SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 40
Descargar para leer sin conexión
1 
บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จากัด (มหาชน) หรือเรียกย่อว่า พีดีไอ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2524 เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีทุนจด ทะเบียน 2,260 ล้านบาท บริษัทดาเนินธุรกิจผลิตโลหะสังกะสี มี ผลิตภัณฑ์หลักประกอบ ด้วยโลหะสังกะสีบริสุทธิ์และโลหะสังกะสี ผสม โดยจาหน่ายให้กับอุตสาหกรรมภายในประเทศเป็นหลัก วิสัยทัศน์ของเรา : มุ่งเป็นผู้นาในผลิตภัณฑ์โลหะสังกะสีคุณภาพสูงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สานักงาน: สานักงานกรุงเทพ สานักงานโรงถลุงสังกะสี จังหวัดตาก สานักงานเหมืองแม่สอด จังหวัดตาก สานักงานโรงผลิตแคลไซน์ จังหวัดระยอง พีดีไอมุ่งสร้างผลกาไรและดาเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ปี 2556 พีดีไอมีผลการดาเนินงานดีกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยสามารถลดผลขาดทุนจากการดาเนินงาน ได้อย่างมีนัยสาคัญ อีกทั้งโครงการสาคัญหรือ VIP (Very Important Project) มีความคืบหน้าอย่างมากและ ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและสร้างรายได้เพิ่ม ได้แก่  โครงการติดตั้งหม้อไอน้าที่ใช้ถ่านหินคุณภาพสูงแทนการใช้น้ามันเตา ได้เริ่มเดินเครื่องจักรเมื่อ เดือนธันวาคม 2556 โครงการดังกล่าวช่วยลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงจากการใช้ถ่านหินบิทูมินัสที่มีราคา ถูกกว่าน้ามันเตา และมีส่วนช่วยปรับปรุงการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมโดยรวมให้ดีขึ้น  โครงการสกัดแยกโลหะมีค่าได้แก่ เงิน และตะกั่ว ออกจากกากแร่ในกระบวนการถลุงแร่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ PLP (Padaeng Leach Product) โดยปี 2556 ผลิตได้จานวนทั้งสิ้น 10,000 เมตริกตั  นวัตกรรมของโรงล้างวัตถุดิบสังกะสีออกไซด์ที่โรงงานระยอง สนับสนุนการจัดหาวัตถุดิบสังกะสี ทุติยภูมิและเป็นไปตามกลยุทธ์เพิ่มการใช้วัตถุดิบสังกะสีรีไซเคิลป้อนกระบวนการผลิตมากขึ้น
2 
เหมืองผาแดง ผาแดงเป็นแหล่งแร่สังกะสีที่ได้มีการสารวจพบโดยกรมทรัพยากรธรณีมากกว่า 40 ปี และได้ให้ สัมปทานการทาเหมืองแก่บริษัท ไทยซิงค์ เมื่อปี 2515 ก่อนที่บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จากัด (มหาชน) จะ ได้รับสัมปทานช่วงต่อและเข้ามาดาเนินกิจกรรมเหมืองแร่สังกะสีในปี 2525 บริเวณดอยผาแดง ซึ่งตั้งอยู่ที่ ตาบลพระธาตุผาแดง อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีเนื้อที่รวมประมาณ 250 ไร่ เป็นระยะเวลา 25 ปี โดยพบว่า มีแร่สังกะสีซิลิเกตปริมาณมาก จึงได้เปิดทาเหมืองเพื่อผลิตแร่ป้อนโรงถลุงสังกะสีตั้งแต่ปี 2527 เป็นต้นมา เรียกเหมืองแร่แห่งนี้ว่า “เหมืองผาแดง” ซึ่งเป็นเหมืองเปิดแบบขั้นบันได การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมเหมือง 
ปี 2556 พีดีไอได้ดาเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมจานวน 79 ไร่ตามแผนงานฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ประจาปีโดยใช้งบประมาณ 8 ล้านบาทซึ่งในปีที่ผ่านมาบริษัทได้ปลูกหญ้าแฝกเป็นพืชเบิกนาจานวน 1 ล้าน ต้น ปลูกไม้ยืนต้นและไม้พุ่มจานวน 12,000 ต้น ทั้งในพื้นที่ใหม่และปลูกแซมในพื้นที่เดิม นับเป็นระยะเวลา กว่า 1 ทศวรรษ จนถึง ณ สิ้นปี 2556 บริษัทได้ปลูกหญ้าแฝกไปแล้วทั้งสิ้น 17.5 ล้านต้นและปลูกไม้ยืนต้น จานวนกว่า 91,000 ต้น โดยดาเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมไปแล้วเกือบ 600 ไร่และใช้งบประมาณทั้งสิ้น 56 ล้านบาท ด้วยความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องจริงจัง ส่งผลให้เหมืองแม่สอดเป็นต้นแบบความสาเร็จในการฟื้นฟู สภาพแวดล้อมมากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย และแสดงให้เห็นถึงพันธะสัญญาในการพัฒนาที่ยั่งยืน ของพีดีไอต่อการป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการทาเหมือง พีดีไอมีพันธกิจในการฟื้นฟู สภาพแวดล้อมของเหมืองแม่สอดต่อเนื่องไปจนสิ้นอายุประทานบัตรในปี 2556 โดยยังมีพื้นที่ที่จะต้องฟื้นฟู อีกกว่า 500 ไร่ ซึ่งภารกิจฟื้นฟูสภาพแวดล้อมสีเขียวนี้ได้ใช้งบประมาณจากกองทุนเพื่อพัฒนาการฟื้นฟู สภาพเหมืองผาแดง จานวน 97 ล้านบาท ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อปี 2546
3 
ผลสาเร็จงานฟื้นฟูจากลานทิ้งดินสู่ภูเขาเขียวขจี เหมืองแม่สอดของพีดีไอเป็นกรณีตัวอย่างระดับประเทศที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของหญ้า แฝกต่อการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมเหมืองที่สามารถลดการชะล้างพังทลายของดินและปรับปรุงคุณภาพดินและ ยังสร้างภูมิทัศน์สีเขียวให้เกิดขึ้นอีกด้วย เหมืองแม่สอดจึงเป็นแหล่งปลูกหญ้าแฝกใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งใน ประเทศไทย พีดีไอสามารถปรับลานทิ้งดินที่ 3 ซึ่งเต็มไปด้วยหินให้กลายเป็นภูเขาสีเขียวที่มีหญ้าแฝกและ ต้นไม่ใหญ่ปกคลุมหนาแน่น เป็นที่ประจักษ์ถึงความมุ่งมั่นและการดาเนินงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โครงการปลูกหญ้าแฝกของเหมืองแม่สอดเป็นแหล่งเรียนรู้การอนุรักษ์ดินและน้าโดยในแต่ละปีจะ เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนทั้งหน่วยราชการชุมชนโดยรอบเหมืองโดยเฉพาะคณะครูและนักเรียนจาก โรงเรียนต่างๆเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องหญ้าแฝกและสร้างจิตสานึกการอนุรักษ์ดินและน้า รวมทั้งสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน ทั้งนี้มีผู้วนใจเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละปีเป็นจานวนมากกว่า 1,000 คน การจัดหาวัตถุดิบแร่ การบริหารจัดการวัตถุดิบของพีดีไอยังคงให้ ความสาคัญลาดับต้นต่อการเพิ่มการผลิตแร่สังกะสีจาก เหมืองแม่สอด เพิ่มความหลากหลายของชนิดแร่และ แหล่งวัตถุดิบรวมทั้งการใช้วัตถุดิบสังกะสีรีไซเคิลมาก ขึ้น ด้วยความยืดหยุ่นของโรงงานตากที่สามารถรองรับ วัตถุดิบสังกะสีได้หลากหลายชนิด จึงช่วยสนับสนุนกล ยุทธ์ในการปรับลดต้นทุนด้านวัตถุดิบและเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งต่อกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ในปี 2556 พีดีไอได้ลดการนาเข้าแร่ สังกะสีซัลไฟด์ (Sulphide) และแร่สังกะสีชนิดอื่นๆ (Non Sulphide) มากขึ้นตามการปรับลดกาลังการผลิตของ โรงงานตาก โดยปริมาณการนาเข้าแร่ประมาณ 80,000 เมตริกตัน โดยส่วนใหญ่นาเข้าจากอเมริกาใต้และ ออสเตรเลีย ในปี 2557 พีดีไอยังคงให้ความสาคัญอย่างยิ่งต่อการบริหารจัดการเพื่อมุ่งลดต้นทุนวัตถุดิบโดยจะ เพิ่มสัดส่วนการใช้แร่สังกะสีซิลิเกตจากเหมืองแม่สอดของบริษัท และเพิ่มการใช้วัตถุดิบสังกะสีรีไซเคิลให้ มากขึ้น ขณะเดียวกันบริษัทจะลดปริมาณการนาเข้าแร่สังกะสีซัลไฟด์ที่มีราคาแพง
4 
การทาเหมืองและการสารวจแร่ 
การทาเหมือง 
ปี 2556 เหมืองแม่สอดของพีดีไอผลิตแร่คิดเป็นโลหะสังกะสีจานวน 30,000 เมตริกตัน ใกล้เคียง กับปี2555 ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย แม้ว่าการต่ออายุหนังสืออนุญาตจากกรมป่าไม้ให้เข้าทาประโยชน์ในเขต ป่าสงวนแห่งชาติของประทานบัตร เลขที่30769/15525 จะล่าช้ากว่าแผนงานประมาณ 2 เดือน จนส่งผลให้ การเปิดหน้าดินเพื่อผลิตแร่ต่ากว่าแผนการผลิตของปี 2556 ถึงร้อยละ 43 นอกจากนี้แร่อยู่ในระดับลึกใกล้กับ ชั้นหินปูนที่มีแมกนีเซียมสูง ทาให้แร่ที่ผลิตได้มีแมกนีเซียมสูงขึ้นตามไปด้วยและส่งผลกระทบทาให้โรง ถลุงสังกะสีที่ตากไม่สามารถใช้แร่ที่ผลิตได้ทั้งหมด เนื่องจากต้องใช้กระแสไฟฟ้าในกระบวนการแยกโลหะ สังกะสีสูงขึ้น ซึ่งกระทบต่อต้นทุนค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานวิจัย และพัฒนาของพีดีไอ จึงมีการปรับปรุงกระบวนการผลิตบางส่วนของโรงถลุงเพื่อให้สามารถใช้แร่ที่มี แมกนีเซียมสูงดังกล่าวได้ 
ปริมาณแร่สารอง 
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาซึ่งมีเนื้อโลหะสังกะสีตั้งแต่ร้อยละ 3 ขึ้น ไป ที่เหมืองแม่สอดมีจานวนทั้งสิ้น 1.6 ล้านเมตริกตันแห้ง โดยมีเนื้อโลหะสังกะสีในแร่เฉลี่ยร้อยละ 10.3 คิดเป็นปริมาณโลหะสังกะสี 165,000 เมตริกตัน 
รายงานของผู้เชี่ยวชาญ ฉบับนี้จัดทาโดยนายอนุพงษ์ภิระกันทา (นักธรณีวิทยาเหมืองแร่ บริษัทผา แดงอินดัสทรี จากัด (มหาชน) และมีประสบการณ์ทางานเพียงพอและเกี่ยวข้องในด้านการสะสมตัวของ แหล่งแร่และชนิดของแหล่งแร่และรับผิดชอบในการศึกษาและจัดทารูปแบบจาลองแหล่งแร่และประเมิน ปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาในรายงานฉบับนี้ และมีคุณสมบัติเป็นผู้รับรองแหล่งแร่ตามมาตรฐานของ Australasian Code ในการจัดทารายงานผลการสารวจแร่และการประเมินปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยา และปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ฉบับปี 2555 นายอนุพงษ์ภิระกันทา ยอมรับผลการประเมินข้อมูลตาม รูปแบบที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้
5 
การขอประทานบัตรแปลงใหม่เพื่อให้สามารถผลิตแร่ที่มีอยู่ให้ได้ทั้งหมดประสบปัญหาล่าช้าอีก ครั้งแม้ว่ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพซึ่งเป็นส่วนสาคัญของกระบวนการตาม ขั้นตอนการขอประทานบัตรจะได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้วแต่ยังต้องผ่านอีก3ขั้นตอน สาคัญที่ต้องใช้เวลานาน คือ ต้องผ่านการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อขอผ่อนผันการใช้พื้นที่ลุ่มน้าชั้น 1บี ต้องผ่านการอนุมัติจากกระทรวงทรัพยากร-ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทา ประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติและต้องผ่านการอนุมัติจากกระทรวงอุตสาหกรรมเพื่อออกประทานบัตร ทาเหมือง 
ด้วยเหตุดังกล่าวบริษัทฯ จึงคาดว่าจะไม่สามารถได้ประทานบัตรตามกาหนด จึงตัดสินใจไม่รวม ปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ในส่วนนี้จานวนประมาณ 450,000 เมตริกตันแห้ง ทาให้ปริมาณแร่สารอง ทางธรณีวิทยาที่ทาเหมืองได้มีจานวน 1.12 ล้านเมตริกตันแห้ง โดยมีเนื้อโลหะสังกะสีในแร่เฉลี่ยร้อยละ 10.1 ซึ่งคิดเป็นปริมาณโลหะสังกะสีจานวน 115,000 เมตริกตัน 
รายงานของผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ (Ore Reserves) ที่เหมืองแม่สอด ใน รายงานฉบับนี้จัดทาโดยนายสมโชค หยูเอียด (ผู้จัดการส่วนผลิตแร่ บริษัท ผาแดงอินดัสทรีจากัด (มหาชน)) ซึ่งเป็นสมาชิกของ Australasian Institute of Mining and Metallurgy (#301367) และมี ประสบการณ์ทางานเพียงพอและเกี่ยวข้องในด้านการสะสมตัวของแร่และชนิดของแหล่งแร่และรับผิดชอบ ในการศึกษาและทาการประเมินปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้และมีคุณสมบัติเป็นผู้รับรองแหล่งแร่ตาม มาตรฐานของAustralasian Code ในการจัดทารายงานผลการสารวจแร่และการประเมินปริมาณแร่สารอง ทางธรณีวิทยาและปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ ฉบับปี 2555 นายสมโชค หยูเอียด ยอมรับผลการประเมิน ข้อมูลตามรูปแบบที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้
6 
การสารวจแร่ 
การสารวจแร่ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าได้เริ่มดาเนินการมาในช่วงระยะเวลาไม่กี่ปีมานี้และ เสร็จสิ้นเมื่อปี 2556 ซึ่งจากผลการสารวจเบื้องต้นพบว่าเป็นแหล่งแร่ขนาดเล็กซึ่งไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะ ลงทุนสารวจเพิ่มเติม บริษัทฯ จึงได้ตัดสินใจยุติการสารวจแร่ในสาธารณ-รัฐแห่งสหภาพพม่า เช่นเดียวกับ ผลการสารวจแร่ในประเทศและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ก็ไม่ประสบผลสาเร็จ บริษัทฯ จึงได้ยุติกิจกรรมการสารวจแร่ทั้งหมดตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นต้นมา และได้ตัดสินใจที่จะ ขายสิทธิใบอนุญาตอาชญาบัตรในการสารวจแร่จานวน 2 แหล่ง คือ แหล่งแร่ที่จังหวัดลาพูนและแหล่งแร่ที่ เมืองกาสี สปป.ลาว ซึ่งได้สารวจในขั้นปริมาณแร่สารองทางธรณี-วิทยาและความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจแล้ว โดยแหล่งแร่ลาพูนมีปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาเบื้องต้น 2.1 ล้านเมตริกตัน มีเนื้อโลหะสังกะสีเฉลี่ย ร้อยละ 7.2 และตะกั่วร้อยละ 1.2 ส่วนแหล่งแร่กาสีมีปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาเบื้องต้น 0.9 ล้าน เมตริกตัน มีเนื้อโลหะสังกะสีเฉลี่ยร้อยละ 9 และตะกั่วร้อยละ 1.9
