SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
โครงงานคอมพิวเตอร์

             สื่ อคลิปวีดโอ เรื่อง การเลียงปูน่ิม
                         ิ               ้

                          จัดทาโดย

         นายนิติธร แสงผึง
                        ้                           เลขที่ ๓
         นางสาวกมลพรรณ หาญพล                        เลขที่ ๖
         นางสาวชุตสรา แสงแก้ ว
                  ิ                                 เลขที่ ๘
         นางสาวธัญญดา ปัดธุลี                       เลขที่ ๙
         นางสาวมณีรัตน์ อัมละปาล                    เลขที่ ๑๒
         นางสาวพรนิภา ม้ าจีน                       เลขที่ ๑๘
         นางสาวนิชา ศรีสุข                          เลขที่ ๒๗
         นางสาวชลธิชา ราพึงวรณ์                     เลขที่ ๓๑
         นายคมกฤช จุลเดช                            เลขที่ ๓๗
                            เสนอ

              อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุ วรรณ

โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

      สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๗
                   ้
บทที่ ๑

                                             บทนา


ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
       การเลี้ ยงปูนิ่ม ถื อเป็ นอาชี พ ที่ ทารายได้สูง ในปั จจุ บน โดยเฉพาะในจังหวัดที่ มีแหล่ ง
                                                                  ั
ทรัพยากรธรรมชาติ อยูติดกับทะเล ซึ่งชุมชนตาบลห้วงน้ าขาว มีฟาร์มปูนิ่มที่น่าสนใจ กลุ่มของ
                    ่
ข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปูนิ่ม เพื่อจัดทาเป็ นสื่ อในรู ปแบบคลิปวีดิโอ
เผยแพร่ ให้ความรู ้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปูนิ่ม ให้กบผูที่สนใจศึกษา
                                                    ั ้

วัตถุประสงค์ของการการศึกษา
       ๑. เพื่อศึกษาการเลี้ยงปูนิ่ม

       ๒. เพื่อจัดทาสื่ อคลิปวีดิโอเกี่ยวกับการเลี้ยงปูนิ่ม



ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ
       1. ได้เผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับการเลี้ยงปูนิ่มในรู ปแบบสื่ อคลิปวีดิโอแก่ผที่สนใจ
                                                                                 ู้
       2. เพื่อเป็ นแหล่งข้อมูลสาหรับอาชีพการเพาะเลี้ยงปูนิ่ม สาหรับผูที่สนใจ
                                                                      ้
บทที่ ๒

                                          เอกสารที่เกียวข้ อง
                                                      ่
        ปูทะเล หรือ ปูดา (อังกฤษ : Serrated mud crab, Mangrove crab, Black crab, Giant mud crab)

ชื่อวิทยาศาสตร์ : (Scylla serrata)

ลักษณะ มีลกษณะกระดองกลมรี เป็ นรู ปไข่ สี ดาปนแดงหรื อสี น้ าตาลเข้ม ขอบระหว่างนัยน์ตามีหนาม ๔
          ั
อัน ส่ วนด้านข้างนัยน์ตาแต่ละข้างมีหนามข้างละ ๘-๙ อัน ก้ามจะมีหนามแหลม ส่ วนขาอื่น ๆ ไม่มีหนาม ตัว
  ้      ้
ผูจะมีกามขนาดใหญ่แข็งแรงกว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชด เจริ ญเติบโตด้วยวิธีการลอกคราบ โดยตรงขอบหลัง
                                                  ั
ของกระดองจะเผยออกให้เห็ นกระดองใหม่ยงเป็ นเนื้ อเยื่อบาง ๆ ซึ่ งเรี ยกว่า ปูสองกระดอง ถ้าหากเป็ นตัว
                                            ั
เมียที่มีความสมบูรณ์เพศจะมี ไข่อยูในกระดอง ซึ่ งพบมากในเดือนพฤศจิกายน ปลายสุ ดของขาคู่ที่ ๒-๔ มี
                                  ่
ลักษณะแหลมเรี ยกว่า "ขาเดิน" ทาหน้าที่ในการเดินเคลื่อนที่ ส่ วนขาคู่ท่ี ๕ เป็ นคู่สุดท้ายเรี ยกว่า "ขาว่ายน้ า"
ตอนปลายสุ ดของขาคู่น้ ีมีลกษณะแบนคล้ายใบพาย ใช้สาหรับว่ายน้ า
                          ั

      ปูที่เกิดใหม่ จะใช้เวลาลอกคราบจนกระทังกระดองแข็งแรงแล้วออกมาหากินได้ ใช้เวลาประมาณ ๗
                                                      ่
วัน การเจริ ญเติ บ โตจนถึ ง วัย เจริ ญ พัน ธุ์ ใ ช้เ วลาประมาณ ๑.๕ ปี ตัว ผู้ข นาดโตเต็ ม ที่ อ าจหนัก ได้ถึ ง
๓.๕ กิโลกรัม ขนาดกระดองกว้างกว่า ๒๔ เซนติเมตร
        ปูทะเลในบางแหล่งจะมีสีสันที่แตกต่างกันออกไปมากมาย ทั้ง สี เขียวหม่น, สี ฟ้า, สี ขาวอ่อน ๆ หรื อ
สี เหลือง ซึ่ งปูเหล่านี้ จะมีชื่อเรี ยกที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น เช่น ปูทองโหลง, ปูทองหลาง, ปู
ขาว เป็ นต้น
       การขยายพันธ์ ฤดูกาลวางไข่ผสมพันธุ์ของปูทะเลอยู่ในช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม แม่ปูจะมีไข่
ในระหว่า งเดื อนกัน ยายน-ตุ ล าคม สามารถ วางไข่ ไ ด้ต ลอดทั้ง ปี โดยจะวางไข่ ชุ ก ชุ ม ในระหว่า งเดื อ น
สิ งหาคม-ธันวาคม ไข่ของปูทะเลจะมีสีส้มแดง เมื่อไข่แก่ข้ ึนจะเป็ นสี น้ าตาลเกือบดา ซึ่ งจะถูกปล่อยออกมา
นอกกระดองบริ เวณใต้จบปิ้ ง
                      ั
      การกระจายพันธ์ และความสาคัญต่ อมนุ ษย์ พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแถบชายฝั่งของแอฟริ กา, เอเชี ย
                                           ่
ตะวันออกเฉียงใต้จนถึงออสเตรเลีย โดยอาศัยอยูในโคลนตมตามป่ าชายเลนหรื อปากแม่น้ าที่น้ าท่วมถึง กิน
อาหารจาพวกสัตว์น้ าขนาดเล็ก ซากพืช ซากสัตว์ต่าง ๆ สาหรับในประเทศไทยพบได้ท้ งฝั่งอ่าวไทยและฝั่ ง
                                                                            ั
อันดามัน
ปูทะเลนั้นมีความสาคัญต่อมนุษย์ในฐานะของสัตว์เศรษฐกิจที่นิยมนามาปรุ งสดเป็ นอาหาร เช่น ปูผด    ั
ผงกะหรี่ , ปูน่ ึ ง เป็ นต้น โดยทางการ ได้แก่ กรมประมง สนับสนุ นให้เกษตรกรเพาะเลี้ยง โดยมักจะเลี้ยงใน
             ั
กระชังใกล้กบทะเล
       ปูทะเลเป็ นที่นิยมรับประทานอย่างยิง โดยเฉพาะในเวลาที่กาลังลอกคราบเพราะเนื้ อปูจะนิ่ ม กระดอง
                                           ่
ยังไม่แข็งเท่าไหร่ ซึ่ งเรี ยกว่า "ปูนิ่ม"

เทคนิคการเลียงปูนิ่ม
            ้
         เมื่อได้พนธุ์ปูตามต้องการแล้ว นาปูไปแช่ ในน้ ายาไอโอดีนเข้มข้นนานประมาณ ๕-๑๐
                  ั
นาทีเพื่อกาจัดพาราสิ ต แบคทีเรี ย หรื อเชื้ อโรคที่อาจจะติดตามเหงือกและรยางค์ต่างๆ ก่อนที่
นาไปเลี้ ยงควรให้ปูปรั บตัวเข้ากับสภาพในบ่ อที่ จะเลี้ ยงประมาณ ๒๔ ชั่วโมง บ่ อที่ ใช้เลี้ ย ง
อาจจะเป็ นบ่ อซี เมนต์หรื อบ่ อดิ นก็ได้ ถ้าเป็ นบ่ อซี เมนต์จะเลี้ยงในน้ าทะเลสู งประมาณ ๒๕
เซนติ เ มตร ถ้า เป็ นบ่ อ ดิ น นิ ย มน าปู ไ ปแยกเลี้ ย งในตะกร้ า ๆ ละหนึ่ ง ตัว ระยะเวลาที่ ใ ช้เ ลี้ ย ง
                              ็
ประมาณ ๓๕-๓๗ วัน ปูกจะเริ่ มทาการลอกคราบ โดยธรรมชาติปูจะลอกคราบในช่วงน้ าขึ้นลง
เต็มที่ในช่วงระหว่างขึ้น ๑๕ ค่าและแรม ๓ ค่า การปล่อยให้ปูลอกคราบตามธรรมชาติน้ นต้องใช้     ั
เวลาเลี้ยงปูแต่ละรุ่ นนานถึง ๑-๒ เดือน ดังนั้นการพัฒนาเทคนิคที่ช่วยปูลอกคราบเร็ วขึ้น จึงเป็ น
งานที่น่าสนใจและมีคุณค่าแก่การศึกษา

        วิธีที่หนึ่ งที่นิยมปฏิบติและใช้ได้ผลดี ก็คือ วิธีกระตุนให้ปูลอกคราบเร็ วขึ้นโดยโดยวิธี
                                ั                              ้
                                                   ั ็
ตัดรยางค์ของปูทิ้ง ที่ได้ผลดีและง่ายต่อการปฏิบติกคือ การตัดขาปูขาใดขาหนึ่งทิ้ง แต่ที่ฟาร์มปู
นิ่มนิยมปฏิบติกนส่ วนใหญ่กคือ ตัดขาเดินทั้งสี่ คู่ทิ้ง ให้เหลือแต่ขาว่ายน้ าคู่สุดท้ายคู่เดียว การตัด
               ั ั                ็
รยางค์ของปูน้ นต้องทาด้วยความประณี ต มิฉะนั้นปูจะเสี ยเลือดและตายในที่สุด
                ั

         วิธีที่ดีที่สุดก็คือใช้คีม จับรยางค์ที่ตองการตัดไว้เฉยๆ แล้วปล่อยให้ตวปูเป็ นอิสระ โดย
                                                 ้                            ั
สัญชาติญาณเอาตัวรอด ปูจะปล่อยรยางค์ส่วนนั้นทิ้งเองโดยอัตโนมัติ การที่ปูสูญเสี ยรยางค์ส่วน
ใดส่ วนหนึ่งในระยะก่อนลอกคราบ จะไปกระตุนกลไกการสร้างขาทดแทนทางาน ถ้ารยางค์ที่
                                                     ้
สู ญเสี ยไปพร้อมกันสามคู่หรื อมากกว่านั้น กลไกในการสร้างขาทดแทน จะไปช่วยเร่ งให้ปูลอก
คราบเร็วขึ้น แม้สิ่งแวดล้อมภายนอกจะไม่อานวยก็ตาม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลอกคราบของปูที่เลี้ยงในบ่อได้แก่ ระดับฮอร์โมนที่ควบคุมการ
ลอกคราบและฮอร์ โ มนที่ เ ร่ ง ในการลอกคราบ เกษตรกรจะกระตุ น ให้ต่ อมที่ ผ ลิ ตโฮโมนส์
                                                                     ้
ดังกล่าว ทางานด้วยวิธีตดก้ามและขา ว่ายน้ า การเปลี่ยนแปลงความเค็ม และอุณหภูมิของน้ าใน
                            ั
บ่อที่มีอิทธิ พลต่อการลอกคราบ เกษตรกรจะควบคุมให้คงที่โดยสร้างโรงเรื อนคลุมบ่อที่เลี้ยง
                                             ่
โดยมีผาใบหรื อข่ายไนลอนช่วยกรองแสงให้อยูในระดับที่เหมาะสม
        ้

       อาหารที่ใช้เลี้ยงปูควรเป็ นอาหารมีคุณค่าทางอาหารสู ง และให้ในปริ มาณที่เพียงพอ ที่
นิยมใช้เลี้ยงปูนิ่มได้แก่เนื้ อปลาสด ถ้าเป็ นปลาที่มีขนาดโตหน่อย เช่ นปลาข้างเหลือง ก็ควรแล่
เอาแต่เนื้อ หั้นเป็ นชิ้นเล็กๆ ถ้าเป็ นปลาขนาดเล็ก เช่น ปลากระตัก (ปลาจิงชัง) ก็ให้ท้ งตัวได้ ถ้า
                                                                                      ั
เป็ นหอยกะพงหรื อ หอยแมลงภู่ ก็ให้ท้ ง เปลื อ ก ในระยะ ๑๐ วันแรก จะให้อาหารวัน ละครั้ ง
                                          ั
ระหว่างเวลา ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา ในอัตราร้อยละ ๘-๑๐ ของน้ าหนักปูที่เลี้ยง หลังจากวันที่
๑๐ ลดปริ มาณอาหารที่ เหลื อประมาณร้ อ ยละ ๕ โดยให้วน เว้น วัน ปริ ม าณอาหารที่ ใ ห้และ
                                                            ั
ความถี่ในการให้อาหารนั้น ขึ้นอยู่กบประสบการณ์และความชานาญของผูเ้ ลี้ยง เมื่อใกล้ลอก
                                        ั
คราบปูจะกินอาหารน้อยลง และจะหยุดกินก่อนลอกคราบ การให้อาหารมีหลักอยู่ว่าต้องให้
อาหารเพียงพอ ถ้าให้ปริ มาณมากน้ าจะเสี ย ระหว่างเลี้ยงต้องทาความสะอาดบ่อ หรื อตะกร้าทุกๆ
๑๕ วัน ถ้าเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ควรเปลี่ยนถ่ายน้ าวันละครั้ง

         เมื่อปูใกล้ลอกคราบต้องทาการตรวจให้บ่อยขึ้น ถ้าเป็ นไปได้ควร ทุกๆ ๒-๓ ชัวโมง ถ้า
                                                                                  ่
สังเกตว่าปูเริ่ มหยุดกินอาหารแสดงว่าปูจวนจะลอกคราบ หลังจากปูลอกคราบแล้ว ๖ ชัวโมง    ่
กระดองปูจะเริ่ มแข็งไม่ สามารถนาไปทาปูน่ิ มได้ ปูส่วนใหญ่ จะลอกคราบในเวลากลางคื น
ระยะเวลาที่ปูทะเลลอกคราบ ตั้งแต่ปูกระดองเก่าเริ่ มล่อนจากเยื่อหุ ้มตัว จนกระทังปูดีดตัวเอง
                                                                              ่
ออกจากคราบเก่าจะใช้เวลาประมาณ ๑๐-๑๕ นาที เมื่อพบว่าปูได้ลอกคราบแล้ว ควรเริ่ มทยอย
เก็บปูที่ลอกคราบ แล้วนาไปล้างและแช่น้ าจืดประมาณ ๓๐ นาที เพื่อล้างเมือกและความเค็มตาม
ตัวปูก่อนที่จะนาไปบรรจุในกล่องพลาสติกที่ เตรี ยมไว้ กล่องหนึ่ งจะบรรจุปูประมาณ ๑-๒ ตัว
แล้วแต่ขนาด จากนั้นนาไปแช่แข็งในตูแช่ ที่อุณหภูมิ ๔ องศาเซลเซี ยส เพื่อรอลูกค้าไปรับหรื อ
                                     ้
นาไปส่ งลูกค้าขาประจา
ปัญหาและอุปสรรคการเลียงปูนิ่ม
                     ้
           ปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงปูนิ่ม ได้แก่ พันธุ์ปูที่นามาใช้เลี้ยง ปั จจุบนใช้ปูขนาดเล็ก
                                                                                   ั
ที่ ไ ด้จากธรรมชาติ ซึ่ งมี แ นวโน้มว่า มี จ านวนลดน้อยลงทุ ก ปี ปั ญ หาตลาดยัง ไม่ มี ปัญหาใน
ปั จจุบนเพราะการผลิตปูนิ่มยังจากัดอยู่ในวงแคบๆ ปริ มาณปูที่ผลิตได้ยงมีไม่มากจนเกินความ
         ั                                                                 ั
ต้องการภายในประเทศ ส่ วนตลาดต่างประเทศก็มี ฮ่องกง ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริ กา ที่ฟาร์มปูนิ่ม
ใหญ่ๆ สามารถจัดส่ งให้ได้ตามที่สั่ง ปั จจุบนยังไม่มีการควบคุมคุณภาพของปูนิ่มที่ฟาร์มต่างๆ
                                               ั
ผลิตโดยเฉพาะในช่วงหลังการเก็บเกี่ยว นอกจากฟาร์ มปูนิ่มรายใหญ่ๆ เท่านั้นที่มีอุปกรณ์และ
เครื่ องมือต่างๆ ที่สามารถควบคุมผลิตภัณฑ์ของตนให้ได้มาตรฐานตามที่ประเทศที่สั่งปูกาหนด
ไว้
บทที่ ๓

                                    วิธีการดาเนินการ
ขั้นตอนการดาเนินงาน
  1. ประชุมวางแผนคิดหัวข้อโครงงาน
  2. นาเสนอโครงร่ างโครงงาน แก่อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน
  3. เขียน Story Board และสคิปต่าง ๆ ของพิธีกรให้เรี ยบร้อย
  4. ติดต่อสถานที่ที่ตองไปถ่ายทา
                      ้
  5. นัดตัวแทนสมาชิกกลุ่มเพื่อถ่ายวีดิโอ
  6. นัดวันที่ที่ตองไปสถานที่ถ่ายทา
                  ้
  7. เริ่ มถ่ายทาวีดีโอ ณ คันนา ( บ้านปูนิ่ม )
  8. ตัดต่อวีดีโอ ด้วยโปรแกรม Movie Maker
  9. นาเสนอผลงาน และเผยแพร่ ผลงานในวันวิชาการ
บทที่ ๔

ผลการศึกษางาน
บทที๕
                                               ่

                      สรุปผลกราดาเนินงาน และข้ อเสนอแนะ
       การจัดทาโครงงานปูนิ่มทาให้ได้รับความรู ้เกี่ยวกับการเลี้ยงปูนิ่ม การเลี้ยงปูนิ่ม สามารถ
ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น มากกว่าการเลี้ยงปูทวไปเพราะปูนิ่มราคาสู ง และมีผเู ้ พาะพันธุ์นอยมากใน
                                          ั่                                          ้
จังหวัดตราด มี คนนิ ยมรับประทานมากกว่าปูทวไป สามารถรั บประทานได้ท้ งตัว ต่ างจากปู
                                         ั่                        ั
ทัวไปที่มีเปลือกมากกว่าเนื้อ ทาให้ปูนิ่มมีราคาสู งกว่าปูทวไป
  ่                                                      ั่

ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการพัฒนา

       ๑. การถ่ายทาจะเจอปูนิ่มได้ยากมาก ควรติดต่อประสานงานกับเจ้าของฟาร์มปูนิ่ม เพื่อ
ไปถ่ายทาตอนที่ปูกาลังลอกคราบ

       ๒. เพื่อนในกลุ่มขาดความร่ วมมือเท่าที่ควร ควรแบ่งหน้าที่ตามความถนัด เพื่อลดปัญหา
ดังกล่าว

       ๓. สถานที่ที่ถ่ายทา มีระยะทางไกล ควรวางแผนในการเดินทาง และสคริ ปให้พร้อม
ก่อนถ่ายทา

       ๔. เสี ยงรบกวนขณะถ่ายทา อาจใช้เสี ยงดนตรี คลอ แล้วใช้ขอความวิงแทนเสี ยงพูด
                                                             ้      ่
เนื่องจากมีเสี ยงลม และเสี ยงรบกวนขณะถ่ายทา

       ๕. การถ่ายภาพเคลื่อนไหวยังไม่นิ่งเท่าที่ควร ควรฝึ กเทคนิคการถ่ายภาพเคลื่อนไหวมาก
ขึ้น
ภาคผนวก
กาลังหาปูนิ่มที่เขาเลี้ยงที่กาลังลอกขาบอยู่




   กระชังปูนิ่ม หรื อ สถานที่เลี้ยงปูนิ่ม
กาลังเตรี ยมสถานที่




ถึงแล้วจร้า สถานที่เลี้ยงปูนิ่มของเมืองตราด
ลุงอารม เจ้าของฟรามเลี้ยงปูนิ่ม




      ไม่รู้จะอธิ บายยังไง
ปูนิ่มจร้า รู ้จกไหม
                  ั




อ่ะนร๊ ะ ปูนิ่มอีกซักรู ป
นิ่ม ๆๆๆๆๆๆๆๆ




 เสร็ จแล้ว เฮ้
Story Board “การเลียงปูนิ่ม”
                                                 ้
ลาดับ               ภาพ                                เสี ยง/บรรยาย                 เวลา (นาที/วินาที)
  1   พิธีกรสวัสดีคนดู                     “สวัสดีค่ะ ดิฉนชื่อนางสาวนิ ชา ศรี
                                                           ั                      ๕ วินาที
                                           สุ ขค่ะ”
                                           “วันนี้เราจะพามาดูวธีการเลี้ยงปูนิ่ม
                                                                ิ
                                           กันค่ะ”
 2     พิธีกรผายมือเชิญชวนผูชม  ้          “มาดูขางในกันเลยค่ะ”
                                                   ้                              ๓ วินาที
 3     พิธีกรแนะนาคุณลุงอารม เจ้าของ       นี่คือคุณลุงอารมเจ้าของฟาร์ มปูนิ่ม
       ฟาร์ มปูนิ่ม                        อาเภอแหลมกลัด จังหวัดตราด
 4     คุณลงอารม พาชมฟาร์ มปูนิ่ม          “-”                                    ๓ วินาที
 5     คุณลุงอารม เล่าประวัติความ          “…………..”                               ๑ นาที
       เป็ นมาในการเลี้ยงปูน่ิม
 6     พิธีกร ๒ หาปูนิ่มจากกระชังปูนิ่ม “เราจะพามาดูปูนิ่มที่ลอกคราบแล้ว          ๓ วินาที
                                        ครับ”
 7     พิธีกร ๒ นาปูนิ่มมาให้ดูใกล้ๆ    “นี่ครับปูนิ่ม เรามาดูปูนิ่มกันดีกว่า”    ๑ นาที
 ๘     พิธีกร ๒ หาปูนิ่มจากกระชังปูนิ่ม “นี่คือปูนิ่มที่ลอกคราบแล้ว ต่อไป         ๕ วินาที
                                        เรามาดูปูนิ่มที่ยงไม่ลอกคราบกัน
                                                          ั
                                        ดีกว่าครับ”
 ๙     พิธีกรสอบถามข้อมูลจากคุณลุงอา “ปูนิ่มกับปูธรรมดาแตกต่างกัน                 ๑ นาที
       รมเกี่ยวกับความแตกต่างของปูนิ่ม อย่างไรคะ”
       กับปูทวไป
               ั่
 ๑๐    พิธีกรสัมภาษณ์คุณลุงอารม         “วิธีการคัดปูมาทาปูนิ่ม มีวธีการ
                                                                     ิ            ๑ นาที
       เกี่ยวกับปูนิ่ม                  อย่างไรคะ”
                                        “แล้วหามาจากแหล่งไหนบ้างคะ”
 ๑๑    เบื้องหลังการถ่ายทา                                                        ๕ วินาที
บรรณานุกรม


http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0
%B8%A5 [เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕]

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2
[เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕]

http://www.aquatoyou.com/index.php/2010-01-08-14-15-29/23-scylla?start=10 [เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม
๒๕๕๕]

http://www.fisheries.go.th/cf-pak_panang/index.php/2012-09-08-02-04-04/17-knowledge/aquaculture/70-
2012-09-08-03-01-27?showall=&start=10 [เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕]

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Laporan minggu 1 web server di remote ssh server copy
Laporan minggu 1 web server di remote ssh server   copyLaporan minggu 1 web server di remote ssh server   copy
Laporan minggu 1 web server di remote ssh server copySuhestin Hezztun
 
Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]
Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]
Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]Ministério Público da Paraíba
 
Modelo OSI - Camada de Transporte
Modelo OSI - Camada de TransporteModelo OSI - Camada de Transporte
Modelo OSI - Camada de TransporteWalyson Vëras
 
3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdf
3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdf3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdf
3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdfManalAg
 
Kelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantai
Kelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantaiKelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantai
Kelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantaiWilly Winas
 
Dokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunak
Dokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunakDokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunak
Dokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunakWinda Dwiastini
 
Klasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan Kualitasnya
Klasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan KualitasnyaKlasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan Kualitasnya
Klasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan KualitasnyaAbdul Fauzan
 
2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptx
2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptx2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptx
2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptxAlvianBagus3
 
Network management fix
Network management fixNetwork management fix
Network management fixBayu Setiawan
 
Makalah Routing Dynamic
Makalah Routing DynamicMakalah Routing Dynamic
Makalah Routing DynamicRezi Fenorita
 
Sapc upcc-pcrf- part 2 tbp
Sapc upcc-pcrf- part 2 tbpSapc upcc-pcrf- part 2 tbp
Sapc upcc-pcrf- part 2 tbpMustafa Golam
 

La actualidad más candente (20)

Ppt server softswitch
Ppt server softswitchPpt server softswitch
Ppt server softswitch
 
Laporan minggu 1 web server di remote ssh server copy
Laporan minggu 1 web server di remote ssh server   copyLaporan minggu 1 web server di remote ssh server   copy
Laporan minggu 1 web server di remote ssh server copy
 
Presentasi VLAN.pptx
Presentasi VLAN.pptxPresentasi VLAN.pptx
Presentasi VLAN.pptx
 
Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]
Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]
Tecnologias Atuais de Redes - Aula 4 - Comutação [Apostila]
 
Modelo OSI - Camada de Transporte
Modelo OSI - Camada de TransporteModelo OSI - Camada de Transporte
Modelo OSI - Camada de Transporte
 
3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdf
3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdf3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdf
3_Multiplexage_TDM_FDM_CDM.pptx.pdf
 
Kelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantai
Kelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantaiKelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantai
Kelompok 3 tiga lantai 4 ruangan masing-masing lantai
 
Dokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunak
Dokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunakDokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunak
Dokumen perencanaan-proyek-perangkat-lunak
 
Klasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan Kualitasnya
Klasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan KualitasnyaKlasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan Kualitasnya
Klasifikasi Hadist Ditinjau dari Aspek Kuantitas dan Kualitasnya
 
Sigtran protocol
Sigtran protocolSigtran protocol
Sigtran protocol
 
Standard IEEE
Standard IEEEStandard IEEE
Standard IEEE
 
Camada de enlace parte1
Camada de enlace   parte1Camada de enlace   parte1
Camada de enlace parte1
 
2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptx
2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptx2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptx
2. KONSEP DASAR SISTEM TERDISTRIBUSI.pptx
 
DNS (Domain Name System)
DNS (Domain Name System)DNS (Domain Name System)
DNS (Domain Name System)
 
Network management fix
Network management fixNetwork management fix
Network management fix
 
4G - LTE
4G - LTE 4G - LTE
4G - LTE
 
It2402 mobile communication unit2
It2402 mobile communication unit2It2402 mobile communication unit2
It2402 mobile communication unit2
 
Makalah Routing Dynamic
Makalah Routing DynamicMakalah Routing Dynamic
Makalah Routing Dynamic
 
Gsm protl
Gsm protlGsm protl
Gsm protl
 
Sapc upcc-pcrf- part 2 tbp
Sapc upcc-pcrf- part 2 tbpSapc upcc-pcrf- part 2 tbp
Sapc upcc-pcrf- part 2 tbp
 

Similar a โครงงานคอม

พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54SkyPrimo
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงfreelance
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 

Similar a โครงงานคอม (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
File
FileFile
File
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
Howto
HowtoHowto
Howto
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
 
469-02.pdf
469-02.pdf469-02.pdf
469-02.pdf
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
O net m3-math_52
O net m3-math_52O net m3-math_52
O net m3-math_52
 

Más de KruPor Sirirat Namthai

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้KruPor Sirirat Namthai
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มKruPor Sirirat Namthai
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู KruPor Sirirat Namthai
 

Más de KruPor Sirirat Namthai (20)

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
 
หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 

โครงงานคอม

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่ อคลิปวีดโอ เรื่อง การเลียงปูน่ิม ิ ้ จัดทาโดย นายนิติธร แสงผึง ้ เลขที่ ๓ นางสาวกมลพรรณ หาญพล เลขที่ ๖ นางสาวชุตสรา แสงแก้ ว ิ เลขที่ ๘ นางสาวธัญญดา ปัดธุลี เลขที่ ๙ นางสาวมณีรัตน์ อัมละปาล เลขที่ ๑๒ นางสาวพรนิภา ม้ าจีน เลขที่ ๑๘ นางสาวนิชา ศรีสุข เลขที่ ๒๗ นางสาวชลธิชา ราพึงวรณ์ เลขที่ ๓๑ นายคมกฤช จุลเดช เลขที่ ๓๗ เสนอ อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุ วรรณ โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๗ ้
  • 2. บทที่ ๑ บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การเลี้ ยงปูนิ่ม ถื อเป็ นอาชี พ ที่ ทารายได้สูง ในปั จจุ บน โดยเฉพาะในจังหวัดที่ มีแหล่ ง ั ทรัพยากรธรรมชาติ อยูติดกับทะเล ซึ่งชุมชนตาบลห้วงน้ าขาว มีฟาร์มปูนิ่มที่น่าสนใจ กลุ่มของ ่ ข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปูนิ่ม เพื่อจัดทาเป็ นสื่ อในรู ปแบบคลิปวีดิโอ เผยแพร่ ให้ความรู ้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปูนิ่ม ให้กบผูที่สนใจศึกษา ั ้ วัตถุประสงค์ของการการศึกษา ๑. เพื่อศึกษาการเลี้ยงปูนิ่ม ๒. เพื่อจัดทาสื่ อคลิปวีดิโอเกี่ยวกับการเลี้ยงปูนิ่ม ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ 1. ได้เผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับการเลี้ยงปูนิ่มในรู ปแบบสื่ อคลิปวีดิโอแก่ผที่สนใจ ู้ 2. เพื่อเป็ นแหล่งข้อมูลสาหรับอาชีพการเพาะเลี้ยงปูนิ่ม สาหรับผูที่สนใจ ้
  • 3. บทที่ ๒ เอกสารที่เกียวข้ อง ่ ปูทะเล หรือ ปูดา (อังกฤษ : Serrated mud crab, Mangrove crab, Black crab, Giant mud crab) ชื่อวิทยาศาสตร์ : (Scylla serrata) ลักษณะ มีลกษณะกระดองกลมรี เป็ นรู ปไข่ สี ดาปนแดงหรื อสี น้ าตาลเข้ม ขอบระหว่างนัยน์ตามีหนาม ๔ ั อัน ส่ วนด้านข้างนัยน์ตาแต่ละข้างมีหนามข้างละ ๘-๙ อัน ก้ามจะมีหนามแหลม ส่ วนขาอื่น ๆ ไม่มีหนาม ตัว ้ ้ ผูจะมีกามขนาดใหญ่แข็งแรงกว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชด เจริ ญเติบโตด้วยวิธีการลอกคราบ โดยตรงขอบหลัง ั ของกระดองจะเผยออกให้เห็ นกระดองใหม่ยงเป็ นเนื้ อเยื่อบาง ๆ ซึ่ งเรี ยกว่า ปูสองกระดอง ถ้าหากเป็ นตัว ั เมียที่มีความสมบูรณ์เพศจะมี ไข่อยูในกระดอง ซึ่ งพบมากในเดือนพฤศจิกายน ปลายสุ ดของขาคู่ที่ ๒-๔ มี ่ ลักษณะแหลมเรี ยกว่า "ขาเดิน" ทาหน้าที่ในการเดินเคลื่อนที่ ส่ วนขาคู่ท่ี ๕ เป็ นคู่สุดท้ายเรี ยกว่า "ขาว่ายน้ า" ตอนปลายสุ ดของขาคู่น้ ีมีลกษณะแบนคล้ายใบพาย ใช้สาหรับว่ายน้ า ั ปูที่เกิดใหม่ จะใช้เวลาลอกคราบจนกระทังกระดองแข็งแรงแล้วออกมาหากินได้ ใช้เวลาประมาณ ๗ ่ วัน การเจริ ญเติ บ โตจนถึ ง วัย เจริ ญ พัน ธุ์ ใ ช้เ วลาประมาณ ๑.๕ ปี ตัว ผู้ข นาดโตเต็ ม ที่ อ าจหนัก ได้ถึ ง ๓.๕ กิโลกรัม ขนาดกระดองกว้างกว่า ๒๔ เซนติเมตร ปูทะเลในบางแหล่งจะมีสีสันที่แตกต่างกันออกไปมากมาย ทั้ง สี เขียวหม่น, สี ฟ้า, สี ขาวอ่อน ๆ หรื อ สี เหลือง ซึ่ งปูเหล่านี้ จะมีชื่อเรี ยกที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น เช่น ปูทองโหลง, ปูทองหลาง, ปู ขาว เป็ นต้น การขยายพันธ์ ฤดูกาลวางไข่ผสมพันธุ์ของปูทะเลอยู่ในช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม แม่ปูจะมีไข่ ในระหว่า งเดื อนกัน ยายน-ตุ ล าคม สามารถ วางไข่ ไ ด้ต ลอดทั้ง ปี โดยจะวางไข่ ชุ ก ชุ ม ในระหว่า งเดื อ น สิ งหาคม-ธันวาคม ไข่ของปูทะเลจะมีสีส้มแดง เมื่อไข่แก่ข้ ึนจะเป็ นสี น้ าตาลเกือบดา ซึ่ งจะถูกปล่อยออกมา นอกกระดองบริ เวณใต้จบปิ้ ง ั การกระจายพันธ์ และความสาคัญต่ อมนุ ษย์ พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแถบชายฝั่งของแอฟริ กา, เอเชี ย ่ ตะวันออกเฉียงใต้จนถึงออสเตรเลีย โดยอาศัยอยูในโคลนตมตามป่ าชายเลนหรื อปากแม่น้ าที่น้ าท่วมถึง กิน อาหารจาพวกสัตว์น้ าขนาดเล็ก ซากพืช ซากสัตว์ต่าง ๆ สาหรับในประเทศไทยพบได้ท้ งฝั่งอ่าวไทยและฝั่ ง ั อันดามัน
  • 4. ปูทะเลนั้นมีความสาคัญต่อมนุษย์ในฐานะของสัตว์เศรษฐกิจที่นิยมนามาปรุ งสดเป็ นอาหาร เช่น ปูผด ั ผงกะหรี่ , ปูน่ ึ ง เป็ นต้น โดยทางการ ได้แก่ กรมประมง สนับสนุ นให้เกษตรกรเพาะเลี้ยง โดยมักจะเลี้ยงใน ั กระชังใกล้กบทะเล ปูทะเลเป็ นที่นิยมรับประทานอย่างยิง โดยเฉพาะในเวลาที่กาลังลอกคราบเพราะเนื้ อปูจะนิ่ ม กระดอง ่ ยังไม่แข็งเท่าไหร่ ซึ่ งเรี ยกว่า "ปูนิ่ม" เทคนิคการเลียงปูนิ่ม ้ เมื่อได้พนธุ์ปูตามต้องการแล้ว นาปูไปแช่ ในน้ ายาไอโอดีนเข้มข้นนานประมาณ ๕-๑๐ ั นาทีเพื่อกาจัดพาราสิ ต แบคทีเรี ย หรื อเชื้ อโรคที่อาจจะติดตามเหงือกและรยางค์ต่างๆ ก่อนที่ นาไปเลี้ ยงควรให้ปูปรั บตัวเข้ากับสภาพในบ่ อที่ จะเลี้ ยงประมาณ ๒๔ ชั่วโมง บ่ อที่ ใช้เลี้ ย ง อาจจะเป็ นบ่ อซี เมนต์หรื อบ่ อดิ นก็ได้ ถ้าเป็ นบ่ อซี เมนต์จะเลี้ยงในน้ าทะเลสู งประมาณ ๒๕ เซนติ เ มตร ถ้า เป็ นบ่ อ ดิ น นิ ย มน าปู ไ ปแยกเลี้ ย งในตะกร้ า ๆ ละหนึ่ ง ตัว ระยะเวลาที่ ใ ช้เ ลี้ ย ง ็ ประมาณ ๓๕-๓๗ วัน ปูกจะเริ่ มทาการลอกคราบ โดยธรรมชาติปูจะลอกคราบในช่วงน้ าขึ้นลง เต็มที่ในช่วงระหว่างขึ้น ๑๕ ค่าและแรม ๓ ค่า การปล่อยให้ปูลอกคราบตามธรรมชาติน้ นต้องใช้ ั เวลาเลี้ยงปูแต่ละรุ่ นนานถึง ๑-๒ เดือน ดังนั้นการพัฒนาเทคนิคที่ช่วยปูลอกคราบเร็ วขึ้น จึงเป็ น งานที่น่าสนใจและมีคุณค่าแก่การศึกษา วิธีที่หนึ่ งที่นิยมปฏิบติและใช้ได้ผลดี ก็คือ วิธีกระตุนให้ปูลอกคราบเร็ วขึ้นโดยโดยวิธี ั ้ ั ็ ตัดรยางค์ของปูทิ้ง ที่ได้ผลดีและง่ายต่อการปฏิบติกคือ การตัดขาปูขาใดขาหนึ่งทิ้ง แต่ที่ฟาร์มปู นิ่มนิยมปฏิบติกนส่ วนใหญ่กคือ ตัดขาเดินทั้งสี่ คู่ทิ้ง ให้เหลือแต่ขาว่ายน้ าคู่สุดท้ายคู่เดียว การตัด ั ั ็ รยางค์ของปูน้ นต้องทาด้วยความประณี ต มิฉะนั้นปูจะเสี ยเลือดและตายในที่สุด ั วิธีที่ดีที่สุดก็คือใช้คีม จับรยางค์ที่ตองการตัดไว้เฉยๆ แล้วปล่อยให้ตวปูเป็ นอิสระ โดย ้ ั สัญชาติญาณเอาตัวรอด ปูจะปล่อยรยางค์ส่วนนั้นทิ้งเองโดยอัตโนมัติ การที่ปูสูญเสี ยรยางค์ส่วน ใดส่ วนหนึ่งในระยะก่อนลอกคราบ จะไปกระตุนกลไกการสร้างขาทดแทนทางาน ถ้ารยางค์ที่ ้ สู ญเสี ยไปพร้อมกันสามคู่หรื อมากกว่านั้น กลไกในการสร้างขาทดแทน จะไปช่วยเร่ งให้ปูลอก คราบเร็วขึ้น แม้สิ่งแวดล้อมภายนอกจะไม่อานวยก็ตาม
  • 5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลอกคราบของปูที่เลี้ยงในบ่อได้แก่ ระดับฮอร์โมนที่ควบคุมการ ลอกคราบและฮอร์ โ มนที่ เ ร่ ง ในการลอกคราบ เกษตรกรจะกระตุ น ให้ต่ อมที่ ผ ลิ ตโฮโมนส์ ้ ดังกล่าว ทางานด้วยวิธีตดก้ามและขา ว่ายน้ า การเปลี่ยนแปลงความเค็ม และอุณหภูมิของน้ าใน ั บ่อที่มีอิทธิ พลต่อการลอกคราบ เกษตรกรจะควบคุมให้คงที่โดยสร้างโรงเรื อนคลุมบ่อที่เลี้ยง ่ โดยมีผาใบหรื อข่ายไนลอนช่วยกรองแสงให้อยูในระดับที่เหมาะสม ้ อาหารที่ใช้เลี้ยงปูควรเป็ นอาหารมีคุณค่าทางอาหารสู ง และให้ในปริ มาณที่เพียงพอ ที่ นิยมใช้เลี้ยงปูนิ่มได้แก่เนื้ อปลาสด ถ้าเป็ นปลาที่มีขนาดโตหน่อย เช่ นปลาข้างเหลือง ก็ควรแล่ เอาแต่เนื้อ หั้นเป็ นชิ้นเล็กๆ ถ้าเป็ นปลาขนาดเล็ก เช่น ปลากระตัก (ปลาจิงชัง) ก็ให้ท้ งตัวได้ ถ้า ั เป็ นหอยกะพงหรื อ หอยแมลงภู่ ก็ให้ท้ ง เปลื อ ก ในระยะ ๑๐ วันแรก จะให้อาหารวัน ละครั้ ง ั ระหว่างเวลา ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา ในอัตราร้อยละ ๘-๑๐ ของน้ าหนักปูที่เลี้ยง หลังจากวันที่ ๑๐ ลดปริ มาณอาหารที่ เหลื อประมาณร้ อ ยละ ๕ โดยให้วน เว้น วัน ปริ ม าณอาหารที่ ใ ห้และ ั ความถี่ในการให้อาหารนั้น ขึ้นอยู่กบประสบการณ์และความชานาญของผูเ้ ลี้ยง เมื่อใกล้ลอก ั คราบปูจะกินอาหารน้อยลง และจะหยุดกินก่อนลอกคราบ การให้อาหารมีหลักอยู่ว่าต้องให้ อาหารเพียงพอ ถ้าให้ปริ มาณมากน้ าจะเสี ย ระหว่างเลี้ยงต้องทาความสะอาดบ่อ หรื อตะกร้าทุกๆ ๑๕ วัน ถ้าเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ควรเปลี่ยนถ่ายน้ าวันละครั้ง เมื่อปูใกล้ลอกคราบต้องทาการตรวจให้บ่อยขึ้น ถ้าเป็ นไปได้ควร ทุกๆ ๒-๓ ชัวโมง ถ้า ่ สังเกตว่าปูเริ่ มหยุดกินอาหารแสดงว่าปูจวนจะลอกคราบ หลังจากปูลอกคราบแล้ว ๖ ชัวโมง ่ กระดองปูจะเริ่ มแข็งไม่ สามารถนาไปทาปูน่ิ มได้ ปูส่วนใหญ่ จะลอกคราบในเวลากลางคื น ระยะเวลาที่ปูทะเลลอกคราบ ตั้งแต่ปูกระดองเก่าเริ่ มล่อนจากเยื่อหุ ้มตัว จนกระทังปูดีดตัวเอง ่ ออกจากคราบเก่าจะใช้เวลาประมาณ ๑๐-๑๕ นาที เมื่อพบว่าปูได้ลอกคราบแล้ว ควรเริ่ มทยอย เก็บปูที่ลอกคราบ แล้วนาไปล้างและแช่น้ าจืดประมาณ ๓๐ นาที เพื่อล้างเมือกและความเค็มตาม ตัวปูก่อนที่จะนาไปบรรจุในกล่องพลาสติกที่ เตรี ยมไว้ กล่องหนึ่ งจะบรรจุปูประมาณ ๑-๒ ตัว แล้วแต่ขนาด จากนั้นนาไปแช่แข็งในตูแช่ ที่อุณหภูมิ ๔ องศาเซลเซี ยส เพื่อรอลูกค้าไปรับหรื อ ้ นาไปส่ งลูกค้าขาประจา
  • 6. ปัญหาและอุปสรรคการเลียงปูนิ่ม ้ ปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงปูนิ่ม ได้แก่ พันธุ์ปูที่นามาใช้เลี้ยง ปั จจุบนใช้ปูขนาดเล็ก ั ที่ ไ ด้จากธรรมชาติ ซึ่ งมี แ นวโน้มว่า มี จ านวนลดน้อยลงทุ ก ปี ปั ญ หาตลาดยัง ไม่ มี ปัญหาใน ปั จจุบนเพราะการผลิตปูนิ่มยังจากัดอยู่ในวงแคบๆ ปริ มาณปูที่ผลิตได้ยงมีไม่มากจนเกินความ ั ั ต้องการภายในประเทศ ส่ วนตลาดต่างประเทศก็มี ฮ่องกง ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริ กา ที่ฟาร์มปูนิ่ม ใหญ่ๆ สามารถจัดส่ งให้ได้ตามที่สั่ง ปั จจุบนยังไม่มีการควบคุมคุณภาพของปูนิ่มที่ฟาร์มต่างๆ ั ผลิตโดยเฉพาะในช่วงหลังการเก็บเกี่ยว นอกจากฟาร์ มปูนิ่มรายใหญ่ๆ เท่านั้นที่มีอุปกรณ์และ เครื่ องมือต่างๆ ที่สามารถควบคุมผลิตภัณฑ์ของตนให้ได้มาตรฐานตามที่ประเทศที่สั่งปูกาหนด ไว้
  • 7. บทที่ ๓ วิธีการดาเนินการ ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. ประชุมวางแผนคิดหัวข้อโครงงาน 2. นาเสนอโครงร่ างโครงงาน แก่อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน 3. เขียน Story Board และสคิปต่าง ๆ ของพิธีกรให้เรี ยบร้อย 4. ติดต่อสถานที่ที่ตองไปถ่ายทา ้ 5. นัดตัวแทนสมาชิกกลุ่มเพื่อถ่ายวีดิโอ 6. นัดวันที่ที่ตองไปสถานที่ถ่ายทา ้ 7. เริ่ มถ่ายทาวีดีโอ ณ คันนา ( บ้านปูนิ่ม ) 8. ตัดต่อวีดีโอ ด้วยโปรแกรม Movie Maker 9. นาเสนอผลงาน และเผยแพร่ ผลงานในวันวิชาการ
  • 9. บทที๕ ่ สรุปผลกราดาเนินงาน และข้ อเสนอแนะ การจัดทาโครงงานปูนิ่มทาให้ได้รับความรู ้เกี่ยวกับการเลี้ยงปูนิ่ม การเลี้ยงปูนิ่ม สามารถ ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น มากกว่าการเลี้ยงปูทวไปเพราะปูนิ่มราคาสู ง และมีผเู ้ พาะพันธุ์นอยมากใน ั่ ้ จังหวัดตราด มี คนนิ ยมรับประทานมากกว่าปูทวไป สามารถรั บประทานได้ท้ งตัว ต่ างจากปู ั่ ั ทัวไปที่มีเปลือกมากกว่าเนื้อ ทาให้ปูนิ่มมีราคาสู งกว่าปูทวไป ่ ั่ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการพัฒนา ๑. การถ่ายทาจะเจอปูนิ่มได้ยากมาก ควรติดต่อประสานงานกับเจ้าของฟาร์มปูนิ่ม เพื่อ ไปถ่ายทาตอนที่ปูกาลังลอกคราบ ๒. เพื่อนในกลุ่มขาดความร่ วมมือเท่าที่ควร ควรแบ่งหน้าที่ตามความถนัด เพื่อลดปัญหา ดังกล่าว ๓. สถานที่ที่ถ่ายทา มีระยะทางไกล ควรวางแผนในการเดินทาง และสคริ ปให้พร้อม ก่อนถ่ายทา ๔. เสี ยงรบกวนขณะถ่ายทา อาจใช้เสี ยงดนตรี คลอ แล้วใช้ขอความวิงแทนเสี ยงพูด ้ ่ เนื่องจากมีเสี ยงลม และเสี ยงรบกวนขณะถ่ายทา ๕. การถ่ายภาพเคลื่อนไหวยังไม่นิ่งเท่าที่ควร ควรฝึ กเทคนิคการถ่ายภาพเคลื่อนไหวมาก ขึ้น
  • 11. กาลังหาปูนิ่มที่เขาเลี้ยงที่กาลังลอกขาบอยู่ กระชังปูนิ่ม หรื อ สถานที่เลี้ยงปูนิ่ม
  • 13. ลุงอารม เจ้าของฟรามเลี้ยงปูนิ่ม ไม่รู้จะอธิ บายยังไง
  • 14. ปูนิ่มจร้า รู ้จกไหม ั อ่ะนร๊ ะ ปูนิ่มอีกซักรู ป
  • 16. Story Board “การเลียงปูนิ่ม” ้ ลาดับ ภาพ เสี ยง/บรรยาย เวลา (นาที/วินาที) 1 พิธีกรสวัสดีคนดู “สวัสดีค่ะ ดิฉนชื่อนางสาวนิ ชา ศรี ั ๕ วินาที สุ ขค่ะ” “วันนี้เราจะพามาดูวธีการเลี้ยงปูนิ่ม ิ กันค่ะ” 2 พิธีกรผายมือเชิญชวนผูชม ้ “มาดูขางในกันเลยค่ะ” ้ ๓ วินาที 3 พิธีกรแนะนาคุณลุงอารม เจ้าของ นี่คือคุณลุงอารมเจ้าของฟาร์ มปูนิ่ม ฟาร์ มปูนิ่ม อาเภอแหลมกลัด จังหวัดตราด 4 คุณลงอารม พาชมฟาร์ มปูนิ่ม “-” ๓ วินาที 5 คุณลุงอารม เล่าประวัติความ “…………..” ๑ นาที เป็ นมาในการเลี้ยงปูน่ิม 6 พิธีกร ๒ หาปูนิ่มจากกระชังปูนิ่ม “เราจะพามาดูปูนิ่มที่ลอกคราบแล้ว ๓ วินาที ครับ” 7 พิธีกร ๒ นาปูนิ่มมาให้ดูใกล้ๆ “นี่ครับปูนิ่ม เรามาดูปูนิ่มกันดีกว่า” ๑ นาที ๘ พิธีกร ๒ หาปูนิ่มจากกระชังปูนิ่ม “นี่คือปูนิ่มที่ลอกคราบแล้ว ต่อไป ๕ วินาที เรามาดูปูนิ่มที่ยงไม่ลอกคราบกัน ั ดีกว่าครับ” ๙ พิธีกรสอบถามข้อมูลจากคุณลุงอา “ปูนิ่มกับปูธรรมดาแตกต่างกัน ๑ นาที รมเกี่ยวกับความแตกต่างของปูนิ่ม อย่างไรคะ” กับปูทวไป ั่ ๑๐ พิธีกรสัมภาษณ์คุณลุงอารม “วิธีการคัดปูมาทาปูนิ่ม มีวธีการ ิ ๑ นาที เกี่ยวกับปูนิ่ม อย่างไรคะ” “แล้วหามาจากแหล่งไหนบ้างคะ” ๑๑ เบื้องหลังการถ่ายทา ๕ วินาที
  • 17. บรรณานุกรม http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0 %B8%A5 [เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕] http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2 [เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕] http://www.aquatoyou.com/index.php/2010-01-08-14-15-29/23-scylla?start=10 [เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕] http://www.fisheries.go.th/cf-pak_panang/index.php/2012-09-08-02-04-04/17-knowledge/aquaculture/70- 2012-09-08-03-01-27?showall=&start=10 [เข้าถึง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕]