดยจำลองกำรสร้ำงคลืนวิทยุขึนในห้องทดลองของเขำ หลังจำกนันก็มี ่ สิ่งประดิษฐ์ต่ำงๆ เกิดขึนมำกมำย และทำให้เรำสำมำรถนำคลื่นวิทยุมำใช้ในกำรส่ง ข้อมูลผ่ำนห้วงอวกำศได้
  • 3. ประเภทของคลื่นวิทยุ • คลื่นวิทยุที่กระจำยออกจำกสำยอำกำศ จะเดินทำงไปทุกทิศทำง ในทุกระนำบ กำรกระจำย คลื่นนีมีลักษณะเป็นกำรขยำยตัวของพลังงำนออกเป็นทรงกลม ถ้ำจะพิจำรณำในส่วนของพืนที่ แทนหน้ำคลื่นจะเห็นได้ว่ำมันพุ่งออกไปเรื่อย ๆ จำกจุดกำเนิด และสำมำรถเขียนแนวทิศทำงเดิน ของหน้ำคลื่นได้ด้วยเส้นตรงหรือเส้นรังสี เส้นรังสีที่ลำกจำกสำยอำกำศออกไปจะทำมุมกับระนำบ แนวนอน มุมนีเรียกว่ำ มุมแผ่คลื่น อำจมีค่ำเป็นบวก ( มุมเงย ) หรือมีค่ำเป็นลบ ( มุมกดลง ) ก็ ได้ มุมของกำรแผ่คลื่นนีอำจนำมำใช้เป็นตัวกำหนดประเภทของคลื่นวิทยุได้ โดยทั่วไปคลื่นวิทยุอำจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ คลื่นดิน (GROUND WAVE ) กับคลื่นฟ้ำ (SKY WAVE ) พลังงำนคลื่นวิทยุส่วนใหญ่จะเดินทำงอยู่ใกล้ ๆ ผิว โลกหรือเรียกว่ำคลื่นดิน ซึ่งคลื่นนีจะเดินไปตำมส่วนโค้งของโลก คลื่นอีกส่วนที่ออกจำก สำยอำกำศ ด้วยมุมแผ่คลื่นเป็นค่ำบวก จะเดินทำงจำกพืนโลกพุ่งไปยังบรรยำกำศจนถึงชันเพดำน ฟ้ำและจะสะท้อนกลับลงมำยังโลกนีเรียกว่ำ คลื่นฟ้ำ •
  • 4. องค์ประกอบของคลืน ่ • องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ คลื่นผิวดิน คลื่น ตรง คลื่นสะท้อนดิน และคลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ • คลื่นผิวดิน หมำยถึง คลื่นที่เดินตำมไปยังผิวโลกอำจเป็นผิวดิน หรือผิวนำก็ได้ พิสัยของกำรกระจำย คลื่นชนิดนีขึนอยู่กับค่ำควำมนำทำงไฟฟ้ำของผิวที่คลื่นนีเดินทำงผ่ำนไป เพรำะค่ำควำมนำจะเป็นตัว กำหนดกำรถูกดูดกลืนพลังงำนของคลื่นผิวโลก กำรถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนีจะเพิ่มขึนตำมควำมถี่ที่ สูงขึน • คลื่นตรง หมำยถึง คลื่นที่เดินทำงออกไปเป็นเส้นตรงจำกสำยอำกำศ ส่งผ่ำนบรรยำกำศตรงไปยัง สำยอำกำศรับโดยมิได้มีกำรสะท้อนใด ๆ • คลื่นสะท้อนดิน หมำยถึง คลื่นที่ออกมำจำกสำยอำกำศ ไปกระทบผิวดินแล้วเกิดกำรสะท้อนไปเข้ำที่ สำยอำกำศรับ • คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมำยถึง คลื่นหักเหในบรรยำกำศชันต่ำของโลกที่เรียกว่ำ โทรโปสเฟียร์ กำร หักเหนีมิใช่เป็นกำรหักเหแบบปกติที่เกิดขึนจำกกำรเปลี่ยนแปลงควำมหนำแน่นของชันบรรยำกำศของ โลกกับควำมสูง แต่เป็นกำรหักเหที่เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมหนำแน่นของชันบรรยำกำศอย่ำง ทันทีทันใด และไม่สม่ำเสมอของควำมหนำแน่นและในควำมชืนของบรรยำกำศ ได้แก่ ปรำกฏกำรณ์ที่ เรียกว่ำ อุณหภูมิแปรกลับ
  • 5. คลื่นผิวดิน • เป็นคลื่นที่แพร่กระจำยออกจำกสำยอำกำศโดยผิวพืนดินเป็นสื่อนำ คลื่นผิวดินจะมีขึนได้ก็ต่อเมื่อสำยอำกำศของ เครื่องส่งจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับพืนดิน ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อควำมถี่ในย่ำน VLF , LF และ MF กำรแพร่กระจำย คลื่นชนิดนี สำมำรถแพร่กระจำยได้ระยะทำงไกลมำก ส่วนย่ำน VHF , UHF ก็สำมำรถที่จะแพร่กระจำยคลื่น ชนิดนีได้ เช่นกัน แต่ระยะทำงติดต่อไม่ไกลนัก เพรำะค่ำคุณสมบัติทำงไฟฟ้ำของพืนดินจะมีผลต่อควำมถี่สูง ๆ เป็นอย่ำง มำก เพรำะจะทำให้เกิดควำมสูญเสียกำลังไปในพืนดิน นั่นคือ เมื่อคลื่นแพร่ผ่ำนผิวดินไป เส้นแรงของสนำมไฟฟ้ำของ คลื่นจะเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้ำเกิดขึนบนดิน ทำให้เกิดกระแสไหลในดินขึน และเนื่องจำกพืนดินมิใช่เป็นตัวนำ สมบูรณ์แบบ ทำให้มีควำมต้ำนทำนเกิดขึนเป็นเหตุให้เกิดกำรสูญเสียกำลัง ( I2R) ขึน • เป็นคลื่นที่แพร่กระจำยออกจำกสำยอำกำศโดยผิวพืนดินเป็นสื่อนำ คลื่นผิวดินจะมีขึนได้ก็ต่อเมื่อสำยอำกำศของ เครื่องส่งจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับพืนดิน ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อควำมถี่ในย่ำน VLF , LF และ MF กำรแพร่กระจำย คลื่นชนิดนี สำมำรถแพร่กระจำยได้ระยะทำงไกลมำก ส่วนย่ำน VHF , UHF ก็สำมำรถที่จะแพร่กระจำยคลื่น ชนิดนีได้ เช่นกัน แต่ระยะทำงติดต่อไม่ไกลนัก เพรำะค่ำคุณสมบัติทำงไฟฟ้ำของพืนดินจะมีผลต่อควำมถี่สูง ๆ เป็นอย่ำง มำก เพรำะจะทำให้เกิดควำมสูญเสียกำลังไปในพืนดิน นั่นคือ เมื่อคลื่นแพร่ผ่ำนผิวดินไป เส้นแรงของสนำมไฟฟ้ำของ คลื่นจะเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้ำเกิดขึนบนดิน ทำให้เกิดกระแสไหลในดินขึน และเนื่องจำกพืนดินมิใช่เป็นตัวนำ สมบูรณ์แบบ ทำให้มีควำมต้ำนทำนเกิดขึนเป็นเหตุให้เกิดกำรสูญเสียกำลัง ( I2R) ขึน
  • 6. คลื่นตรง • คลื่นตรงมีลักษณะกำรแพร่กระจำยคลื่นวิทยุเหมือนกับกำรเดินทำงของแสง คือ พุ่งเป็นเส้นตรง และกำร กระจำยคลื่นชนิดนีจะอยู่ในระดับสำยตำ ( line of sight ) • กำรกระจำยคลื่นชนิดนีจะมีกำรถ่ำง ของ Radio beam และมีกำรแตกกระจำยหรือสะท้อนได้ เมื่อ พบกับสิ่งกีดขวำง เช่น ตึก ภูเขำ โดยที่ระยะทำงของกำรแพร่กระจำยคลื่นจะมำกหรือน้อยนันต้อง ขึนอยู่กับควำมสูงของสำยอำกำศเป็นสำคัญ กำรแพร่กระจำยคลื่นชนิดนี จะมีผลต่อกำรแพร่กระจำยคลืน ่ ในย่ำนควำมถี่ที่สูงกว่ำย่ำน VHF ขึนไป แต่ส่วนใหญ่ จะใช้ควำมถี่ในย่ำนที่สูงกว่ำ UHF ขึน ไป เนื่องจำกกำรใช้ควำมถี่ในย่ำน VHF และ UHF (LOW BAND ) จะมีกำรสะท้อนบน พืนดินด้วย ( reflection propagation ) เกิดขึนเป็นอย่ำงมำก จำกกำรแพร่ก
  • 7. การแพร่กระจายเป็นแนวโค้ง เนื่องจากการเบี่ยงเบนในชันบรรยากาศ ้ โดยปกติ คลื่นวิทยุที่แพร่กระจำยไปในอำกำศ จะมีลักษณะเป็นเส้นตรงเช่นเดียวกับแสง แต่ข้อเท็จจริงประกำรหนึ่ง คือ ชัน บรรยำกำศก็ย่อมมีควำมแตกต่ำงกัน ดังนันคลื่นวิทยุที่ส่งออกอำกำศไป ย่อมที่จะเบี่ยงเบนไปบ้ำงนอกเหนือจำกที่พุ่งเป็น เส้นตรงแล้ว ด้วยเหตุนีทำให้สำมำรถรับสัญญำณคลื่นวิทยุที่อยู่ห่ำงไกลจำกระดับสำยตำได้ กำรแพร่กระจำยคลื่นชนิดนีจะมี อิทธิพลต่อกำรติดต่อสื่อสำรควำมถี่วิทยุในย่ำนสูงกว่ำ VHF ขึนไปกำรกระจำยคลื่นดังกล่ำวนีไม่มีทฤษฎีที่แน่นอน ว่ำ คลื่นวิทยุที่ส่งออกไปแล้วจะเบี่ยงเบนลงสู่พืนดินในช่วงใดบ้ำง แต่จำกกำรทดลองพบว่ำ คลื่นวิทยุที่เบี่ยงเบนจะมีลักษณะ เป็น Multi part เบี่ยงเบนลงสู่พืนดินเป็นจำนวนมำก
  • 8. การแพร่กระจายคลื่นไปยังด้านที่มองไม่เห็นในระยะสายตา • เป็นกำรกระจำยคลื่นโดยกำรแตกกระจำยของคลืนวิทยุ ลักษณะของกำรติดต่อ ่ กล่ำวคือ เมื่อคลื่นวิทยุที่ส่งออกไปจะกระทบกับสิ่งที่กีดขวำง พลังงำนบำงส่วนจะ เกิดกำรแตกกระจำยรอบๆบริเวณสิ่งกีดขวำงนัน ในทำงปฏิบัติ เรำจะให้คลื่นวิทยุ พุ่งไปกระทบกับส่วนบนของสิ่งกีดขวำงนันๆ สืบเนื่องจำกเหตุผลที่ว่ำ คลื่นที่เกิดกำร แตกกระจำยไปนัน สำมำรถเคลือนที่ต่อไปได้ตำมหลักกำร ่ ของ Ray Theory จะถือเอำส่วนโค้งของผิวโลก อำคำร ต้นไม้ เนิน เขำ ที่รำบสูง ภูเขำ หรืออำกำศยำน เหล่ำนีเป็นต้น แต่ถ้ำสิ่งกีดขวำงมีขนำด เล็กและมียอดแหลมคล้ำยสันมีด (มุมยอดเล็ก) คลื่นที่มำตกกระทบจะไม่มีผลต่อ กำรที่จะทำให้ เกิด Diffraction loss หรือ Shower effect ได้ แต่ถ้ำหำกสิ่งกีด ขวำงมีขนำดใหญ่ ค่ำของ Shower effect จะเกิดขึนมำก ซึ่งเป็นผลทำ ให้ควำมแรงของสัญญำณลดลง กำรแพร่กระจำยคลื่นดังกล่ำว
  • 9. คำถำม • องค์ประกอบของคลื่น มีกประเภท และมีอะไรบ้ำง? ี่ • ตอบ:องค์ประกอบของคลื่นแบ่งออกเป็น4องค์ประกอบด้วยกันคือคลื่น ผิวดิน ลื่นตรง คลื่นสะท้อนดิน และคลื่นหักเหโทรโปส เฟียร์
  • 10. อ้ำงอิง • http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/mach anical/co • http://www.hs8jyx.com/html/radio_property. html mmu/tepe.html • http://www.blognone.com/node/37034