7 
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ผาแดงฯ ขับเคลื่อนธุรกิจผ่านนวัตกรรมและการเติบโตอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ขององค์กรสะท้อนถึง ความรับผิดชอบที่มีต่อสังคม สร้างมูลค่าเพิ่มสูงสุดให้กับลูกค้า เคารพต่อพนักงานของเราและสิ่งแวดล้อม สนับสนุนชุมชนท้องถิ่นที่เราเข้าไปดาเนินธุรกิจและให้ผลตอบแทนที่ดีที่สุดแก่ผู้ถือหุ้นของเรา การดาเนินกิจการในทุกพื้นที่ เราต้องบรรลุผลสาเร็จด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ประกอบด้วยพนักงาน สาธารณชน องค์กร ภาคเอกชน (NGO) และผู้ถือหุ้น พนักงานของเราเป็นทรัพย์สินที่มีค่าที่สุดขององค์กร เราจะปฏิบัติต่อ พนักงานด้วยความซื่อสัตย์และเป็นธรรม จะดูแลและไม่เลือกปฏิบัติ จัดสภาพแวดล้อมการทางานที่ปลอดภัย และมีสุขภาวะที่ดี สนับสนุนพนักงานของเราให้สามารถพัฒนาตนเองท่ามกลางความสมดุลระหว่างการใช้ ชีวิตส่วนตัวและการทางาน บริษัทฯ บริหารผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรมการดาเนินงานโดยตระหนักถึงความ รับผิดชอบอย่างสูงสุด และจะพัฒนากระบวนการอย่างต่อเนื่องเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เราจะนา เทคโนโลยีที่ดีที่สุดมาใช้ในทุกกระบวนการเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ขอรับรองว่าจะให้การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ด้วยการลดของเสีย ลดการใช้พลังงาน น้าและวัตถุดิบอื่น ๆ อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทฯ สนับสนุนการพัฒนาสังคมโดยสร้างความสัมพันธ์และมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่นอย่าง ชัดเจน เปิดเผยและตรงไปตรงมา เราส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนมีจิตอาสาทางานร่วมกับชุมชน บริษัทฯ พัฒนาและประกาศใช้นโยบายนี้เพื่อทาให้มั่นใจว่า หุ้นส่วนธุรกิจทั้งหมดของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้จัดหาสินค้ามีการปฏิบัติอย่างสอดคล้องกับมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม จรรยาบรรณขององค์กรได้วางแนวปฏิบัติในการทางานและความสัมพันธ์ในการทางานของ พนักงาน ผู้บริหารและคณะกรรมการบริษัทกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด รวมทั้งการต่อต้านกับการทุจริต ในทุกรูปแบบ บริษัทฯ คานึงถึงผลสาเร็จของความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการประเมินผล ดาเนินงานในภาพรวมขององค์กร เราให้พนักงาน คู่ค้าและผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมต่อนโยบายนี้เพื่อแสดงถึง พันธะสัญญาที่มีต่อสาธารณชน และเติมเต็มความรับผิดชอบของเราต่อการสร้างสรรค์โลกที่ดีกว่าและ อนาคตที่ดีขึ้นให้กับมนุษยชาติ
8 
การจัดการประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและพลังงาน การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน นอกเหนือจากการนาแร่สังกะสีซิลิเกตที่มีคุณภาพเนื้อโลหะสังกะสีต่ากว่าร้อยละ 10 มาผ่าน กระบวนการลอยแร่เพื่อเพิ่มคุณภาพหัวแร่ให้มีเนื้อโลหะสังกะสีสูงกว่าร้อยละ 20 แล้ว พีดีไอยังได้คิดค้น และพัฒนานวัตกรรมกระบวนการผลิตเพื่อลดอุปสรรคต่างๆ เกี่ยวกับการใช้วัตถุดิบ โดยเป็นอีกหนึ่ง ตัวอย่างในการนาวัตถุดิบสังกะสีออกไซด์ซึ่งเป็นวัตถุดิบรีไซเคิลจากโรงเหล็กมาใช้เป็นวัตถุดิบร่วมกับแร่ ดิบธรรมชาติ โดยบริษัทฯ ได้เพิ่มสัดส่วนการใช้วัตถุดิบสังกะสีออกไซด์อย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการน้า น้าดิบที่นามาใช้ในการดาเนินงานของพีดีไอมาจากแม่น้าปิงซึ่งใช้สาหรับโรงงานตากและน้าจาก การประปาส่วนภูมิภาคสาหรับโรงงานระยอง ส่วนเหมืองแม่สอดมีการเก็บกักน้าฝนเพื่อใช้ในกระบวนการ ลอยแร่และไม่มีการปล่อยน้าทิ้งแต่จะนากลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ ในปี 2556 พีดีไอมีปริมาณการใช้น้ารวม 2,252,823 ลูกบาศก์เมตร และกว่าร้อยละ 40 สามารถนา กลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ในกระบวนการผลิตหลังผ่านกระบวนการบาบัดแล้วและนาไปใช้ในส่วนที่ไม่ เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น การรดน้าต้นไม้ สนามหญ้า เป็นต้น สาหรับน้าทิ้งจากกระบวนการผลิตหลังผ่าน การบาบัด บริษัทฯ ได้มีการตรวจสอบคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ซึ่งในปี 2556 ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าทิ้ง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดังตาราง พารามิเตอร์ มาตรฐาน โรงงานตาก โรงงานระยอง ความเป็นกรด ด่าง (pH) 5.5 - 9 7.69 7.7 สังกะสี ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.58 0.44 แคดเมียม ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.012 0.006 แมงกานีส ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.29 - ตะกั่ว ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.003 0.023 อาร์เซนิก ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.001 0.063 ปรอท ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.0005 0.0029
9 
การบริหารจัดการน้าของเหมืองแม่สอด แม้ไม่มีการใช้น้าในกระบวนการทาเหมืองและใช้น้าแบบหมุนเวียนในกระบวนการลอยแร่ แต่ เหมืองแม่สอดมีมาตรการจัดการน้าฝนที่ไหลผ่านพื้นที่โครงการทาเหมืองแร่ โดยมีบ่อกักเก็บตะกอนรองรับ ปริมาณน้าไหลบ่าหน้าดินในแต่ละพื้นที่ได้ในทุกกรณี และมีอาคารกรองตะกอนน้าในบ่อกักเก็บตะกอนให้ ใสได้มาตรฐานก่อนระบายออกสู่ธรรมชาติตามมาตรฐานคุณภาพน้าที่ระบายออกจากเหมืองแร่ที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนดและอ้างอิงตามมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งกรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งผลการตรวจวัดคุณภาพน้าทิ้งที่ระบายออกในปี 2556 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดังแสดงในตาราง 
พารามิเตอร์ 
มาตรฐาน 
จุดระบายน้า 
A1 
B3 
C1 
D3 
ความเป็นกรด ด่าง 
5.5 - 9 
7.1 - 8.1 
7.2 - 8.5 
7.7 - 8.0 
7.4 - 8.1 
ของแข็งแขวนลอย ทั้งหมด 
ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร 
1 - 15 
2 - 18 
8 - 12 
1 - 23 
ของแข็งละลายน้า ทั้งหมด 
ไม่เกิน 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร 
96 - 216 
386 - 754 
257 - 354 
107 - 229 
สังกะสี 
ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 
0.03 - 0.42 
0.02 - 0.37 
0.10 - 0.18 
0.03 - 0.29 
แคดเมียม 
ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร 
< 0.010 - 0.014 
< 0.010 - 0.012 
< 0.010 
< 0.010 - 0.02 
ตะกั่ว 
ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร 
< 0.01 - 0.02 
< 0.01 - 0.01 
< 0.01 
< 0.01 - 0.02
10 
การจัดการคุณภาพอากาศ พีดีไอได้ดาเนินมาตรการป้องกันด้านสิ่งแวดล้อม ควบคุมคุณภาพอากาศให้เป็นไปตามกฎหมาย โดยติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิตให้ เป็นไปตามค่ามาตรฐาน บริษัทฯ ได้ติดตั้งระบบบาบัดอากาศ เช่น ระบบหอฟอกอากาศ และถุงกรองฝุ่น เพื่อให้คุณภาพอากาศในพื้นที่ปฏิบัติงานสะอาดปลอดภัย โดยมีเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญคอยตรวจสอบระบบ การทางานเป็นประจาทั้งนี้เพื่อให้แน่ใจว่าคุณภาพอากาศเป็นไปตามมาตรฐาน คุณภาพอากาศที่ปล่องควัน 
ปล่องควัน 
สานักงาน 
พารามิเตอร์ 
มาตรฐาน 
ผลตรวจวัด ปี 2556 
กระบวนการผลิต กรดกามะถัน 
โรงงาน ตาก 
ก๊าซชัลเฟอร์ได ออกไชด์ 
ไม่เกิน 500 ส่วน ในล้านส่วน 
571 
กระบวนการผลิต แคลไซน์ 
โรงงาน ระยอง 
ก๊าซชัลเฟอร์ได ออกไชด์ 
ไม่เกิน 500 ส่วน ในล้านส่วน 
632 
หม้อไอน้าสนับสนุน 
โรงงาน ตาก 
ก๊าซชัลเฟอร์ได ออกไชด์ 
ไม่เกิน 950 ส่วน ในล้านส่วน 
5491 โรงงาน ตาก ฝุ่นรวมทั้งหมด ไม่เกิน 240 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์ เมตร 1351 
เตาหลอมโลหะ สังกะสี 
โรงงาน ตาก 
ฝุ่นรวมทั้งหมด 
ไม่เกิน 240 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์ เมตร 
9.861 หมายเหตุ : 1 ตรวจวัดโดย บริษัท บริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จากัด 2 ตรวจวัดโดย บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จากัด
11 
คุณภาพอากาศในบรรยากาศ 
พารามิเตอร์ 
สานักงาน 
มาตรฐาน 
ปี 2556 
ก๊าซชัลเฟอร์ไดออกไชด์ 
โรงงานตาก 
ไม่เกิน 0.30 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 
0.011 
โรงงานระยอง 
ไม่เกิน 0.30 ส่วนในล้านส่วน 
0.062 
ฝุ่นรวมทั้งหมด 
โรงงานตาก 
ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 
0.053 
โรงงานระยอง 
ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 
0.207 
เหมืองแม่สอด 
ไม่เกิน 0.33มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 
0.096 หมายเหตุ : 1 มาตรฐานก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศ เฉลี่ย 24 ชั่วโมง 2 มาตรฐานก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศ เฉลี่ย 1 ชั่วโมง การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม บริษัทฯ บริหารจัดการกากของเสียจากกระบวนการผลิต โดยยึดแนวการปฏิบัติตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยใช้หลักการการจัดการของเสีย 3R ได้แก่ ลดการใช้ ใช้ซ้า และนา กลับมาใช้ใหม่ ในปี 2556 มีปริมาณกากของเสียจานวน 577,700 ตัน โดยร้อยละ 99.5 เป็นกากแร่ซึ่งผ่าน กระบวนการบาบัดตามมาตรฐานและมีสภาพเสถียรจึงนาไปฝังกลบในบ่อเก็บกากแร่ภายในโรงงานตากที่ ออกแบบและก่อสร้างตามข้อกาหนดของกรมโรงงานอุตสาหกรรมและสานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันในปี 2556 บริษัทฯ ได้ดาเนินโครงการสกัดโลหะมีค่าจากกากแร่คือ เงินและตะกั่วเป็น ผลิตภัณฑ์พลอยได้เพื่อสร้างรายได้เพิ่ม และยังเป็นการลดปริมาณกากแร่ที่นาไปฝังกลบด้วย สาหรับกากของเสียอันตรายจานวน 2,390 ตัน หรือร้อยละ 0.4 ของกากอุตสาหกรรมทั้งหมดนาไป ฝังกลบโดยหน่วยงานภายนอกที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนของเสียที่สามารถนา กลับไปใช้ใหม่จานวน 180 เมตริกตัน ส่งขายให้ผู้รับชื้อที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม และ ขยะมูลฝอยทั่วไปจานวน 166 ตัน นาไปฝังกลบในหลุมฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล
12 
การจัดการด้านพลังงาน พีดีไอมีการจัดการด้านพลังงานอย่างต่อเนื่องผ่านคณะทางานด้านการจัดการพลังงานในแต่ละ สานักงานประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ โดยคณะทางานฯ นี้มีหน้าที่ในการจัดทาแผนแม่บทการ จัดการพลังงาน กาหนดแผนการดาเนินงานและติดตามผลให้เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมาย การจัดการด้านพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพไม่เพียงแต่ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายเท่านั้น ยังช่วยลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้วย ทั้งนี้ในปี 2556 พีดีไอได้ ปรับลดกาลังการผลิตเพื่อให้อยู่ในจุดที่สมดุลกับต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าไฟฟ้าซึ่ง เป็นต้นทุนหลักและลดการใช้พลังงานความร้อน ทาให้การใช้พลังงานทั้งปีมีจานวนรวมทั้งสิ้น 1,555,587 กิ กะจูล โดยเป็นพลังงานไฟฟ้า 1,333,177 กิกะจูล และพลังงานความร้อน 224,410 กิกะจูล ลดลงจากปี 2555 จานวน 327,703 กิกะจูล คิดเป็นปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลง 42,000 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า หรือคิดเป็นลดลงร้อยละ 16 นอกจากนี้ พีดีไอยังได้ดาเนินโครงการอนุรักษ์พลังงาน 13 โครงการ สามารถลดพลังงานลงได้ 7,276 กิกะจูล คิดเป็นปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลง 500 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ดัง แสดงในตาราง 
โครงการอนุรักษ์พลังงาน 
ปริมาณ พลังงาน (กิกะจูล) 
ปริมาณก๊าซเรือนกระจก ลดลง (ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า) 
โครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า 1. หยุดการเดินปั๊มวนสารละลายที่โรง แยกสังกะสีเพื่อระบายความร้อน และ หอหล่อเย็นด้วยอากาศ ช่วงค่าไฟฟ้า สูงสุด (09.00น.-22.00น.) 
1,151 
195 
2. ลดปริมาณการใช้สังกะสีฝุ่น โดยเพิ่ม ถังปฏิกิริยาอีก 1 ใบ 
56 
9 
3.ลดการใช้ไฟฟ้าที่เตาหลอมในช่วงหยุด การผลิตชั่วคราว 
1,201 
205 
4. เปลี่ยนใช้หลอดไฟฟ้าแบบ LED ที่ ห้องควบคุม 
89 
15
13 
5. เปลี่ยนใช้หลอดไฟฟ้าแบบ LED ที่ หน่วยสกัดตะกอนโลหะมีค่า 
51 
9 
6.เปลี่ยนอุปกรณ์ระบบระบายอากาศโรง ย่างแร่ และ ห้องควบคุมระบบดักฝุ่น แคลไซน์ 
0.15 
26 
รวม 
2,556 
470 
โครงการลดการใช้พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิง 
1. ลดการใช้ไอน้าในการหลอมผง กามะถัน 
869 
6 
2. ลดปริมาณฝ้าโลหะหรืออัลลอย สกิ มจากการผลิตโลหะสังกะสีผสมเหลือ ร้อยละ 3 จากเดิมร้อยละ 5 
2,307 
19 
3. ลดการใช้แก๊สในการหลอมอัลลอย สกิมร้อยละ 5 
319 
3 
4.ลดการใช้น้ามันดีเซลของรถยกร้อยละ 5 
533 
3 
5.เปลี่ยนฉนวนเตาย่างแร่ 
0.06 
0.48 
6. ลดการใช้น้ามันดีเซลในพาหนะที่ไม่ เกี่ยวข้องกับการผลิต 
692 
4.5 
รวม 
4,719 
36 
รวมทั้งหมด 
7,276 
506
14
15 
ใบรับรอง 2551: เหมืองแม่สอดได้รับใบรับรองระบบการจัดการด้านคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 ระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14000:2004 และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS 18001: 2007/TIS 18001:1999 รางวัล 2551: ประสบผลสาเร็จมีสถิติชั่วโมงการทางานปลอดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานครบ 1,000,000 ชั่วโมงใน เดือนมีนาคมและได้รับประกาศเกียรติคุณโครงการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการทางานเป็นศูนย์ (Zero Accident Campaign) จากกระทรวงแรงงาน 2551: ได้รับรางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และด้านสวัสดิการแรงงาน 2551: ได้รับรางวัลสถานประกอบการที่มีการจัดการโลจิสติกส์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจากกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม 2549: ได้รับรางวัลสถานประกอบการชั้นดี ประเภทโรงโม่หินตามมาตรฐานของกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ 2548: ได้รับรางวัลสถานประกอบการชั้นดีประเภทเหมืองแร่ตามมาตรฐานของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่
16 
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กาหนดมาตรฐานมลพิษและการจัดการสิ่งแวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี 
นายอนุสรณ์ เนื่องผลมาก อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวง อุตสาหกรรม แถลงว่า กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้ดาเนินโครงการกาหนด มาตรฐานมลพิษและการจัดการสิ่งแวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี ซึ่ง จากผลการศึกษาทาให้ได้ ค่ามาตรฐานมลพิษที่ปลอดภัยต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรมเหมือง แร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี พร้อมทั้งจัดทาคู่มือมาตรฐานวิธีการสาหรับผู้ประกอบการในการควบคุม ป้องกัน ติดตามเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหามลพิษต่างๆ ที่เกิดจากการประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโล หกรรมที่สามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพเผยแพร่ให้กับผู้ประกอบการและประชาชนที่สนใจ 
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีการดาเนินโครงการกาหนดมาตรฐานมลพิษและ การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ กาหนดค่ามาตรฐานการระบายมลพิษจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม และเสนอแนะมาตรฐาน วิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมตลอดจนมาตรฐานวิธีการติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวังเพื่อให้บรรลุมาตรฐาน การระบายมลพิษตามที่กาหนด โดยทาการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับชนิดและปริมาณของมลพิษทุกชนิดที่ ปล่อยออกจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่และ โลหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อนามัยของประชาชน เพื่อนามาวิเคราะห์หาความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์จากการได้รับมลพิษตาม หลักการขององค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกา พร้อมประเมินความเหมาะสมและความเป็นไป ได้ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในการกาหนดค่ามาตรฐานมลพิษดังกล่าว 
จากผลการศึกษา ได้กาหนดค่ามาตรฐานมลพิษที่ปลอดภัยต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมสาหรับ อุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ค่ามาตรฐานมลพิษจากการ ประกอบการในเขตประกอบการเหมืองแร่และโลหกรรม และค่ามาตรฐานมลพิษจากการประกอบการนอก เขตประกอบการเหมืองแร่และ โลหกรรม หรือในธรรมชาติที่ไม่ใช่พื้นที่ประกอบกิจกรรมเหมืองแร่ โดยค่า มาตรฐานที่ศึกษาเป็นค่ามาตรฐานโลหะหนักในดิน ตะกอนดิน น้า และอากาศ ซึ่งได้มีการพิจารณา เปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อมในบริเวณพื้นที่ศึกษา และการประเมินความเสี่ยงกับ ค่ามาตรฐานของหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
17 
เพื่อให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี มีการดาเนินกิจกรรม ตามมาตรฐานมลพิษและการจัดการสิ่งแวดล้อมดังกล่าว กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้แจ้ง ผลการศึกษาดังกล่าวไปยังผู้ประกอบการเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ พร้อมทั้งได้มีการจัดทาคู่มือมาตรฐาน วิธีการสาหรับผู้ประกอบการในการควบคุม ป้องกัน ติดตามเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหามลพิษต่างๆ ที่เกิดจาก การประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรมที่สามารถนามาใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง ทางด้านอุทกวิทยาหรือการปนเปื้อนสู่แหล่งน้า ด้านปฐพีวิทยา ด้านอากาศ และด้านความปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยของพนักงานและประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยรอบ
18 
ตารางเปรียบเทียบ 
มาตรฐานการปฏิบัติ 
มาตรฐานเหมืองแร่ 
การดาเนินงานของบริษัท 
มาตรฐานด้านเสียง 
1. ค่าระดับเสียงสูงสุด ไม่เกิน 115 เดซิ เบลเอ 2. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 75 เดซิเบลเอ 3. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ 
การตรวจวัดระดับเสียง 1. การตรวจวัดค่าระดับเสียงสูงสุด ให้ ใช้มาตรระดับเสียงตรวจวัดระดับเป็นค่า SPL (Sound Pressure Level) ในขณะ ระเบิดหิน 2. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่ง โมง ให้ใช้มาตรวัดระดับเสียงตรวจวัด ระดับเสียงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 8 ชั่วโมง ที่มีการโม่ บด และย่อยหิน 3. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ให้ใช้มาตรระดับเสียงตรวจวัด ระดับเสียงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 24 ชั่วโมงใด ๆ 4. การตั้งไมโครโฟนของมาตรระดับ เสียงให้ตั้งในบริเวณขอบของเขต ประทานบัตรหรือเขตประกอบการ หรือ ขอบด้านนอกของเขตกันและในเขตที่มี การร้องเรียน ตามวิธีการที่องค์การ ระหว่างประเทศ 
มาตรฐานทางด้านเสียง 
1. ค่าระดับเสียงสูงสุด ไม่เกิน 115 เดซิ เบลเอ 2. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 75 เดซิเบลเอ 3. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ 
การจัดการคุณภาพเสียง 
1. เปิดหน้าเหมืองควบคุมให้มีการใช้ ปริมาณวัตถุระเบิดไม่เกิน225 กิโลกรัม ต่อจังหวะถ่วง 
2. ควบคุมการระเบิดไม่เกินวันละ1ครั้ง คือเวลา11.00-12.00 น.หรือ16.00-17.00 น. โดยจัดให้มีสัญญาณเตือนก่อนและ หลังทาการระเบิดได้ยินอย่างชัดเจนใน รัศมี 500 เมตร 
ความสั่นสะเทือน/หินปลิวจากการ ระเบิด 
1. ตรวจสอบแบบรูเจาะ ตาแหน่งรูเจาะ และแนวเอียงทามุมให้ถูกต้องตามที่ กาหนดไว้ 
2. ออกแบบจังหวะการเกิดจุดระเบิดให้ แต่ละรูเจาะ หรือแต่ละแถวมีช่องให้หิน แตกออกได้ และช่วงจังหวะการระเบิด ต้องเหมาะสม 
3. ถ้ามีโพรงหรือจุดอ่อนหน้าระเบิด ควรเว้นการบรรจุระเบิดโดยใช้ดินอัดรู ระเบิดในช่วงนั้นแทน 
4. ตรวจสอบปริมาณวัตถุระเบิดที่ใช้ให้ ถูกต้องตามที่ออกแบบไว้ 
5. งดการระเบิดซ้าเพื่อป้องกันการเกิด หินปลิว
19 
มาตรฐานการสั่นสะเทือนจากการทา เหมืองหิน 
ค่ามาตรฐาน 2.0 มม./วินาที 
6. มีสัญญาณเตือนอย่างน้อย 15 นาที และ ประกาศให้ทราบก่อนทาการ ระเบิดทุกครั้ง 
7. ตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ยตลอด 24 ช.ม. 
มาตรฐานด้านอากาศ ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ตั้งแต่ 0 ถึง มากกว่า 300 ซึ่งแต่ละระดับจะใช้สีเป็น สัญลักษณ์เปรียบเทียบระดับของ ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย (ตารางที่ 1) โดยดัชนีคุณภาพอากาศ 100 จะมีค่า เทียบเท่ามาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทั่วไป หากดัชนีคุณภาพ อากาศมีค่าสูงเกินกว่า 100 แสดงว่าค่า ความเข้มข้นของมลพิษทางอากาศมีค่า เกินมาตรฐานและคุณภาพอากาศในวัน นั้นจะเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย ของประชาชน มาตรฐานด้านอากาศ มาตรฐานทั่วไปที่มุ่งคุ้มครองสุขภาพ อนามัยของมนุษย์ จะต้องการมีควบคุม ค่ามาตรฐานอากาศซึ่งกาหนดค่า 1.มาตรฐานในเหมืองแร่ ปริมาณโลหะ หนักในฝุ่นที่ปนอยู่ในอากาศ มี แคดเมียม ไม่เกิน 0.002 ไมโครกรัม/ ลูกบาศก์เมตร ,สังกะสี ไม่เกิน 5,000 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ยตลอด ระยะเวลาทางานปกติ) และตะกั่วไม่เกิน 1.5 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ย 1เดือน) 2.มาตรฐานนอกเหมืองแร่ ปริมาณ โลหะหนักในฝุ่นที่ปนอยู่ในอากาศ มี แคดเมียม ไม่เกิน 0.002 ไมโครกรัม/ ลูกบาศก์เมตร ,สังกะสี ไม่เกิน 5,000 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ยตลอด ระยะเวลาทางานปกติ) และตะกั่วไม่เกิน 1.5 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ย 1เดือน) การจัดการคุณภาพอากาศ 
1. ทางโครงการได้ติดตั้งระบบบาบัด อากาศ เช่น ระบบหอฟอกอากาศ และ ถุงกรองฝุ่น เพื่อให้คุณภาพอากาศใน พื้นที่ปฏิบัติงานสะอาดปลอดภัย โดยมี เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญคอยตรวจสอบ ระบบการทางานเป็นประจา 2. มีหน่วยบารุงเครื่องจักรทาการตรวจ สภาพเครื่องจักร เครื่องยนต์ที่ใช้น้ามัน เป็นเชื้อเพลิงให้มีสภาพดีอย่างสม่าเสมอ เพื่อควบคุมคุณภาพและปริมาณไอเสีย ของเครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ทางโครงการมีรถบรรทุกน้าสาหรับ ฉีดพรมน้าบนถนนในบริเวณหน้า เหมืองเส้นทางการขนแร่ และพื้นที่ลาน ทิ้งดินในช่วงเช้าและช่วงบ่าย หรือ มากกว่านั้นถ้าเห็นว่าก่อให้เกิดฝุ่น 4. ทางโครงการกาหนดให้ผู้รับเหมาแต่ ละรายจัดรถบรรทุกน้าฉีดพรมน้าตาม เส้นทางในแต่ละพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดย แบ่งพื้นที่ไม่ให้ทับซ้อนกันระหว่าง โครงการและผู้รับเหมาเพื่อให้การฉีด พรมน้าครอบคลุมทุกพื้นที่ที่ปฏิบัติงาน
20 
ซึ่งทางโครงการทาการฉีดพรมน้าเฉลี่ย 9 เที่ยวต่อวัน และผู้รับเหมาทาการฉีด พรมน้าเฉลี่ย 10 เที่ยวต่อวัน 5. ในการขนส่งแร่ออกนอกพื้นที่ โครงการไปยังโรงถลุงจะทาการปิด คลุมส่วนกระบะรถบรรทุกแร่ด้วยผ้าใบ อย่างมิดชิดก่อนทุกคันและรถบรรทุก ดินจะปิดคลุมกระบะท้ายก่อนขนส่งดิน มายังพื้นที่โครงการ 6. ทางโครงการดาเนินการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพอากาศ โดยตรวจวัด ปริมาณฝุ่นละอองในบรรยากาศตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งการวัดปริมาณฝุ่นละออง รวมทั้งหมดที่มีขนาดไม่เกิน 100 ไมครอน บริเวณสานักงานเหมืองของ โครงการพบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 0.040 – 0.107 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งอยู่ใน ค่าเกณฑ์มาตรฐานทั่วไป ตามที่ประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่ กาหนดให้จะต้องไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์เมตร 
มาตรฐานด้านน้า 
1.สี กลิ่นและรส เป็นไปตามธรรมชาติ 
2.อุณหภูมิ ต้องไม่สูงกว่าอุณหภูมิตาม ธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส 
3.ความเป็นกรดและด่าง ค่ามาตรฐาน 5-9 4.ออกซิเจนละลาย ไม่น้อยกว่า 6.0 มก. /ล. มาตรฐานด้านน้า เป็นการกาหนดค่ามาตรฐานของ คุณภาพแหล่งน้าไว้ว่าจะต้องมีคุณภาพ อยู่ในขั้นที่เตรียมไว้เพื่อคุ้มครองและ แพร่พันธ์ของสัตว์น้าต่างๆ ตลอดจน เพื่อการบริโภคของสิ่งมีชีวิต กาหนดค่า มาตรฐาน ดังนี้ การบริหารจัดการน้า 
1.ได้จัดเตรียมระบบระบายน้า เพื่อ รองรับน้าที่เกิดขึ้นแต่ละกิจกรรมการทา เหมืองไว้แล้ว โดยระบบรองรับน้าของ แต่ละกิจกรรม ประกอบด้วย 
 ระบบ A รองรับน้าฝนที่ไหน จากหน้าเหมืองโดย มีบ่อกัก เก็บ A1 ,A2,A3 และ A4 ขนาดความจุประมาณ 60,000 ,23,000 ,4,000 และ 6,000 ลูก บาศกเมตร ตามลาดับ
21 
5.บีโอดี ไม่เกิน 1.5 มก. /ล. 
6.ไนเตรต (NO3) ในหน่วยไนโตรเจน 
ไม่เกิน 5.0 มก. /ล. 
7.แอมโมเนีย (NH3) ในหน่วย 
ไนโตรเจน ไม่เกิน 0.5 มก. /ล. 
8.ฟีนอล ไม่เกิน 0.005 มก. /ล. 
9.ทองแดง ไม่เกิน 0.1 มก. /ล. 
10.นิคเกิล ไม่เกิน 0.1 มก. /ล. 
11.แมงกานีส ไม่เกิน 1.0 มก. /ล. 
12.สังกะสี ไม่เกิน 1.0 มก. /ล. 
13.แคดเมียม ไม่เกิน 0.005 มก. /ล. 
14.โครเมียมชนิดเฮ๊กซาวาเล้นท์ ไม่ 
เกิน 0.05 มก. /ล. 
15.ตะกั่ว ไม่เกิน 0.05 มก. /ล. 
16.ปรอททั้งหมด ไม่เกิน 0.002 มก. / 
ล. 
17.สารหนู ไม่เกิน 0.01 มก. /ล. 
18.ไซยาไนด์ ไม่เกิน 0.005 มก. /ล. 
19.กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) 
-ค่ารังสีแอลฟา (Alpha) 
ไม่เกิน 0.1 เบคเคอเรล/ล. 
-ค่ารังสีเบตา (Beta) 
ไม่เกิน 1.0 เบคเคอเรล/ล. 
ค่ามาตรฐานในเขตประกอบการเหมือง 
แร่ 
-ปริมาณโลหะหนักในน้า ทิ้ง(มิลลิกรัม/ 
ลิตร) 
แคดเมียม ไม่เกิน0.03 
สังกะสี ไม่เกิน 5 
ตะกั่ว ไม่เกิน 0.2 
-ในน้า ทิ้งลงบ่อบาดาล(มิลลิกรัม/ลิตร) 
แคดเมียมไม่เกิน 0.01 
สังกะสีไม่เกิน 15 
ตะกั่วไม่เกิน0.05 
ค่ามาตรฐานนอกเขตประกอบการ 
เหมืองแร่ 
-ปริมาณโลหะหนักในแหล่งน้า ผิวดิน 
(มิลลิกรัม/ลิตร) 
แคดเมียม ไม่เกิน0.05 
สังกะสี ไม่เกิน 1 
ตะกั่ว ไม่เกิน 0.05 
-ในน้า ใต้ดิน(มิลลิกรัม/ลิตร) 
แคดเมียมไม่เกิน 0.03 
สังกะสีไม่เกิน 5 
ตะกั่วไม่เกิน0.01 
 ระบบ B รองรับน้า ฝนที่ไหล 
บ่าจากหน้าเหมืองบางส่วน 
และจากลานทิ้งดินที่ 1, 2 และ 
3 โดยมีบ่อกักเก็บ B1,B2 และ 
B3 ขนาดความจุประมาณ 
195,000 , 33,000 และ51,000 
ลูกบาศก์เมตร ตามลา ดับ 
 ระบบ C รองรับน้า ฝนที่ไหน 
ออกมาจากลานทิ้งดินที่ 3 
ดา้นตะวันออก โดยมีบ่อกัก 
เก็บ C1 ขนาดความจุประมาณ 
65,000 ลูกบาศก์เมตร 
 ระบบ D รองรับน้า ด้านอาคาร 
สา นักงาน ซึ่งไม่ผ่านพื้นที่ทา 
เหมือง โดยมีบ่อกักเก็บ 
D1,D2 และ D3 ขนาดความจุ 
ประมาณ 12,000 , 4,000 และ 
2,000 ลูกบาศก์เมตร 
ตามลา ดับ
22 
20.สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มี 
คลอรีนทั้งหมด ไม่เกิน 0.05 
มก. /ล. 
21.ดีดีที ไม่เกิน 1.0 ไมโครกรัม/ล. 
22.บีเอชซีชนิดแอลฟ่า ไม่เกิน 0.02 
ไมโครกรัม/ล. 
23.ดิลดริน ไม่เกิน 0.1ไมโครกรัม/ล. 
24.อัลดริน ไม่เกิน 0.1ไมโครกรัม/ล. 
25.เฮปตาคลอร์และเฮปตาคลออีปอก 
ไซด์ ไม่เกิน 0.2ไมโครกรัม/ล. 
26.เอนดริน ไม่สามารถตรวจพบได้ 
ตามวิธีการตรวจสอบที่กาหนด 
2. ภายในร่องระบายน้า จากพื้นที่หน้า 
เหมืองและลานทิ้งดินลงสู่บ่อกักเก็บ 
ตะกอนแต่ละแห่งจะต้องจัดทา แนวกั้น 
น้า (ฝ้ายแม้ว) เป็นช่วงตลอดแนวคู 
ระบายน้า เพื่อให้ตะกอนต่าง ที่ถูกพัดพา 
มากับน้า เกิดการตกตะกอนให้มากที่สุด 
 ทางโครงการจัดทาฝายชะลอ 
น้า เป็นช่วงๆตลอดแนวคู 
ระบายน้า จากหน้าเหมืองและ 
รอบลานทิ้งดิน เพื่อชะลอ 
ความเร็วของน้า และกรอง 
ตะกอนต่างๆก่อนไหลลงสู่บ่อ 
กักเก็บตะกอน 
 แนวกั้นน้า (ฝายชะลอน้า ) ที่ 
โครงการจัดสร้างขึ้นสามารถ 
ป้องกันตะกอนต่างๆ ให้ตกอยู่ 
บริเวณร่องระบายน้า ก่อน 
ระบายลงสู่บ่อกักเก็บตะกอน 
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3. พื้นที่ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทา เหมือง 
แร่ทุกบริเวณจะต้องรักษาให้เป็น 
Natural Flow เพื่อให้น้า ไหลลงสู่ห้วย 
ตามธรรมชาติ และหากพบว่าบริเวณใด 
มีต้นไม้เบาบางจะต้องปลูกเสริมให้ 
หนาแน่น
23 
4. จัดสร้างรางระบายน้าเพื่อรับน้าจาก บ่อE1 หรือแนวห้วยปาปูด้านเหนือบ่อ กักเก็บหารงแร่ (TSF) ซึ่งเป็นน้า ธรรมชาติที่ไม่การปนเปื้อนจากกิจกรรม เหมืองแร่ลงสู่ห้วยแม่ดาวโดยตรงราง ระบายน้ามีขนาดความกว้างที่พื้นผิวบน ประมาณ 11.5 ความกว้างท้องราง ประมาณ 4 เมตร และความลึกประมาณ 1.25 เมตร มีความลาดเอียงโดยเฉลี่ย ประมาณ 1:12 หรือ 5 องศา หรือขนาดมี ความเพียงพอต่อการระบายน้าไหลบ่า ผิวดินทั้งหมด 
5. ให้ขุดลอกร่องระบายน้าและบ่อกัก เก็บตะกอนก่อนเข้าฤดูฝนทุกปีหรือ มากกว่า หากพบว่ามีปริมาณดินสะสม อยู่เกินครึ่งหนึ่งของความลึกบ่อ 
6. ดูแลรักษาสภาพคูระบายน้ารอบลาน กองดินและบริเวณต่างๆให้มีสภาพดีอยู่ เสมอ 
7. ป้องกันไม่มีสิ่งกีดขวางต่างๆ เช่น เศษขยะ ใบไม้ ใบหญ้า ในบริเวณ อาคารกรองตะกอนเพื่อป้องกันการอุด ตัน 
หน่วยงานดูแลระบบน้าของโครงการได้ ตรวจสอบอาคารกรองตะกอนทุกระบบ 
มาตรฐานด้านของเสียอุตสาหกรรม 
ขั้นตอนหลักในการปฏิบัติงานของ โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมจะ คล้ายคลึงกันในทุกประเภทกิจการ โดย เริ่มจากการตกลงรับของเสียเข้ามา ดาเนินการในโรงงานการขนส่งของเสีย เข้ามาในโรงงาน การรับและการเก็บกัก ของเสียไว้ในโรงงาน การคัดแยก/ รี 
การบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม 
1. โครงการมีการบริหารจัดการของเสีย จากกระบวนการผลิตโดยยึดแนวการ ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยใช้หลักการ จัดการของเสีย 3R ได้แก่ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) การนา กลับมาใช้ใหม่ (Recycle) 
2. โครงการจะจัดเก็บขยะให้หมดไม่ให้ มีขยะตกค้างและจัดภาชนะรองรับขยะ
24 
ไซเคิล/บาบัด/กาจัดของเสียตามวิธีการ ที่ได้รับอนุญาต และการบาบัด กาจัด มลพิษที่เกิดจากกระบวนการดาเนินงาน ของโรงงาน แต่อาจมีรายละเอียดที่ แตกต่างกันในแต่ละขั้นตอนหลัก 
กระบวนการบาบัดน้าเสีย เป็นการลด/กาจัด/บาบัดมลพิษที่ มีอยู่ ในน้าเสียและนากากตะกอนไปกาจัด อย่างถูกวิธีต่อไป กระบวนการบาบัดน้า เสียทางกายภาพ และเคมี เป็นการทาให้ ของเสียลดความเป็นอันตรายลงด้วยการ เปลี่ยนสารอันตรายในรูปตะกอนไม่ ละลายน้า และเป็นตะกอนที่มีความคง ตัวและเป็นกลางหรือไม่เกิดปฏิกิริยา 
กระบวนการฝังกลบของเสีย 
การฝังกลบของเสียอุตสาหกรรม แบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 
1. การฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล ใช้ฝัง กลบขยะมูลฝอยหรือของเสียที่ไม่เป็น ของเสียอันตราย 2. การฝังกลบอย่าง ใช้ฝังกลบกากของ เสียที่เป็นอันตรายซึ่งผ่านการทาลาย ฤทธิ์โดยการปรับเสถียรแล้ว การปรับ เสถียรกากของเสีย คือ การเปลี่ยนสภาพ กากของเสียอันตรายให้มีความเป็น อันตรายหรือเป็นพิษน้อยลงด้วยวิธีปรับ สภาพความเป็นกรดด่างของกากของ เสียให้มีค่าเป็นกลาง และทาให้เป็น ของแข็งโดยผสมกับปูนซีเมนต์เพื่อ ห่อหุ้มกากของเสีย17 หลักปฏิบัตทิ่ดี สาหรับการให้บริการบาบัด กาจัดกาก อุตสาหกรรมป้องกันการชะล้าง เพื่อให้ กากของเสียอยู่ในสภาพคงตัว 
3. โครงการดาเนินการคัดแยกขยะและ จัดถังขยะเพื่อรองรับขยะทุกบริเวณ อย่างเพียงพอ สาหรับ ขยะมูลฝอยทั่วไป จะนาไปฝังกลบในหลุมฝังกลบตาม หลักสุขาภิบาล 
4. โครงการมีการดาเนินการกาจัดหรือ ฝังกลบภาชนะบรรจุภัณฑ์ของสารเคมีที่ ใช้ลอยแร่ในพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้ ห้าม นาไปทิ้งในบริเวณอื่นเด็ดขาด ซึ่งกาก อุตสาหกรรมทั้งหมดจะนาไปฝังกลบ โดยหน่วยงานภายนอกที่ได้รับอนุญาต จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนของ เสียที่สามารถนากลับไปใช้ใหม่จะส่ง ขายให้ผู้รับซื้อที่ได้รับอนุญาตจากกรม โรงงานอุตสาหกรรม 
5. การจัดการภาชนะบรรจุภัณฑ์ของ สารเคมีต่างๆจากกระบวนการลอยแร่ ซึ่ง สามารถป้องกันการแพร่กระจาย ของสารเคมีที่ใช้ลอยแร่ได้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 
6. ปริมาณกากของเสียจานวนมาก โดย ร้อยละ 99.5 เป็นกากแร่ ซึ่งผ่าน กระบวนการบาบัดตามมาตรฐานและมี สภาพที่เสถียรจึงนาไปฝังกลบในบ่อ เก็บกากแร่ภายในโรงงานตากที่ ออกแบบ
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38 
ข้อวิเคราะห์ของกลุ่มที่มีต่อบริษัท 
พีดีไอ ได้มีการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่งจะมีมาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยทุกปีจะมีการเปิดเผยข้อมูลผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผล กระทบต่อชุมชนที่อยู่ในพื้นที่การทาเหมือง บริษัทจะมีการรับฟังความคิดเห็นและข้อร้องเรียนของคนใน ชุมชนเพื่อนามาปรับปรุง ให้ความร่วมมือกับผู้นาชุมชนในกิจกรรมต่างๆ ส่งเสริมให้มีอาชีพ เพื่อให้ ประชาชนในบริเวณใกล้เคียงมีทัศนคติด้านบวกกับโครงการ 
พีดีไอ ยังคงมุ่งมั่นบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างดีที่สุด โดยมีกระบวนการผลิตและ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับการดาเนินงานของบริษัทพร้อม ทั้งให้ความสาคัญต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การลดของเสีย และการใช้วัตถุดิบอย่างประหยัดเป็นกลยุทธ์สาคัญ ของการบริหารจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อมของ บริษัท จะเห็นได้ว่าบริษัทให้ความสาคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก แต่บริษัทยังไม่มีการเปิดเผย ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นและเมื่อวันที่26ตุลาคมพ.ศ. 2553 บริษัทได้รับหนังสือ จากกระทรวงอุตสาหกรรมกาหนดให้บริษัทดาเนินการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสุขภาพเพิ่มเติมตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และจากการที่บริษัทจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเพิ่มเติมก็ยังคงพบข้อบกพร่องต่างๆที่ไม่ครบถ้วนใน รายงาน แต่กรรมการองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ยังคงให้ความเห็นว่าเห็นชอบให้มีการ ดาเนินโครงการดังกล่าวโดยมีเงื่อนไขจะต้องดาเนินการตามข้อแนะนา ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆที่ ไม่ครบถ้วน
39 
บรรณานุกรม 
http://www.padaeng.com 
http://www.padaeng.com/files/report/2014_04/pdf/45644243085929509143.pdf 
http://www.padaeng.com/files/report/2013_09/pdf/91736759139273444305.pdf 
http://www.pcd.go.th/info_serv/air_noisepollution.html 
http://www.dpim.go.th/pr/article?catid=102&articleid=502 
http://www.iceh.or.th/iceh/Padaeng_Re_EHIA.php 
http://www.iceh.or.th/iceh/Padaeng_Re_Comment.php 
http://164.115.22.33/Re_EHIA/5608_Padaeng/chapter7.pdf 
http://164.115.22.33/Re_EHIA/5608_Padaeng/chapter10.pdf 
https://attachment.fbsbx.com/file_download.php?id=379080988917690&eid=ASuu4i2nD_LMTVeyuDuzUFrlEX6_msY9jxLHZFP5bhXOUL31hcx99WtPjIEBBmSJaa0&ext=1410697748&hash=ASukOpMTHWFdMb58
40 
จัดทาโดย 
นางสาวชลทิชา จิราพงษ์ รหัสนิสิต 5430160172 
นางสาวณฐกานต์ แก้วหนูนา รหัสนิสิต 5430160229 
นางสาวเมธาวรินทร์ ธนารัตนนันท์ รหัสนิสิต 5430160369 
นางสาวนริศร เกษรารัตน์ รหัสนิสิต 5430160466 
นางสาวสาลินี นิลแร่ รหัสนิสิต 5430160784 
สาขาการบัญชีบริหาร หมู่เรียน 850 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี

Más contenido relacionado

Destacado

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Destacado (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)

  • 1. 1 บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จากัด (มหาชน) หรือเรียกย่อว่า พีดีไอ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2524 เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีทุนจด ทะเบียน 2,260 ล้านบาท บริษัทดาเนินธุรกิจผลิตโลหะสังกะสี มี ผลิตภัณฑ์หลักประกอบ ด้วยโลหะสังกะสีบริสุทธิ์และโลหะสังกะสี ผสม โดยจาหน่ายให้กับอุตสาหกรรมภายในประเทศเป็นหลัก วิสัยทัศน์ของเรา : มุ่งเป็นผู้นาในผลิตภัณฑ์โลหะสังกะสีคุณภาพสูงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สานักงาน: สานักงานกรุงเทพ สานักงานโรงถลุงสังกะสี จังหวัดตาก สานักงานเหมืองแม่สอด จังหวัดตาก สานักงานโรงผลิตแคลไซน์ จังหวัดระยอง พีดีไอมุ่งสร้างผลกาไรและดาเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ปี 2556 พีดีไอมีผลการดาเนินงานดีกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยสามารถลดผลขาดทุนจากการดาเนินงาน ได้อย่างมีนัยสาคัญ อีกทั้งโครงการสาคัญหรือ VIP (Very Important Project) มีความคืบหน้าอย่างมากและ ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและสร้างรายได้เพิ่ม ได้แก่  โครงการติดตั้งหม้อไอน้าที่ใช้ถ่านหินคุณภาพสูงแทนการใช้น้ามันเตา ได้เริ่มเดินเครื่องจักรเมื่อ เดือนธันวาคม 2556 โครงการดังกล่าวช่วยลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงจากการใช้ถ่านหินบิทูมินัสที่มีราคา ถูกกว่าน้ามันเตา และมีส่วนช่วยปรับปรุงการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมโดยรวมให้ดีขึ้น  โครงการสกัดแยกโลหะมีค่าได้แก่ เงิน และตะกั่ว ออกจากกากแร่ในกระบวนการถลุงแร่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ PLP (Padaeng Leach Product) โดยปี 2556 ผลิตได้จานวนทั้งสิ้น 10,000 เมตริกตั  นวัตกรรมของโรงล้างวัตถุดิบสังกะสีออกไซด์ที่โรงงานระยอง สนับสนุนการจัดหาวัตถุดิบสังกะสี ทุติยภูมิและเป็นไปตามกลยุทธ์เพิ่มการใช้วัตถุดิบสังกะสีรีไซเคิลป้อนกระบวนการผลิตมากขึ้น
  • 2. 2 เหมืองผาแดง ผาแดงเป็นแหล่งแร่สังกะสีที่ได้มีการสารวจพบโดยกรมทรัพยากรธรณีมากกว่า 40 ปี และได้ให้ สัมปทานการทาเหมืองแก่บริษัท ไทยซิงค์ เมื่อปี 2515 ก่อนที่บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จากัด (มหาชน) จะ ได้รับสัมปทานช่วงต่อและเข้ามาดาเนินกิจกรรมเหมืองแร่สังกะสีในปี 2525 บริเวณดอยผาแดง ซึ่งตั้งอยู่ที่ ตาบลพระธาตุผาแดง อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีเนื้อที่รวมประมาณ 250 ไร่ เป็นระยะเวลา 25 ปี โดยพบว่า มีแร่สังกะสีซิลิเกตปริมาณมาก จึงได้เปิดทาเหมืองเพื่อผลิตแร่ป้อนโรงถลุงสังกะสีตั้งแต่ปี 2527 เป็นต้นมา เรียกเหมืองแร่แห่งนี้ว่า “เหมืองผาแดง” ซึ่งเป็นเหมืองเปิดแบบขั้นบันได การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมเหมือง ปี 2556 พีดีไอได้ดาเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมจานวน 79 ไร่ตามแผนงานฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ประจาปีโดยใช้งบประมาณ 8 ล้านบาทซึ่งในปีที่ผ่านมาบริษัทได้ปลูกหญ้าแฝกเป็นพืชเบิกนาจานวน 1 ล้าน ต้น ปลูกไม้ยืนต้นและไม้พุ่มจานวน 12,000 ต้น ทั้งในพื้นที่ใหม่และปลูกแซมในพื้นที่เดิม นับเป็นระยะเวลา กว่า 1 ทศวรรษ จนถึง ณ สิ้นปี 2556 บริษัทได้ปลูกหญ้าแฝกไปแล้วทั้งสิ้น 17.5 ล้านต้นและปลูกไม้ยืนต้น จานวนกว่า 91,000 ต้น โดยดาเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมไปแล้วเกือบ 600 ไร่และใช้งบประมาณทั้งสิ้น 56 ล้านบาท ด้วยความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องจริงจัง ส่งผลให้เหมืองแม่สอดเป็นต้นแบบความสาเร็จในการฟื้นฟู สภาพแวดล้อมมากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย และแสดงให้เห็นถึงพันธะสัญญาในการพัฒนาที่ยั่งยืน ของพีดีไอต่อการป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการทาเหมือง พีดีไอมีพันธกิจในการฟื้นฟู สภาพแวดล้อมของเหมืองแม่สอดต่อเนื่องไปจนสิ้นอายุประทานบัตรในปี 2556 โดยยังมีพื้นที่ที่จะต้องฟื้นฟู อีกกว่า 500 ไร่ ซึ่งภารกิจฟื้นฟูสภาพแวดล้อมสีเขียวนี้ได้ใช้งบประมาณจากกองทุนเพื่อพัฒนาการฟื้นฟู สภาพเหมืองผาแดง จานวน 97 ล้านบาท ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อปี 2546
  • 3. 3 ผลสาเร็จงานฟื้นฟูจากลานทิ้งดินสู่ภูเขาเขียวขจี เหมืองแม่สอดของพีดีไอเป็นกรณีตัวอย่างระดับประเทศที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของหญ้า แฝกต่อการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมเหมืองที่สามารถลดการชะล้างพังทลายของดินและปรับปรุงคุณภาพดินและ ยังสร้างภูมิทัศน์สีเขียวให้เกิดขึ้นอีกด้วย เหมืองแม่สอดจึงเป็นแหล่งปลูกหญ้าแฝกใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งใน ประเทศไทย พีดีไอสามารถปรับลานทิ้งดินที่ 3 ซึ่งเต็มไปด้วยหินให้กลายเป็นภูเขาสีเขียวที่มีหญ้าแฝกและ ต้นไม่ใหญ่ปกคลุมหนาแน่น เป็นที่ประจักษ์ถึงความมุ่งมั่นและการดาเนินงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โครงการปลูกหญ้าแฝกของเหมืองแม่สอดเป็นแหล่งเรียนรู้การอนุรักษ์ดินและน้าโดยในแต่ละปีจะ เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนทั้งหน่วยราชการชุมชนโดยรอบเหมืองโดยเฉพาะคณะครูและนักเรียนจาก โรงเรียนต่างๆเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องหญ้าแฝกและสร้างจิตสานึกการอนุรักษ์ดินและน้า รวมทั้งสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน ทั้งนี้มีผู้วนใจเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละปีเป็นจานวนมากกว่า 1,000 คน การจัดหาวัตถุดิบแร่ การบริหารจัดการวัตถุดิบของพีดีไอยังคงให้ ความสาคัญลาดับต้นต่อการเพิ่มการผลิตแร่สังกะสีจาก เหมืองแม่สอด เพิ่มความหลากหลายของชนิดแร่และ แหล่งวัตถุดิบรวมทั้งการใช้วัตถุดิบสังกะสีรีไซเคิลมาก ขึ้น ด้วยความยืดหยุ่นของโรงงานตากที่สามารถรองรับ วัตถุดิบสังกะสีได้หลากหลายชนิด จึงช่วยสนับสนุนกล ยุทธ์ในการปรับลดต้นทุนด้านวัตถุดิบและเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งต่อกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ในปี 2556 พีดีไอได้ลดการนาเข้าแร่ สังกะสีซัลไฟด์ (Sulphide) และแร่สังกะสีชนิดอื่นๆ (Non Sulphide) มากขึ้นตามการปรับลดกาลังการผลิตของ โรงงานตาก โดยปริมาณการนาเข้าแร่ประมาณ 80,000 เมตริกตัน โดยส่วนใหญ่นาเข้าจากอเมริกาใต้และ ออสเตรเลีย ในปี 2557 พีดีไอยังคงให้ความสาคัญอย่างยิ่งต่อการบริหารจัดการเพื่อมุ่งลดต้นทุนวัตถุดิบโดยจะ เพิ่มสัดส่วนการใช้แร่สังกะสีซิลิเกตจากเหมืองแม่สอดของบริษัท และเพิ่มการใช้วัตถุดิบสังกะสีรีไซเคิลให้ มากขึ้น ขณะเดียวกันบริษัทจะลดปริมาณการนาเข้าแร่สังกะสีซัลไฟด์ที่มีราคาแพง
  • 4. 4 การทาเหมืองและการสารวจแร่ การทาเหมือง ปี 2556 เหมืองแม่สอดของพีดีไอผลิตแร่คิดเป็นโลหะสังกะสีจานวน 30,000 เมตริกตัน ใกล้เคียง กับปี2555 ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย แม้ว่าการต่ออายุหนังสืออนุญาตจากกรมป่าไม้ให้เข้าทาประโยชน์ในเขต ป่าสงวนแห่งชาติของประทานบัตร เลขที่30769/15525 จะล่าช้ากว่าแผนงานประมาณ 2 เดือน จนส่งผลให้ การเปิดหน้าดินเพื่อผลิตแร่ต่ากว่าแผนการผลิตของปี 2556 ถึงร้อยละ 43 นอกจากนี้แร่อยู่ในระดับลึกใกล้กับ ชั้นหินปูนที่มีแมกนีเซียมสูง ทาให้แร่ที่ผลิตได้มีแมกนีเซียมสูงขึ้นตามไปด้วยและส่งผลกระทบทาให้โรง ถลุงสังกะสีที่ตากไม่สามารถใช้แร่ที่ผลิตได้ทั้งหมด เนื่องจากต้องใช้กระแสไฟฟ้าในกระบวนการแยกโลหะ สังกะสีสูงขึ้น ซึ่งกระทบต่อต้นทุนค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานวิจัย และพัฒนาของพีดีไอ จึงมีการปรับปรุงกระบวนการผลิตบางส่วนของโรงถลุงเพื่อให้สามารถใช้แร่ที่มี แมกนีเซียมสูงดังกล่าวได้ ปริมาณแร่สารอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาซึ่งมีเนื้อโลหะสังกะสีตั้งแต่ร้อยละ 3 ขึ้น ไป ที่เหมืองแม่สอดมีจานวนทั้งสิ้น 1.6 ล้านเมตริกตันแห้ง โดยมีเนื้อโลหะสังกะสีในแร่เฉลี่ยร้อยละ 10.3 คิดเป็นปริมาณโลหะสังกะสี 165,000 เมตริกตัน รายงานของผู้เชี่ยวชาญ ฉบับนี้จัดทาโดยนายอนุพงษ์ภิระกันทา (นักธรณีวิทยาเหมืองแร่ บริษัทผา แดงอินดัสทรี จากัด (มหาชน) และมีประสบการณ์ทางานเพียงพอและเกี่ยวข้องในด้านการสะสมตัวของ แหล่งแร่และชนิดของแหล่งแร่และรับผิดชอบในการศึกษาและจัดทารูปแบบจาลองแหล่งแร่และประเมิน ปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาในรายงานฉบับนี้ และมีคุณสมบัติเป็นผู้รับรองแหล่งแร่ตามมาตรฐานของ Australasian Code ในการจัดทารายงานผลการสารวจแร่และการประเมินปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยา และปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ฉบับปี 2555 นายอนุพงษ์ภิระกันทา ยอมรับผลการประเมินข้อมูลตาม รูปแบบที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้
  • 5. 5 การขอประทานบัตรแปลงใหม่เพื่อให้สามารถผลิตแร่ที่มีอยู่ให้ได้ทั้งหมดประสบปัญหาล่าช้าอีก ครั้งแม้ว่ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพซึ่งเป็นส่วนสาคัญของกระบวนการตาม ขั้นตอนการขอประทานบัตรจะได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้วแต่ยังต้องผ่านอีก3ขั้นตอน สาคัญที่ต้องใช้เวลานาน คือ ต้องผ่านการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อขอผ่อนผันการใช้พื้นที่ลุ่มน้าชั้น 1บี ต้องผ่านการอนุมัติจากกระทรวงทรัพยากร-ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทา ประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติและต้องผ่านการอนุมัติจากกระทรวงอุตสาหกรรมเพื่อออกประทานบัตร ทาเหมือง ด้วยเหตุดังกล่าวบริษัทฯ จึงคาดว่าจะไม่สามารถได้ประทานบัตรตามกาหนด จึงตัดสินใจไม่รวม ปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ในส่วนนี้จานวนประมาณ 450,000 เมตริกตันแห้ง ทาให้ปริมาณแร่สารอง ทางธรณีวิทยาที่ทาเหมืองได้มีจานวน 1.12 ล้านเมตริกตันแห้ง โดยมีเนื้อโลหะสังกะสีในแร่เฉลี่ยร้อยละ 10.1 ซึ่งคิดเป็นปริมาณโลหะสังกะสีจานวน 115,000 เมตริกตัน รายงานของผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ (Ore Reserves) ที่เหมืองแม่สอด ใน รายงานฉบับนี้จัดทาโดยนายสมโชค หยูเอียด (ผู้จัดการส่วนผลิตแร่ บริษัท ผาแดงอินดัสทรีจากัด (มหาชน)) ซึ่งเป็นสมาชิกของ Australasian Institute of Mining and Metallurgy (#301367) และมี ประสบการณ์ทางานเพียงพอและเกี่ยวข้องในด้านการสะสมตัวของแร่และชนิดของแหล่งแร่และรับผิดชอบ ในการศึกษาและทาการประเมินปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้และมีคุณสมบัติเป็นผู้รับรองแหล่งแร่ตาม มาตรฐานของAustralasian Code ในการจัดทารายงานผลการสารวจแร่และการประเมินปริมาณแร่สารอง ทางธรณีวิทยาและปริมาณแร่สารองที่ทาเหมืองได้ ฉบับปี 2555 นายสมโชค หยูเอียด ยอมรับผลการประเมิน ข้อมูลตามรูปแบบที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้
  • 6. 6 การสารวจแร่ การสารวจแร่ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าได้เริ่มดาเนินการมาในช่วงระยะเวลาไม่กี่ปีมานี้และ เสร็จสิ้นเมื่อปี 2556 ซึ่งจากผลการสารวจเบื้องต้นพบว่าเป็นแหล่งแร่ขนาดเล็กซึ่งไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะ ลงทุนสารวจเพิ่มเติม บริษัทฯ จึงได้ตัดสินใจยุติการสารวจแร่ในสาธารณ-รัฐแห่งสหภาพพม่า เช่นเดียวกับ ผลการสารวจแร่ในประเทศและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ก็ไม่ประสบผลสาเร็จ บริษัทฯ จึงได้ยุติกิจกรรมการสารวจแร่ทั้งหมดตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นต้นมา และได้ตัดสินใจที่จะ ขายสิทธิใบอนุญาตอาชญาบัตรในการสารวจแร่จานวน 2 แหล่ง คือ แหล่งแร่ที่จังหวัดลาพูนและแหล่งแร่ที่ เมืองกาสี สปป.ลาว ซึ่งได้สารวจในขั้นปริมาณแร่สารองทางธรณี-วิทยาและความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจแล้ว โดยแหล่งแร่ลาพูนมีปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาเบื้องต้น 2.1 ล้านเมตริกตัน มีเนื้อโลหะสังกะสีเฉลี่ย ร้อยละ 7.2 และตะกั่วร้อยละ 1.2 ส่วนแหล่งแร่กาสีมีปริมาณแร่สารองทางธรณีวิทยาเบื้องต้น 0.9 ล้าน เมตริกตัน มีเนื้อโลหะสังกะสีเฉลี่ยร้อยละ 9 และตะกั่วร้อยละ 1.9
  • 7. 7 นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ผาแดงฯ ขับเคลื่อนธุรกิจผ่านนวัตกรรมและการเติบโตอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ขององค์กรสะท้อนถึง ความรับผิดชอบที่มีต่อสังคม สร้างมูลค่าเพิ่มสูงสุดให้กับลูกค้า เคารพต่อพนักงานของเราและสิ่งแวดล้อม สนับสนุนชุมชนท้องถิ่นที่เราเข้าไปดาเนินธุรกิจและให้ผลตอบแทนที่ดีที่สุดแก่ผู้ถือหุ้นของเรา การดาเนินกิจการในทุกพื้นที่ เราต้องบรรลุผลสาเร็จด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ประกอบด้วยพนักงาน สาธารณชน องค์กร ภาคเอกชน (NGO) และผู้ถือหุ้น พนักงานของเราเป็นทรัพย์สินที่มีค่าที่สุดขององค์กร เราจะปฏิบัติต่อ พนักงานด้วยความซื่อสัตย์และเป็นธรรม จะดูแลและไม่เลือกปฏิบัติ จัดสภาพแวดล้อมการทางานที่ปลอดภัย และมีสุขภาวะที่ดี สนับสนุนพนักงานของเราให้สามารถพัฒนาตนเองท่ามกลางความสมดุลระหว่างการใช้ ชีวิตส่วนตัวและการทางาน บริษัทฯ บริหารผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรมการดาเนินงานโดยตระหนักถึงความ รับผิดชอบอย่างสูงสุด และจะพัฒนากระบวนการอย่างต่อเนื่องเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เราจะนา เทคโนโลยีที่ดีที่สุดมาใช้ในทุกกระบวนการเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ขอรับรองว่าจะให้การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ด้วยการลดของเสีย ลดการใช้พลังงาน น้าและวัตถุดิบอื่น ๆ อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทฯ สนับสนุนการพัฒนาสังคมโดยสร้างความสัมพันธ์และมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่นอย่าง ชัดเจน เปิดเผยและตรงไปตรงมา เราส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนมีจิตอาสาทางานร่วมกับชุมชน บริษัทฯ พัฒนาและประกาศใช้นโยบายนี้เพื่อทาให้มั่นใจว่า หุ้นส่วนธุรกิจทั้งหมดของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้จัดหาสินค้ามีการปฏิบัติอย่างสอดคล้องกับมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม จรรยาบรรณขององค์กรได้วางแนวปฏิบัติในการทางานและความสัมพันธ์ในการทางานของ พนักงาน ผู้บริหารและคณะกรรมการบริษัทกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด รวมทั้งการต่อต้านกับการทุจริต ในทุกรูปแบบ บริษัทฯ คานึงถึงผลสาเร็จของความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการประเมินผล ดาเนินงานในภาพรวมขององค์กร เราให้พนักงาน คู่ค้าและผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมต่อนโยบายนี้เพื่อแสดงถึง พันธะสัญญาที่มีต่อสาธารณชน และเติมเต็มความรับผิดชอบของเราต่อการสร้างสรรค์โลกที่ดีกว่าและ อนาคตที่ดีขึ้นให้กับมนุษยชาติ
  • 8. 8 การจัดการประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและพลังงาน การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน นอกเหนือจากการนาแร่สังกะสีซิลิเกตที่มีคุณภาพเนื้อโลหะสังกะสีต่ากว่าร้อยละ 10 มาผ่าน กระบวนการลอยแร่เพื่อเพิ่มคุณภาพหัวแร่ให้มีเนื้อโลหะสังกะสีสูงกว่าร้อยละ 20 แล้ว พีดีไอยังได้คิดค้น และพัฒนานวัตกรรมกระบวนการผลิตเพื่อลดอุปสรรคต่างๆ เกี่ยวกับการใช้วัตถุดิบ โดยเป็นอีกหนึ่ง ตัวอย่างในการนาวัตถุดิบสังกะสีออกไซด์ซึ่งเป็นวัตถุดิบรีไซเคิลจากโรงเหล็กมาใช้เป็นวัตถุดิบร่วมกับแร่ ดิบธรรมชาติ โดยบริษัทฯ ได้เพิ่มสัดส่วนการใช้วัตถุดิบสังกะสีออกไซด์อย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการน้า น้าดิบที่นามาใช้ในการดาเนินงานของพีดีไอมาจากแม่น้าปิงซึ่งใช้สาหรับโรงงานตากและน้าจาก การประปาส่วนภูมิภาคสาหรับโรงงานระยอง ส่วนเหมืองแม่สอดมีการเก็บกักน้าฝนเพื่อใช้ในกระบวนการ ลอยแร่และไม่มีการปล่อยน้าทิ้งแต่จะนากลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ ในปี 2556 พีดีไอมีปริมาณการใช้น้ารวม 2,252,823 ลูกบาศก์เมตร และกว่าร้อยละ 40 สามารถนา กลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ในกระบวนการผลิตหลังผ่านกระบวนการบาบัดแล้วและนาไปใช้ในส่วนที่ไม่ เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น การรดน้าต้นไม้ สนามหญ้า เป็นต้น สาหรับน้าทิ้งจากกระบวนการผลิตหลังผ่าน การบาบัด บริษัทฯ ได้มีการตรวจสอบคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ซึ่งในปี 2556 ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าทิ้ง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดังตาราง พารามิเตอร์ มาตรฐาน โรงงานตาก โรงงานระยอง ความเป็นกรด ด่าง (pH) 5.5 - 9 7.69 7.7 สังกะสี ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.58 0.44 แคดเมียม ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.012 0.006 แมงกานีส ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.29 - ตะกั่ว ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.003 0.023 อาร์เซนิก ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.001 0.063 ปรอท ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.0005 0.0029
  • 9. 9 การบริหารจัดการน้าของเหมืองแม่สอด แม้ไม่มีการใช้น้าในกระบวนการทาเหมืองและใช้น้าแบบหมุนเวียนในกระบวนการลอยแร่ แต่ เหมืองแม่สอดมีมาตรการจัดการน้าฝนที่ไหลผ่านพื้นที่โครงการทาเหมืองแร่ โดยมีบ่อกักเก็บตะกอนรองรับ ปริมาณน้าไหลบ่าหน้าดินในแต่ละพื้นที่ได้ในทุกกรณี และมีอาคารกรองตะกอนน้าในบ่อกักเก็บตะกอนให้ ใสได้มาตรฐานก่อนระบายออกสู่ธรรมชาติตามมาตรฐานคุณภาพน้าที่ระบายออกจากเหมืองแร่ที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนดและอ้างอิงตามมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งกรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งผลการตรวจวัดคุณภาพน้าทิ้งที่ระบายออกในปี 2556 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดังแสดงในตาราง พารามิเตอร์ มาตรฐาน จุดระบายน้า A1 B3 C1 D3 ความเป็นกรด ด่าง 5.5 - 9 7.1 - 8.1 7.2 - 8.5 7.7 - 8.0 7.4 - 8.1 ของแข็งแขวนลอย ทั้งหมด ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร 1 - 15 2 - 18 8 - 12 1 - 23 ของแข็งละลายน้า ทั้งหมด ไม่เกิน 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร 96 - 216 386 - 754 257 - 354 107 - 229 สังกะสี ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 0.03 - 0.42 0.02 - 0.37 0.10 - 0.18 0.03 - 0.29 แคดเมียม ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร < 0.010 - 0.014 < 0.010 - 0.012 < 0.010 < 0.010 - 0.02 ตะกั่ว ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร < 0.01 - 0.02 < 0.01 - 0.01 < 0.01 < 0.01 - 0.02
  • 10. 10 การจัดการคุณภาพอากาศ พีดีไอได้ดาเนินมาตรการป้องกันด้านสิ่งแวดล้อม ควบคุมคุณภาพอากาศให้เป็นไปตามกฎหมาย โดยติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิตให้ เป็นไปตามค่ามาตรฐาน บริษัทฯ ได้ติดตั้งระบบบาบัดอากาศ เช่น ระบบหอฟอกอากาศ และถุงกรองฝุ่น เพื่อให้คุณภาพอากาศในพื้นที่ปฏิบัติงานสะอาดปลอดภัย โดยมีเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญคอยตรวจสอบระบบ การทางานเป็นประจาทั้งนี้เพื่อให้แน่ใจว่าคุณภาพอากาศเป็นไปตามมาตรฐาน คุณภาพอากาศที่ปล่องควัน ปล่องควัน สานักงาน พารามิเตอร์ มาตรฐาน ผลตรวจวัด ปี 2556 กระบวนการผลิต กรดกามะถัน โรงงาน ตาก ก๊าซชัลเฟอร์ได ออกไชด์ ไม่เกิน 500 ส่วน ในล้านส่วน 571 กระบวนการผลิต แคลไซน์ โรงงาน ระยอง ก๊าซชัลเฟอร์ได ออกไชด์ ไม่เกิน 500 ส่วน ในล้านส่วน 632 หม้อไอน้าสนับสนุน โรงงาน ตาก ก๊าซชัลเฟอร์ได ออกไชด์ ไม่เกิน 950 ส่วน ในล้านส่วน 5491 โรงงาน ตาก ฝุ่นรวมทั้งหมด ไม่เกิน 240 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์ เมตร 1351 เตาหลอมโลหะ สังกะสี โรงงาน ตาก ฝุ่นรวมทั้งหมด ไม่เกิน 240 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์ เมตร 9.861 หมายเหตุ : 1 ตรวจวัดโดย บริษัท บริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จากัด 2 ตรวจวัดโดย บริษัท อีสเทิร์นไทยคอนซัลติ้ง 1992 จากัด
  • 11. 11 คุณภาพอากาศในบรรยากาศ พารามิเตอร์ สานักงาน มาตรฐาน ปี 2556 ก๊าซชัลเฟอร์ไดออกไชด์ โรงงานตาก ไม่เกิน 0.30 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 0.011 โรงงานระยอง ไม่เกิน 0.30 ส่วนในล้านส่วน 0.062 ฝุ่นรวมทั้งหมด โรงงานตาก ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 0.053 โรงงานระยอง ไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 0.207 เหมืองแม่สอด ไม่เกิน 0.33มิลลิกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 0.096 หมายเหตุ : 1 มาตรฐานก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศ เฉลี่ย 24 ชั่วโมง 2 มาตรฐานก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศ เฉลี่ย 1 ชั่วโมง การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม บริษัทฯ บริหารจัดการกากของเสียจากกระบวนการผลิต โดยยึดแนวการปฏิบัติตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยใช้หลักการการจัดการของเสีย 3R ได้แก่ ลดการใช้ ใช้ซ้า และนา กลับมาใช้ใหม่ ในปี 2556 มีปริมาณกากของเสียจานวน 577,700 ตัน โดยร้อยละ 99.5 เป็นกากแร่ซึ่งผ่าน กระบวนการบาบัดตามมาตรฐานและมีสภาพเสถียรจึงนาไปฝังกลบในบ่อเก็บกากแร่ภายในโรงงานตากที่ ออกแบบและก่อสร้างตามข้อกาหนดของกรมโรงงานอุตสาหกรรมและสานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันในปี 2556 บริษัทฯ ได้ดาเนินโครงการสกัดโลหะมีค่าจากกากแร่คือ เงินและตะกั่วเป็น ผลิตภัณฑ์พลอยได้เพื่อสร้างรายได้เพิ่ม และยังเป็นการลดปริมาณกากแร่ที่นาไปฝังกลบด้วย สาหรับกากของเสียอันตรายจานวน 2,390 ตัน หรือร้อยละ 0.4 ของกากอุตสาหกรรมทั้งหมดนาไป ฝังกลบโดยหน่วยงานภายนอกที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนของเสียที่สามารถนา กลับไปใช้ใหม่จานวน 180 เมตริกตัน ส่งขายให้ผู้รับชื้อที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม และ ขยะมูลฝอยทั่วไปจานวน 166 ตัน นาไปฝังกลบในหลุมฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล
  • 12. 12 การจัดการด้านพลังงาน พีดีไอมีการจัดการด้านพลังงานอย่างต่อเนื่องผ่านคณะทางานด้านการจัดการพลังงานในแต่ละ สานักงานประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ โดยคณะทางานฯ นี้มีหน้าที่ในการจัดทาแผนแม่บทการ จัดการพลังงาน กาหนดแผนการดาเนินงานและติดตามผลให้เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมาย การจัดการด้านพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพไม่เพียงแต่ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายเท่านั้น ยังช่วยลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้วย ทั้งนี้ในปี 2556 พีดีไอได้ ปรับลดกาลังการผลิตเพื่อให้อยู่ในจุดที่สมดุลกับต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าไฟฟ้าซึ่ง เป็นต้นทุนหลักและลดการใช้พลังงานความร้อน ทาให้การใช้พลังงานทั้งปีมีจานวนรวมทั้งสิ้น 1,555,587 กิ กะจูล โดยเป็นพลังงานไฟฟ้า 1,333,177 กิกะจูล และพลังงานความร้อน 224,410 กิกะจูล ลดลงจากปี 2555 จานวน 327,703 กิกะจูล คิดเป็นปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลง 42,000 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า หรือคิดเป็นลดลงร้อยละ 16 นอกจากนี้ พีดีไอยังได้ดาเนินโครงการอนุรักษ์พลังงาน 13 โครงการ สามารถลดพลังงานลงได้ 7,276 กิกะจูล คิดเป็นปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลง 500 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ดัง แสดงในตาราง โครงการอนุรักษ์พลังงาน ปริมาณ พลังงาน (กิกะจูล) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก ลดลง (ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า) โครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า 1. หยุดการเดินปั๊มวนสารละลายที่โรง แยกสังกะสีเพื่อระบายความร้อน และ หอหล่อเย็นด้วยอากาศ ช่วงค่าไฟฟ้า สูงสุด (09.00น.-22.00น.) 1,151 195 2. ลดปริมาณการใช้สังกะสีฝุ่น โดยเพิ่ม ถังปฏิกิริยาอีก 1 ใบ 56 9 3.ลดการใช้ไฟฟ้าที่เตาหลอมในช่วงหยุด การผลิตชั่วคราว 1,201 205 4. เปลี่ยนใช้หลอดไฟฟ้าแบบ LED ที่ ห้องควบคุม 89 15
  • 13. 13 5. เปลี่ยนใช้หลอดไฟฟ้าแบบ LED ที่ หน่วยสกัดตะกอนโลหะมีค่า 51 9 6.เปลี่ยนอุปกรณ์ระบบระบายอากาศโรง ย่างแร่ และ ห้องควบคุมระบบดักฝุ่น แคลไซน์ 0.15 26 รวม 2,556 470 โครงการลดการใช้พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิง 1. ลดการใช้ไอน้าในการหลอมผง กามะถัน 869 6 2. ลดปริมาณฝ้าโลหะหรืออัลลอย สกิ มจากการผลิตโลหะสังกะสีผสมเหลือ ร้อยละ 3 จากเดิมร้อยละ 5 2,307 19 3. ลดการใช้แก๊สในการหลอมอัลลอย สกิมร้อยละ 5 319 3 4.ลดการใช้น้ามันดีเซลของรถยกร้อยละ 5 533 3 5.เปลี่ยนฉนวนเตาย่างแร่ 0.06 0.48 6. ลดการใช้น้ามันดีเซลในพาหนะที่ไม่ เกี่ยวข้องกับการผลิต 692 4.5 รวม 4,719 36 รวมทั้งหมด 7,276 506
  • 14. 14
  • 15. 15 ใบรับรอง 2551: เหมืองแม่สอดได้รับใบรับรองระบบการจัดการด้านคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 ระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14000:2004 และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS 18001: 2007/TIS 18001:1999 รางวัล 2551: ประสบผลสาเร็จมีสถิติชั่วโมงการทางานปลอดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานครบ 1,000,000 ชั่วโมงใน เดือนมีนาคมและได้รับประกาศเกียรติคุณโครงการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการทางานเป็นศูนย์ (Zero Accident Campaign) จากกระทรวงแรงงาน 2551: ได้รับรางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และด้านสวัสดิการแรงงาน 2551: ได้รับรางวัลสถานประกอบการที่มีการจัดการโลจิสติกส์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจากกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม 2549: ได้รับรางวัลสถานประกอบการชั้นดี ประเภทโรงโม่หินตามมาตรฐานของกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ 2548: ได้รับรางวัลสถานประกอบการชั้นดีประเภทเหมืองแร่ตามมาตรฐานของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่
  • 16. 16 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กาหนดมาตรฐานมลพิษและการจัดการสิ่งแวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี นายอนุสรณ์ เนื่องผลมาก อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวง อุตสาหกรรม แถลงว่า กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้ดาเนินโครงการกาหนด มาตรฐานมลพิษและการจัดการสิ่งแวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี ซึ่ง จากผลการศึกษาทาให้ได้ ค่ามาตรฐานมลพิษที่ปลอดภัยต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรมเหมือง แร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี พร้อมทั้งจัดทาคู่มือมาตรฐานวิธีการสาหรับผู้ประกอบการในการควบคุม ป้องกัน ติดตามเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหามลพิษต่างๆ ที่เกิดจากการประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโล หกรรมที่สามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพเผยแพร่ให้กับผู้ประกอบการและประชาชนที่สนใจ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีการดาเนินโครงการกาหนดมาตรฐานมลพิษและ การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ กาหนดค่ามาตรฐานการระบายมลพิษจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม และเสนอแนะมาตรฐาน วิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมตลอดจนมาตรฐานวิธีการติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวังเพื่อให้บรรลุมาตรฐาน การระบายมลพิษตามที่กาหนด โดยทาการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับชนิดและปริมาณของมลพิษทุกชนิดที่ ปล่อยออกจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่และ โลหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อนามัยของประชาชน เพื่อนามาวิเคราะห์หาความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์จากการได้รับมลพิษตาม หลักการขององค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกา พร้อมประเมินความเหมาะสมและความเป็นไป ได้ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในการกาหนดค่ามาตรฐานมลพิษดังกล่าว จากผลการศึกษา ได้กาหนดค่ามาตรฐานมลพิษที่ปลอดภัยต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมสาหรับ อุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ค่ามาตรฐานมลพิษจากการ ประกอบการในเขตประกอบการเหมืองแร่และโลหกรรม และค่ามาตรฐานมลพิษจากการประกอบการนอก เขตประกอบการเหมืองแร่และ โลหกรรม หรือในธรรมชาติที่ไม่ใช่พื้นที่ประกอบกิจกรรมเหมืองแร่ โดยค่า มาตรฐานที่ศึกษาเป็นค่ามาตรฐานโลหะหนักในดิน ตะกอนดิน น้า และอากาศ ซึ่งได้มีการพิจารณา เปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อมในบริเวณพื้นที่ศึกษา และการประเมินความเสี่ยงกับ ค่ามาตรฐานของหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • 17. 17 เพื่อให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรม ชนิดแร่สังกะสี มีการดาเนินกิจกรรม ตามมาตรฐานมลพิษและการจัดการสิ่งแวดล้อมดังกล่าว กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้แจ้ง ผลการศึกษาดังกล่าวไปยังผู้ประกอบการเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ พร้อมทั้งได้มีการจัดทาคู่มือมาตรฐาน วิธีการสาหรับผู้ประกอบการในการควบคุม ป้องกัน ติดตามเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหามลพิษต่างๆ ที่เกิดจาก การประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่และโลหกรรมที่สามารถนามาใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง ทางด้านอุทกวิทยาหรือการปนเปื้อนสู่แหล่งน้า ด้านปฐพีวิทยา ด้านอากาศ และด้านความปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยของพนักงานและประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยรอบ
  • 18. 18 ตารางเปรียบเทียบ มาตรฐานการปฏิบัติ มาตรฐานเหมืองแร่ การดาเนินงานของบริษัท มาตรฐานด้านเสียง 1. ค่าระดับเสียงสูงสุด ไม่เกิน 115 เดซิ เบลเอ 2. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 75 เดซิเบลเอ 3. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ การตรวจวัดระดับเสียง 1. การตรวจวัดค่าระดับเสียงสูงสุด ให้ ใช้มาตรระดับเสียงตรวจวัดระดับเป็นค่า SPL (Sound Pressure Level) ในขณะ ระเบิดหิน 2. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่ง โมง ให้ใช้มาตรวัดระดับเสียงตรวจวัด ระดับเสียงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 8 ชั่วโมง ที่มีการโม่ บด และย่อยหิน 3. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ให้ใช้มาตรระดับเสียงตรวจวัด ระดับเสียงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 24 ชั่วโมงใด ๆ 4. การตั้งไมโครโฟนของมาตรระดับ เสียงให้ตั้งในบริเวณขอบของเขต ประทานบัตรหรือเขตประกอบการ หรือ ขอบด้านนอกของเขตกันและในเขตที่มี การร้องเรียน ตามวิธีการที่องค์การ ระหว่างประเทศ มาตรฐานทางด้านเสียง 1. ค่าระดับเสียงสูงสุด ไม่เกิน 115 เดซิ เบลเอ 2. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 75 เดซิเบลเอ 3. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ การจัดการคุณภาพเสียง 1. เปิดหน้าเหมืองควบคุมให้มีการใช้ ปริมาณวัตถุระเบิดไม่เกิน225 กิโลกรัม ต่อจังหวะถ่วง 2. ควบคุมการระเบิดไม่เกินวันละ1ครั้ง คือเวลา11.00-12.00 น.หรือ16.00-17.00 น. โดยจัดให้มีสัญญาณเตือนก่อนและ หลังทาการระเบิดได้ยินอย่างชัดเจนใน รัศมี 500 เมตร ความสั่นสะเทือน/หินปลิวจากการ ระเบิด 1. ตรวจสอบแบบรูเจาะ ตาแหน่งรูเจาะ และแนวเอียงทามุมให้ถูกต้องตามที่ กาหนดไว้ 2. ออกแบบจังหวะการเกิดจุดระเบิดให้ แต่ละรูเจาะ หรือแต่ละแถวมีช่องให้หิน แตกออกได้ และช่วงจังหวะการระเบิด ต้องเหมาะสม 3. ถ้ามีโพรงหรือจุดอ่อนหน้าระเบิด ควรเว้นการบรรจุระเบิดโดยใช้ดินอัดรู ระเบิดในช่วงนั้นแทน 4. ตรวจสอบปริมาณวัตถุระเบิดที่ใช้ให้ ถูกต้องตามที่ออกแบบไว้ 5. งดการระเบิดซ้าเพื่อป้องกันการเกิด หินปลิว
  • 19. 19 มาตรฐานการสั่นสะเทือนจากการทา เหมืองหิน ค่ามาตรฐาน 2.0 มม./วินาที 6. มีสัญญาณเตือนอย่างน้อย 15 นาที และ ประกาศให้ทราบก่อนทาการ ระเบิดทุกครั้ง 7. ตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ยตลอด 24 ช.ม. มาตรฐานด้านอากาศ ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ตั้งแต่ 0 ถึง มากกว่า 300 ซึ่งแต่ละระดับจะใช้สีเป็น สัญลักษณ์เปรียบเทียบระดับของ ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย (ตารางที่ 1) โดยดัชนีคุณภาพอากาศ 100 จะมีค่า เทียบเท่ามาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทั่วไป หากดัชนีคุณภาพ อากาศมีค่าสูงเกินกว่า 100 แสดงว่าค่า ความเข้มข้นของมลพิษทางอากาศมีค่า เกินมาตรฐานและคุณภาพอากาศในวัน นั้นจะเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย ของประชาชน มาตรฐานด้านอากาศ มาตรฐานทั่วไปที่มุ่งคุ้มครองสุขภาพ อนามัยของมนุษย์ จะต้องการมีควบคุม ค่ามาตรฐานอากาศซึ่งกาหนดค่า 1.มาตรฐานในเหมืองแร่ ปริมาณโลหะ หนักในฝุ่นที่ปนอยู่ในอากาศ มี แคดเมียม ไม่เกิน 0.002 ไมโครกรัม/ ลูกบาศก์เมตร ,สังกะสี ไม่เกิน 5,000 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ยตลอด ระยะเวลาทางานปกติ) และตะกั่วไม่เกิน 1.5 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ย 1เดือน) 2.มาตรฐานนอกเหมืองแร่ ปริมาณ โลหะหนักในฝุ่นที่ปนอยู่ในอากาศ มี แคดเมียม ไม่เกิน 0.002 ไมโครกรัม/ ลูกบาศก์เมตร ,สังกะสี ไม่เกิน 5,000 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ยตลอด ระยะเวลาทางานปกติ) และตะกั่วไม่เกิน 1.5 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ย 1เดือน) การจัดการคุณภาพอากาศ 1. ทางโครงการได้ติดตั้งระบบบาบัด อากาศ เช่น ระบบหอฟอกอากาศ และ ถุงกรองฝุ่น เพื่อให้คุณภาพอากาศใน พื้นที่ปฏิบัติงานสะอาดปลอดภัย โดยมี เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญคอยตรวจสอบ ระบบการทางานเป็นประจา 2. มีหน่วยบารุงเครื่องจักรทาการตรวจ สภาพเครื่องจักร เครื่องยนต์ที่ใช้น้ามัน เป็นเชื้อเพลิงให้มีสภาพดีอย่างสม่าเสมอ เพื่อควบคุมคุณภาพและปริมาณไอเสีย ของเครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ทางโครงการมีรถบรรทุกน้าสาหรับ ฉีดพรมน้าบนถนนในบริเวณหน้า เหมืองเส้นทางการขนแร่ และพื้นที่ลาน ทิ้งดินในช่วงเช้าและช่วงบ่าย หรือ มากกว่านั้นถ้าเห็นว่าก่อให้เกิดฝุ่น 4. ทางโครงการกาหนดให้ผู้รับเหมาแต่ ละรายจัดรถบรรทุกน้าฉีดพรมน้าตาม เส้นทางในแต่ละพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดย แบ่งพื้นที่ไม่ให้ทับซ้อนกันระหว่าง โครงการและผู้รับเหมาเพื่อให้การฉีด พรมน้าครอบคลุมทุกพื้นที่ที่ปฏิบัติงาน
  • 20. 20 ซึ่งทางโครงการทาการฉีดพรมน้าเฉลี่ย 9 เที่ยวต่อวัน และผู้รับเหมาทาการฉีด พรมน้าเฉลี่ย 10 เที่ยวต่อวัน 5. ในการขนส่งแร่ออกนอกพื้นที่ โครงการไปยังโรงถลุงจะทาการปิด คลุมส่วนกระบะรถบรรทุกแร่ด้วยผ้าใบ อย่างมิดชิดก่อนทุกคันและรถบรรทุก ดินจะปิดคลุมกระบะท้ายก่อนขนส่งดิน มายังพื้นที่โครงการ 6. ทางโครงการดาเนินการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพอากาศ โดยตรวจวัด ปริมาณฝุ่นละอองในบรรยากาศตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งการวัดปริมาณฝุ่นละออง รวมทั้งหมดที่มีขนาดไม่เกิน 100 ไมครอน บริเวณสานักงานเหมืองของ โครงการพบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 0.040 – 0.107 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งอยู่ใน ค่าเกณฑ์มาตรฐานทั่วไป ตามที่ประกาศ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่ กาหนดให้จะต้องไม่เกิน 0.33 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์เมตร มาตรฐานด้านน้า 1.สี กลิ่นและรส เป็นไปตามธรรมชาติ 2.อุณหภูมิ ต้องไม่สูงกว่าอุณหภูมิตาม ธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส 3.ความเป็นกรดและด่าง ค่ามาตรฐาน 5-9 4.ออกซิเจนละลาย ไม่น้อยกว่า 6.0 มก. /ล. มาตรฐานด้านน้า เป็นการกาหนดค่ามาตรฐานของ คุณภาพแหล่งน้าไว้ว่าจะต้องมีคุณภาพ อยู่ในขั้นที่เตรียมไว้เพื่อคุ้มครองและ แพร่พันธ์ของสัตว์น้าต่างๆ ตลอดจน เพื่อการบริโภคของสิ่งมีชีวิต กาหนดค่า มาตรฐาน ดังนี้ การบริหารจัดการน้า 1.ได้จัดเตรียมระบบระบายน้า เพื่อ รองรับน้าที่เกิดขึ้นแต่ละกิจกรรมการทา เหมืองไว้แล้ว โดยระบบรองรับน้าของ แต่ละกิจกรรม ประกอบด้วย  ระบบ A รองรับน้าฝนที่ไหน จากหน้าเหมืองโดย มีบ่อกัก เก็บ A1 ,A2,A3 และ A4 ขนาดความจุประมาณ 60,000 ,23,000 ,4,000 และ 6,000 ลูก บาศกเมตร ตามลาดับ
  • 21. 21 5.บีโอดี ไม่เกิน 1.5 มก. /ล. 6.ไนเตรต (NO3) ในหน่วยไนโตรเจน ไม่เกิน 5.0 มก. /ล. 7.แอมโมเนีย (NH3) ในหน่วย ไนโตรเจน ไม่เกิน 0.5 มก. /ล. 8.ฟีนอล ไม่เกิน 0.005 มก. /ล. 9.ทองแดง ไม่เกิน 0.1 มก. /ล. 10.นิคเกิล ไม่เกิน 0.1 มก. /ล. 11.แมงกานีส ไม่เกิน 1.0 มก. /ล. 12.สังกะสี ไม่เกิน 1.0 มก. /ล. 13.แคดเมียม ไม่เกิน 0.005 มก. /ล. 14.โครเมียมชนิดเฮ๊กซาวาเล้นท์ ไม่ เกิน 0.05 มก. /ล. 15.ตะกั่ว ไม่เกิน 0.05 มก. /ล. 16.ปรอททั้งหมด ไม่เกิน 0.002 มก. / ล. 17.สารหนู ไม่เกิน 0.01 มก. /ล. 18.ไซยาไนด์ ไม่เกิน 0.005 มก. /ล. 19.กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) -ค่ารังสีแอลฟา (Alpha) ไม่เกิน 0.1 เบคเคอเรล/ล. -ค่ารังสีเบตา (Beta) ไม่เกิน 1.0 เบคเคอเรล/ล. ค่ามาตรฐานในเขตประกอบการเหมือง แร่ -ปริมาณโลหะหนักในน้า ทิ้ง(มิลลิกรัม/ ลิตร) แคดเมียม ไม่เกิน0.03 สังกะสี ไม่เกิน 5 ตะกั่ว ไม่เกิน 0.2 -ในน้า ทิ้งลงบ่อบาดาล(มิลลิกรัม/ลิตร) แคดเมียมไม่เกิน 0.01 สังกะสีไม่เกิน 15 ตะกั่วไม่เกิน0.05 ค่ามาตรฐานนอกเขตประกอบการ เหมืองแร่ -ปริมาณโลหะหนักในแหล่งน้า ผิวดิน (มิลลิกรัม/ลิตร) แคดเมียม ไม่เกิน0.05 สังกะสี ไม่เกิน 1 ตะกั่ว ไม่เกิน 0.05 -ในน้า ใต้ดิน(มิลลิกรัม/ลิตร) แคดเมียมไม่เกิน 0.03 สังกะสีไม่เกิน 5 ตะกั่วไม่เกิน0.01  ระบบ B รองรับน้า ฝนที่ไหล บ่าจากหน้าเหมืองบางส่วน และจากลานทิ้งดินที่ 1, 2 และ 3 โดยมีบ่อกักเก็บ B1,B2 และ B3 ขนาดความจุประมาณ 195,000 , 33,000 และ51,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลา ดับ  ระบบ C รองรับน้า ฝนที่ไหน ออกมาจากลานทิ้งดินที่ 3 ดา้นตะวันออก โดยมีบ่อกัก เก็บ C1 ขนาดความจุประมาณ 65,000 ลูกบาศก์เมตร  ระบบ D รองรับน้า ด้านอาคาร สา นักงาน ซึ่งไม่ผ่านพื้นที่ทา เหมือง โดยมีบ่อกักเก็บ D1,D2 และ D3 ขนาดความจุ ประมาณ 12,000 , 4,000 และ 2,000 ลูกบาศก์เมตร ตามลา ดับ
  • 22. 22 20.สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มี คลอรีนทั้งหมด ไม่เกิน 0.05 มก. /ล. 21.ดีดีที ไม่เกิน 1.0 ไมโครกรัม/ล. 22.บีเอชซีชนิดแอลฟ่า ไม่เกิน 0.02 ไมโครกรัม/ล. 23.ดิลดริน ไม่เกิน 0.1ไมโครกรัม/ล. 24.อัลดริน ไม่เกิน 0.1ไมโครกรัม/ล. 25.เฮปตาคลอร์และเฮปตาคลออีปอก ไซด์ ไม่เกิน 0.2ไมโครกรัม/ล. 26.เอนดริน ไม่สามารถตรวจพบได้ ตามวิธีการตรวจสอบที่กาหนด 2. ภายในร่องระบายน้า จากพื้นที่หน้า เหมืองและลานทิ้งดินลงสู่บ่อกักเก็บ ตะกอนแต่ละแห่งจะต้องจัดทา แนวกั้น น้า (ฝ้ายแม้ว) เป็นช่วงตลอดแนวคู ระบายน้า เพื่อให้ตะกอนต่าง ที่ถูกพัดพา มากับน้า เกิดการตกตะกอนให้มากที่สุด  ทางโครงการจัดทาฝายชะลอ น้า เป็นช่วงๆตลอดแนวคู ระบายน้า จากหน้าเหมืองและ รอบลานทิ้งดิน เพื่อชะลอ ความเร็วของน้า และกรอง ตะกอนต่างๆก่อนไหลลงสู่บ่อ กักเก็บตะกอน  แนวกั้นน้า (ฝายชะลอน้า ) ที่ โครงการจัดสร้างขึ้นสามารถ ป้องกันตะกอนต่างๆ ให้ตกอยู่ บริเวณร่องระบายน้า ก่อน ระบายลงสู่บ่อกักเก็บตะกอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. พื้นที่ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทา เหมือง แร่ทุกบริเวณจะต้องรักษาให้เป็น Natural Flow เพื่อให้น้า ไหลลงสู่ห้วย ตามธรรมชาติ และหากพบว่าบริเวณใด มีต้นไม้เบาบางจะต้องปลูกเสริมให้ หนาแน่น
  • 23. 23 4. จัดสร้างรางระบายน้าเพื่อรับน้าจาก บ่อE1 หรือแนวห้วยปาปูด้านเหนือบ่อ กักเก็บหารงแร่ (TSF) ซึ่งเป็นน้า ธรรมชาติที่ไม่การปนเปื้อนจากกิจกรรม เหมืองแร่ลงสู่ห้วยแม่ดาวโดยตรงราง ระบายน้ามีขนาดความกว้างที่พื้นผิวบน ประมาณ 11.5 ความกว้างท้องราง ประมาณ 4 เมตร และความลึกประมาณ 1.25 เมตร มีความลาดเอียงโดยเฉลี่ย ประมาณ 1:12 หรือ 5 องศา หรือขนาดมี ความเพียงพอต่อการระบายน้าไหลบ่า ผิวดินทั้งหมด 5. ให้ขุดลอกร่องระบายน้าและบ่อกัก เก็บตะกอนก่อนเข้าฤดูฝนทุกปีหรือ มากกว่า หากพบว่ามีปริมาณดินสะสม อยู่เกินครึ่งหนึ่งของความลึกบ่อ 6. ดูแลรักษาสภาพคูระบายน้ารอบลาน กองดินและบริเวณต่างๆให้มีสภาพดีอยู่ เสมอ 7. ป้องกันไม่มีสิ่งกีดขวางต่างๆ เช่น เศษขยะ ใบไม้ ใบหญ้า ในบริเวณ อาคารกรองตะกอนเพื่อป้องกันการอุด ตัน หน่วยงานดูแลระบบน้าของโครงการได้ ตรวจสอบอาคารกรองตะกอนทุกระบบ มาตรฐานด้านของเสียอุตสาหกรรม ขั้นตอนหลักในการปฏิบัติงานของ โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมจะ คล้ายคลึงกันในทุกประเภทกิจการ โดย เริ่มจากการตกลงรับของเสียเข้ามา ดาเนินการในโรงงานการขนส่งของเสีย เข้ามาในโรงงาน การรับและการเก็บกัก ของเสียไว้ในโรงงาน การคัดแยก/ รี การบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม 1. โครงการมีการบริหารจัดการของเสีย จากกระบวนการผลิตโดยยึดแนวการ ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยใช้หลักการ จัดการของเสีย 3R ได้แก่ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) การนา กลับมาใช้ใหม่ (Recycle) 2. โครงการจะจัดเก็บขยะให้หมดไม่ให้ มีขยะตกค้างและจัดภาชนะรองรับขยะ
  • 24. 24 ไซเคิล/บาบัด/กาจัดของเสียตามวิธีการ ที่ได้รับอนุญาต และการบาบัด กาจัด มลพิษที่เกิดจากกระบวนการดาเนินงาน ของโรงงาน แต่อาจมีรายละเอียดที่ แตกต่างกันในแต่ละขั้นตอนหลัก กระบวนการบาบัดน้าเสีย เป็นการลด/กาจัด/บาบัดมลพิษที่ มีอยู่ ในน้าเสียและนากากตะกอนไปกาจัด อย่างถูกวิธีต่อไป กระบวนการบาบัดน้า เสียทางกายภาพ และเคมี เป็นการทาให้ ของเสียลดความเป็นอันตรายลงด้วยการ เปลี่ยนสารอันตรายในรูปตะกอนไม่ ละลายน้า และเป็นตะกอนที่มีความคง ตัวและเป็นกลางหรือไม่เกิดปฏิกิริยา กระบวนการฝังกลบของเสีย การฝังกลบของเสียอุตสาหกรรม แบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. การฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล ใช้ฝัง กลบขยะมูลฝอยหรือของเสียที่ไม่เป็น ของเสียอันตราย 2. การฝังกลบอย่าง ใช้ฝังกลบกากของ เสียที่เป็นอันตรายซึ่งผ่านการทาลาย ฤทธิ์โดยการปรับเสถียรแล้ว การปรับ เสถียรกากของเสีย คือ การเปลี่ยนสภาพ กากของเสียอันตรายให้มีความเป็น อันตรายหรือเป็นพิษน้อยลงด้วยวิธีปรับ สภาพความเป็นกรดด่างของกากของ เสียให้มีค่าเป็นกลาง และทาให้เป็น ของแข็งโดยผสมกับปูนซีเมนต์เพื่อ ห่อหุ้มกากของเสีย17 หลักปฏิบัตทิ่ดี สาหรับการให้บริการบาบัด กาจัดกาก อุตสาหกรรมป้องกันการชะล้าง เพื่อให้ กากของเสียอยู่ในสภาพคงตัว 3. โครงการดาเนินการคัดแยกขยะและ จัดถังขยะเพื่อรองรับขยะทุกบริเวณ อย่างเพียงพอ สาหรับ ขยะมูลฝอยทั่วไป จะนาไปฝังกลบในหลุมฝังกลบตาม หลักสุขาภิบาล 4. โครงการมีการดาเนินการกาจัดหรือ ฝังกลบภาชนะบรรจุภัณฑ์ของสารเคมีที่ ใช้ลอยแร่ในพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้ ห้าม นาไปทิ้งในบริเวณอื่นเด็ดขาด ซึ่งกาก อุตสาหกรรมทั้งหมดจะนาไปฝังกลบ โดยหน่วยงานภายนอกที่ได้รับอนุญาต จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนของ เสียที่สามารถนากลับไปใช้ใหม่จะส่ง ขายให้ผู้รับซื้อที่ได้รับอนุญาตจากกรม โรงงานอุตสาหกรรม 5. การจัดการภาชนะบรรจุภัณฑ์ของ สารเคมีต่างๆจากกระบวนการลอยแร่ ซึ่ง สามารถป้องกันการแพร่กระจาย ของสารเคมีที่ใช้ลอยแร่ได้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 6. ปริมาณกากของเสียจานวนมาก โดย ร้อยละ 99.5 เป็นกากแร่ ซึ่งผ่าน กระบวนการบาบัดตามมาตรฐานและมี สภาพที่เสถียรจึงนาไปฝังกลบในบ่อ เก็บกากแร่ภายในโรงงานตากที่ ออกแบบ
  • 25. 25
  • 26. 26
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30
  • 31. 31
  • 32. 32
  • 33. 33
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. 36
  • 37. 37
  • 38. 38 ข้อวิเคราะห์ของกลุ่มที่มีต่อบริษัท พีดีไอ ได้มีการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่งจะมีมาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยทุกปีจะมีการเปิดเผยข้อมูลผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผล กระทบต่อชุมชนที่อยู่ในพื้นที่การทาเหมือง บริษัทจะมีการรับฟังความคิดเห็นและข้อร้องเรียนของคนใน ชุมชนเพื่อนามาปรับปรุง ให้ความร่วมมือกับผู้นาชุมชนในกิจกรรมต่างๆ ส่งเสริมให้มีอาชีพ เพื่อให้ ประชาชนในบริเวณใกล้เคียงมีทัศนคติด้านบวกกับโครงการ พีดีไอ ยังคงมุ่งมั่นบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างดีที่สุด โดยมีกระบวนการผลิตและ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับการดาเนินงานของบริษัทพร้อม ทั้งให้ความสาคัญต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การลดของเสีย และการใช้วัตถุดิบอย่างประหยัดเป็นกลยุทธ์สาคัญ ของการบริหารจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อมของ บริษัท จะเห็นได้ว่าบริษัทให้ความสาคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก แต่บริษัทยังไม่มีการเปิดเผย ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นและเมื่อวันที่26ตุลาคมพ.ศ. 2553 บริษัทได้รับหนังสือ จากกระทรวงอุตสาหกรรมกาหนดให้บริษัทดาเนินการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสุขภาพเพิ่มเติมตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และจากการที่บริษัทจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเพิ่มเติมก็ยังคงพบข้อบกพร่องต่างๆที่ไม่ครบถ้วนใน รายงาน แต่กรรมการองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ยังคงให้ความเห็นว่าเห็นชอบให้มีการ ดาเนินโครงการดังกล่าวโดยมีเงื่อนไขจะต้องดาเนินการตามข้อแนะนา ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆที่ ไม่ครบถ้วน
  • 39. 39 บรรณานุกรม http://www.padaeng.com http://www.padaeng.com/files/report/2014_04/pdf/45644243085929509143.pdf http://www.padaeng.com/files/report/2013_09/pdf/91736759139273444305.pdf http://www.pcd.go.th/info_serv/air_noisepollution.html http://www.dpim.go.th/pr/article?catid=102&articleid=502 http://www.iceh.or.th/iceh/Padaeng_Re_EHIA.php http://www.iceh.or.th/iceh/Padaeng_Re_Comment.php http://164.115.22.33/Re_EHIA/5608_Padaeng/chapter7.pdf http://164.115.22.33/Re_EHIA/5608_Padaeng/chapter10.pdf https://attachment.fbsbx.com/file_download.php?id=379080988917690&eid=ASuu4i2nD_LMTVeyuDuzUFrlEX6_msY9jxLHZFP5bhXOUL31hcx99WtPjIEBBmSJaa0&ext=1410697748&hash=ASukOpMTHWFdMb58
  • 40. 40 จัดทาโดย นางสาวชลทิชา จิราพงษ์ รหัสนิสิต 5430160172 นางสาวณฐกานต์ แก้วหนูนา รหัสนิสิต 5430160229 นางสาวเมธาวรินทร์ ธนารัตนนันท์ รหัสนิสิต 5430160369 นางสาวนริศร เกษรารัตน์ รหัสนิสิต 5430160466 นางสาวสาลินี นิลแร่ รหัสนิสิต 5430160784 สาขาการบัญชีบริหาร หมู่เรียน 850 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี