SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 39
แนวข้อ สอบ ลัก ษณะภาษา ข้อ สอบ ภาค ก กรมส่ง เสริม การปกครอง
ส่ว นท้อ งถิ่น
1. คำา ในข้อ ใดแสดงลัก ษณะของภาษาไทยที่อ าจจะไม่ต รงกับ ลัก ษณะ
ของภาษาคำา โดด
ก. คลอง
ข. ปู่
ค. หนาว
ง. ยืน
ตอบ ก. คลอง
ลักษณะทั่วไปของภาษาคำาโดดประการหนึ่งคือ คำาแต่ละคำามีพยางค์เดียวและ
ไม่มีเสียงควบกลำ้า แต่บางทีภาษาไทยก็ไม่เป็นเช่นนี้เสียทีเดียว ทั้งนี้เพราะคำาใน
ภาษาไทยเป็นอันมากที่มีมากพยางค์และมีเสียงควบกลำ้า เช่น คลอง คราด ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงฯลฯ
2. ข้อ ใดมิไ ด้เ รีย งคำา ตามแบบภาษาไทย
ก. บาร์เบียร์
ข. เบียร์บาร์
ค. เบียร์ไทย
ง. ฝาเบียร์
ตอบ ข. เบีย ร์บ าร์
การเรียงคำาตามแบบภาษาไทยนั้นจะต้องเรียงคำาตามตำาแหน่งหน้าที่คำาใดทำา
หน้าที่ใด หมายความว่าอย่างไร ก็อยู่ที่การเรียงลำาดับคำา การเรียงคำาผิดที่ผิด
ตำาแหน่งความหมายจะเปลี่ยนไปด้วย เช่น คำาขยายจะต้องอยู่หลังคำาที่ถูกขยาย
ฯลฯ
3. คำา ในข้อ ใดมิไ ด้แ สดงเพศตามแบบไทย
ก. เจ้าบ่าว
ข. เจ้าสาว
ค. บุรุษพยาบาล
ง. อาจารย์หญิง
ตอบ ง. อาจารย์ห ญิง
ในภาษาคำาโดด เมื่อต้องการแสดงเพศของคำานามจะใช้คำาแสดงเพศมาประกอบ
ข้างหน้า ข้างหลัง หรือประสมกันตามแบบคำาประสม เช่นเจ้าบ่าว – เจ้าสาว,
พระเอก – นางเอก, บุรุษพยาบาล – นางพยาบาล ฯลฯ
4. คำา ในข้อ ใดแสดงมาลาตามแบบไทย
ก. จะให้คะแนน
ข. ไม่ให้คะแนน
ค. ให้คะแนนแล้ว
ง. น่าให้
คะแนน
ตอบ ง. น่า ให้ค ะแนน
การแสดงมาลาตามแบบไทย คือ การแสดงภาวะหรืออารมณ์ในขณะที่พูด เช่น
ออกคำาสั่ง ขอร้อง อ้อนวอน คาดคะเน ฯลฯ โดยการนำาคำาอื่นมาช่วยประกอบคำา
กริยาหรืออาจใช้กริยา
ช่วย ได้แก่ คง พึง จง ต้อง อาจ โปรด ย่อม ฯลฯ หรือคำาอื่น ๆ ช่วยแสดง ได้แก่
น่า เถอะ เถิด เป็นต้น
5. ระบบเสีย งสูง ตำ่า แสดงให้เ ห็น อย่า งชัด เจนในข้อ ใด
ก. ท่ามันจะเข้ามาด่าเราแน่
ข. ท่ามันจะเข้ามาตีเราแน่
ค. ท่ามันจะเข้ามารวนเราแน่
ง. ท่ามันจะเข้ามาท้าเราแน่
ตอบ ง. ท่า มัน จะเข้า มาท้า เราแน่
ระบบเสียงสูงตำ่า (เสียงวรรณยุกต์) ในภาษาไทย คือ การกำาหนดเสียงสูงตำ่าไว้
ตายตัวในคำาแต่ละคำา เพื่อต้องการแยกความหมาย โดยให้เสียงหนึ่งมีความหมาย
อย่างหนึ่ง หากเปลี่ยนเสียงความหมายก็ย่อมเปลี่ยนไปด้วย เช่น ท่า = กิริยาอาการ
ที่ปรากฏให้เห็น , ท้า = ชวนวิวาท ชวนขันสู้ ชวนให้ทดลองความรู้ความสามารถ
ฯลฯ
6. ข้อใดใช้ตรวจสอบลักษณะของภาษาไทยได้
ก. กิน นอน นั่ง ยืน
ข. เสวย นิทรา สถิต
ค. กินเจ นอนเล่น
ง. กินนอกกินใน นอนหลับทับสิทธิ์
ตอบ ก. กิน นอน นั่ง ยืน
คำาพยางค์เดียวที่เป็นคำาพื้นฐานของภาษาไทย มักเป็นคำาที่ใช้เรียกสิ่งต่าง ๆ
ตลอดจนกิริยาอาการที่จำาเป็นแก่มนุษย์ เช่น คำากริยาที่สำาคัญและจำาเป็น ได้แก่ กิน
นอน นั่ง ยืน เดิน วิ่ง พูด โดด โจน ฯลฯ
7. ที่ม าของคำา มากพยางค์ใ นภาษาไทยคือ อะไร
ก. ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ
ข. ไทยสร้างขึ้นใหม่เอง
ตามแบบไทย
ค. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษาบางประการ
ง. ทุกประการที่กล่าวแล้ว
ตอบ ง. ทุก ประการที่ก ล่า วแล้ว
คำามากพยางค์ในภาษาไทยอาจมีที่มา 3 ทาง คือ
1. ยืมมาจากภาษาอื่น เช่น บาลี สันสกฤต เขมร อังกฤษ ฯลฯ
2. สร้างขึ้นใหม่ตามแบบวิธีการสร้างคำาของไทย
3. เกิดคำาใหม่เพราะการเปลี่ยนแปลงทางภาษาบางประการ
8. ทำา อย่า งไรจึง จะเรีย กได้ว ่า ออกเสีย งสระ
ก. ปล่อยลมผ่านหลอดลมโดยไม่กักที่ส่วนใดในปาก
ข. ปล่อยลมผ่านหลอดลม แล้วกักที่เพดานปาก
ค. ปล่อยลมผ่านหลอดลม แล้วกักที่โคนฟัน
ง. ปล่อยลมผ่านหลอดลม แล้วกักที่ริมฝีปาก
ตอบ ก. ปล่อ ยลมผ่า นหลอดลมโดยไม่ก ัก ที่ส ่ว นใดในปาก
ความแตกต่างที่สำาคัญระหว่างการออกเสียงสระกับการออกเสียงพยัญชนะ คือ
การออกเสียงสระนั้นลมหายใจที่พุ่งออกมาจากปอดสู่หลอดลมแล้วมาออกทางปาก
จะไม่ถูกกักไว้ที่ส่วนใดในปากเลย แต่การออกเสียงพยัญชนะนั้นลมหายใจที่พุ่ง
ออกมาจากหลอดลมจะถูกกักหรือถูกขัดขวางที่จุดใดจุดหนึ่งในปาก
9. สระเดี่ย วปรากฏในข้อ ใด
ก. วัว
ข. โค
ค. ควาย
ง.
หมวย
ตอบ ข. โค
เสียงสระในภาษาไทยมี 28 เสียง แบ่งออกเป็น
1. สระเดี่ยว 18 เสียง ได้แก่ อะ อา อึ อื เออะ เออ (สระกลาง), อิ อี เอะ เอ แอะ
แอ(สระหน้า), อุ อู โอะ โอ เอาะ ออ (สระหลัง)
2. สระผสม 10 เสียง ได้แก่ เอือะ เอือ เอาอาว ไอ อาย (สระกลาง), เอียะ เอีย
(สระหน้า), อัวะ อัว (สระหลัง)
10. สระผสมไม่ป รากฏในข้อ ใด
ก. เฉา
ข. เฉียด
ค. ฉับ
ง. ฉาย
ตอบ ค. ฉับ
แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ข้อ สอบ ภาค ก กรมส่ง เสริม การปกครองส่ว นท้อ ง
ถิ่น
1. พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ฉบับ ปัจ จุบ ัน ที่ใ ช้อ ยู่ เป็น ฉบับ ที่
เท่า ไร
ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2542
ข. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2549
ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2552
ง. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2552
ตอบ ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2552
2. พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด พ.ศ. 2540 มีผ ลบัง คับ ใช้เ มื่อ ใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 3 วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 7 วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พรบ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้
ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3. พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด พ.ศ. 2540 ฉบับ นี้ไ ม่ไ ด้ย กเลิก
กฎหมายใด
ก. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498
ข. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499
ค. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 93 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515
ง. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
ตอบ ง. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 3 ให้ยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498
(2) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499
(3) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2499
(4) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2506
(5) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2509
(6) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2510
(7) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2511
(8) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2511
(9) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 93 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515
(10) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 9) พ.ศ.
2521
(11) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 10) พ.ศ.
2523
4. ข้อ ใดไม่ใ ช่ค วามหมายของ “ราชการส่ว นท้อ งถิ่น อื่น ”
ก. เทศบาล
ข. สุขาภิบาล
ค. กรุงเทพมหานคร
ง. ทุกข้อรวมกัน
ตอบ ง. ทุกข้อรวมกัน
"ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น" หมายความว่า เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหาร
ส่วนตำาบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัด
ตั้งขึ้น นอกจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด
5. หมวด 1 ใน พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด พ.ศ. 2540 นี้เ กี่ย ว
กับ เรื่อ งอะไร
ก. บททั่วไป
ข. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ค. การกำากับดูแล
ง. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ตอบ ก. บททั่วไป
หมวด 1 บททั่วไป

6. ในจัง หวัด หนึ่ง ให้ม ีอ งค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยบุค คล
ใดบ้า ง
ก. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล
ข. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, องค์การบริหารส่วนตำาบล
ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ง. องค์การบริหารส่วนตำาบล, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ตอบ ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 7 ในจังหวัดหนึ่งให้มี
องค์การบริหารส่วนจังหวัดประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายก
องค์การบริหารส่วนจังหวัด และมีอำานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้
หรือตามกฎหมายอื่น
7. จัง หวัด ใดมีร าษฎรไม่เ กิน 500,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก
สภาองค์ก ารบริห าร
ส่ว นจัง หวัด กี่ค น
ก. 12 คน
ข. 24 คน
ค. 26 คน
ง. 32 คน
ตอบ ข. 24 คน
การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ถือเกณฑ์จำานวนราษฎร
แต่ละจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการ
เลือกตั้ง จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกินห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดได้ยี่สิบสี่คน จังหวัดใดมีราษฎรเกินห้าแสนคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้าน
คน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบคน จังหวัดใด
มีราษฎรเกินหนึ่งล้านคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้านห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบหกคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินหนึ่งล้านห้าแสน
คนแต่ไม่เกินสองล้านคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้
สี่สิบสองคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินสองล้านคนขึ้นไป ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบแปดคน
8. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,000,000 คน ให้
มีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 24 คน
ข. 26 คน
ค. 30 คน
ง. 32 คน
ตอบ ค. 30 คน
คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
9. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,000,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,500,000 คน
ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 30 คน
ข. 32 คน
ค. 36 คน
ง. 40 คน
ตอบ ค. 36 คน
คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
10. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน
ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 32 คน
ข. 36 คน
ค. 40 คน
ง. 42 คน
ตอบ ง. 42 คน
คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น แนวข้อ สอบเก่า ภาค ก กรมส่ง เสริม การปกครอง
ส่ว นท้อ งถิ่น ปี 2556
1. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน
ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 40 คน
ข. 42 คน
ค. 48 คน
ง. 52 คน
ตอบ ค. 48 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
2. อายุข องสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีว าระคราวละกี่ป ี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 6 ปี
ตอบ ค. 4 ปี
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 10 อายุของสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำาหนดคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
3. มติใ นการถอดถอนสมาชิก ภาพของสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว น
จัง หวัด นั้น โดยสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด นั้น โดยสมาชิก
ต้อ งมีเ สีย งเท่า ใด
ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
ข. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
ตอบ ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 11 (7)(8)
(7) สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำาแหน่ง โดยเห็นว่ามีความ
ประพฤติในทางที่จะนำามาซึ่งความเสื่อมเสียหรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่
องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือกระทำาการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำานวนไม่น้อยกว่า
หนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด เท่าที่มีอยู่
เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา และมติดังกล่าวต้องมี
คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า
สามในสี่ของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ทั้งนี้ ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติ
(8) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีจำานวนไม่น้อย
กว่าสามในสี่ของจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดผู้ใดไม่สมควรดำารงตำาแหน่งต่อไปตามกฎหมาย ว่าด้วย
การลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
4. ราษฎรผู้ม ีส ิท ธิเ ลือ กตั้ง ในเขตองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีจ ำา นวน
เท่า ใดของผู้ม ี
สิทธิเลือกตั้งมาลงคะแนนเสียง เพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่น
ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 2
ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
ตอบ ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
5. เมื่อ มีข ้อ สงสัย เกี่ย วกับ สมาชิก ภาพของสมาชิก สภาองค์ก ารบริห าร
ส่ว นจัง หวัด ผู้ใ ดสิ้น สุด ลงคำา วิน ิจ ฉัย ของผู้ใ ดถือ ว่า เป็น ที่ส ุด
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล
ตอบ ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
6. สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยใครบ้า ง
ก. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 1 คน
ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน
ค. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 3 คน
ง. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 4 คน
ตอบ ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 17 ให้สภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหนึ่ง และรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
สองคน
7. เมื่อ ตำา แหน่ง ประธานว่า งลงต้อ งมีก ารเลือ กประธานสภาภายในกี่ว ัน
นับ แต่ต ำา แหน่ง ว่า งลง
ก. ภายในสิบห้าวัน
ข. ภายในสามสิบวัน
ค. ภายในสี่สิบห้าวัน
ง. ภายในหกสิบวัน
ตอบ ก. ภายในสิบห้าวัน
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 19 เมื่อตำาแหน่ง
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วน
จังหวัดว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้มีการเลือกประธานสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แล้วแต่
กรณี แทนตำาแหน่งที่ว่างภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตำาแหน่งนั้นว่างลง
8. เมื่อ ประธานสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด และรองประธานสภา
ไม่อ ยู่ใ นที่ป ระชุม ให้ด ำา เนิน การ
อย่า งไร
ก. ผูอาวุโสที่สุดเป็นประธานชั่วคราว
้
ข. คัดเลือกกันเองภายในที่
ประชุม
ค. เลื่อนการประชุมออกไป
ง. ผู้มีตำาแหน่งสูงสุดเป็น
ประธานชั่วคราว
ตอบ ข. คัดเลือกกันเองภายในที่ประชุม
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 21 เมื่อประธานสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งสอง
คนไม่อยู่ในที่ประชุม ให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกกันขึ้นเองเป็น
ประธานในที่ประชุมสำาหรับการประชุมคราวนั้น
9. ในปีห นึ่ง ๆ มีส มัย ประชุม สามัญ กี่ส มัย
ก. หนึ่งสมัย
ข. สองสมัย
ค. สามสมัย
ง. สี่สมัย
ตอบ ข. สองสมัย
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 22 ในปีหนึ่งให้มีสมัย
ประชุมสามัญสองสมัย
10. ผู้ว่าราชการจังหวัด กำาหนดให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้
มาประชุมสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดครั้งแรกภายในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 45 วัน
ง. 45 วัน
ตอบ ข. 15 วัน
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 22 ในปีหนึ่งให้มีสมัย
ประชุมสามัญสองสมัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องกำาหนดให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้มา
ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดครั้งแรก ภายในสิบห้าวันนับแต่วันประกาศ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด วันเริ่มสมัยประชุมสามัญ
ประจำาปี ให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำาหนดสมัยประชุมสามัญให้มีกำาหนดสี่
สิบห้าวัน แต่ถ้ามีกรณีจำาเป็น ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสั่งขยาย
สมัยประชุมสามัญออกไปอีกได้ตามความจำาเป็นครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน
1. สมัย ประชุม สามัญ มีก ำา หนดขึ้น ภายในกี่ว ัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ค. 45 วัน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
2. กรณีม ีเ หตุจ ำา เป็น ประธานสภาสามารถสั่ง ขยายสมัย ประชุม สามัญ
ออกไปอีก ครั้ง ละไม่เ กิน กี่ว ัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ก. 15 วัน
3. ผู้เ รีย กประชุม และเป็น ผู้เ ปิด และปิด สมัย ประชุม คือ ใคร
ก. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. นายกเทศมนตรี
ค. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ง. คณะรัฐมนตรี
ตอบ ก. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 24 ภายใต้บังคับมาตรา
22 ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นผู้เรียกประชุมสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดตามสมัยประชุมและเป็นผู้เปิดและปิดการประชุมในกรณีที่ไม่มี
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้เรียกประชุมและเป็นผู้เปิด
และปิดการประชุม
4. จากข้อ ข้า งต้น ในกรณีไ ม่ม ีบ ุค คลดัง กล่า ว ให้ผ ู้ใ ดเป็น ผู้เ รีย ก
ประชุม และเป็น ผู้เ ปิด และปิด การ
ประชุม
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ตอบ ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด
คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
5. ผู้ใ ดสามารถเรีย กประชุม สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ตามกฎ
เกณฑ์ท ี่ก ำา หนด
ก. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. นายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัด
ค. สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 25 เมื่อเป็นการจำาเป็น
เพื่อประโยชน์แห่งองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประธานสภาองค์การบริหารส่วน
จังหวัดอาจเรียกประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นสมัยวิสามัญก็ได้ หรือ
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
จำานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
เท่าที่มีอยู่ อาจทำาคำาร้องยื่นต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอให้เปิด
การประชุมสมัยวิสามัญได้ ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือสมาชิก
สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ทำาคำาร้องขอให้เปิดประชุมสภาองค์การบริหารส่วน
จังหวัดสมัยวิสามัญ ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเรียกประชุมสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมัยวิสามัญภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับคำาร้อง
การประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมัยวิสามัญให้มีกำาหนดเจ็ดวัน แต่ถ้า
จะขยายเวลาออกไปอีกต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน
จังหวัดเท่าที่มีอยู่ และให้ขยายออกไปได้อีกไม่เกินเจ็ดวัน
6. ข้อ ใดกล่า วไม่ถ ูก ต้อ งเกี่ย วกับ การประชุม สมัย วิส ามัญ
ก. ให้มีกำาหนดเจ็ดวัน
ข. ขยายเวลาต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาด้วยเสียงสองในสาม
ค. ถ้าต้องการขยายออกไปได้ไม่เกินเจ็ดวัน
ง. ไม่มีขอใดกล่าวไม่ถูกต้อง
้
ตอบ ข. ขยายเวลาต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาด้วยเสียงสองในสาม
คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
7. ข้อ บัง คับ การประชุม สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ให้เ ป็น ไปตาม
ระเบีย บที่ใ ครกำา หนด
ก. กระทรวงกลาโหม
ข. กระทรวงมหาดไทย
ค. กระทรวงยุติธรรม
ง. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ตอบ ข. กระทรวงมหาดไทย
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 26 ข้อบังคับการ
ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงมหาดไทย
กำาหนด
8. ในการประชุม ลับ ของสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด นั้น ย่อ มมีไ ด้
เมื่อ จำา นวนสมาชิก ร้อ งขอมาไม่น ้อ ยกว่า เท่า ใด
ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 2
ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
ตอบ ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 30 การประชุมสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่จะได้กำาหนดไว้ใน
ระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แต่ การประชุมลับย่อม
มีได้เมื่อนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้องขอ หรือสมาชิกสภาองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดรวมกันมีจำานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดซึ่งมาประชุมร้องขอ
9. ผู้ว ่า ราชการจัง หวัด ย่อ มมีส ิท ธิท ี่จ ะไม่ต อบคำา ถามด้ว ยเหตุผ ลใด
ก. เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ
ข. เกี่ยวกับนโยบายการบริหาร
ราชการส่วนกลาง
ค. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
ตอบ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 32 สมาชิกสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอาจเสนอข้อสอบถามต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ อันเกี่ยวกับอำานาจหน้าที่ของราชการ
ส่วนภูมิภาคและให้หัวหน้าหน่วยงานราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดินซึ่งมาปฏิบัติหน้าที่ในเขตจังหวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ อันเกี่ยวกับ
งานในหน้าที่ได้ ทั้งนี้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้าหน่วยงานราชการดัง
กล่าวชี้แจงด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ภายในเวลาอันสมควรก็ได้
ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้าหน่วยงานราชการย่อมมีสิทธิที่จะไม่ตอบคำาถาม
เมื่อเห็นว่าข้อเท็จจริงนั้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติหรือเกี่ยวกับ
นโยบายของการบริหารราชการส่วนกลางที่ยังไม่สมควรเปิดเผย
10. บุค คลผู้ม ีส ิท ธิส มัค รรับ เลือ กตั้ง เป็น นายกองค์ก ารบริห ารจัง หวัด
ต้อ งไม่ม ีล ัก ษณะต้อ งห้า มตามกฎหมายใด
ก. กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
ข. กฎหมายเลือกตั้งสภาท้องถิ่น
ค. กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 35/1 บุคคลผู้มีสิทธิ
สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดต้องมีคุณสมบัติ และไม่มี
ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่น และต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ด้วย
(1) มีอายุไม่ตำ่ากว่าสามสิบปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
(2) สำาเร็จการศึกษาไม่ตำ่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภา
จังหวัด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
(3) ไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำาแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้
บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น เลขานุการหรือที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถิ่นเพราะ
เหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญา หรือกิจการที่กระทำากับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
1. ในจัง หวัด หนึ่ง ให้ม ีอ งค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยบุค คล
ใดบ้า ง
ก. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล
ข. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, องค์การบริหารส่วนตำาบล
ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ง. องค์การบริหารส่วนตำาบล, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข้อ สอบ ภาค ก ท้อ งถิ่น พร้อ ม เฉลย,ข้อ สอบ ภาค ก ท้อ งถิ่น ระดับ 3
ตอบ ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัด พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 7 ในจังหวัดหนึ่ง
ให้มองค์การบริหารส่วนจังหวัดประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและ
ี
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด และมีอำานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราช
บัญญัตินหรือตามกฎหมายอื่น
ี้
ข้อ สอบ ภาค ก ส่ว นท้อ งถิ่น ,ข้อ สอบ ภาค ก ท้อ งถิ่น 56,สอบ ภาค ข
ท้อ งถิ่น
2. จัง หวัด ใดมีร าษฎรไม่เ กิน 500,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก
สภาองค์ก ารบริห าร
ส่ว นจัง หวัด กี่ค น
ก. 12 คน
ข. 24 คน
ค. 26 คน
ง. 32 คน
ภาค ก ท้อ งถิ่น ,ข้อสอบ ภาค ก อบต,สอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้อง
ถิ่น
ตอบ ข. 24 คน
การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ถือเกณฑ์จำานวนราษฎร
แต่ละจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการ
เลือกตั้ง จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกินห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดได้ยี่สิบสี่คน จังหวัดใดมีราษฎรเกินห้าแสนคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้าน
คน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบคน จังหวัดใด
มีราษฎรเกินหนึ่งล้านคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้านห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบหกคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินหนึ่งล้านห้าแสน
คนแต่ไม่เกินสองล้านคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้
สี่สิบสองคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินสองล้านคนขึ้นไป ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบแปดคน
3. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,000,000 คน ให้
มีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 24 คน
ข. 26 คน
ค. 30 คน
ง. 32 คน
เตรีย มสอบกรมส่ง เสริม การปกครองส่ว นท้อ งถิ่น ,คู่ม ือ เตรีย มสอบ ภาค
ก
ตอบ ค. 30 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
4. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,000,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,500,000 คน
ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 30 คน
ข. 32 คน
ค. 36 คน
ง. 40 คน
สอบภาค ก กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น,ผล สอบ กรม ส่งเสริม การ
ปกครอง ส่วนท้องถิ่น
ตอบ ค. 36 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
5. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน
ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 32 คน
ข. 36 คน
ค. 40 คน
ง. 42 คน
ตอบ ง. 42 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
6. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน
ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น
ก. 40 คน
ข. 42 คน
ค. 48 คน
ง. 52 คน
ตอบ ค. 48 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
7. อายุข องสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีว าระคราวละกี่ป ี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 6 ปี
ตอบ ค. 4 ปี
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 10 อายุของสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำาหนดคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
8. มติใ นการถอดถอนสมาชิก ภาพของสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว น
จัง หวัด นั้น โดยสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด นั้น โดยสมาชิก
ต้อ งมีเ สีย งเท่า ใด
ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
ข. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
ตอบ ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 11 (7)(8)
(7) สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำาแหน่ง โดยเห็นว่ามีความ
ประพฤติในทางที่จะนำามาซึ่งความเสื่อมเสียหรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่
องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือกระทำาการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำานวนไม่น้อยกว่า
หนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด เท่าที่มีอยู่
เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา และมติดังกล่าวต้องมี
คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วน
จังหวัดมีมติ
(8) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีจำานวนไม่น้อย
กว่าสามในสี่ของจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดผู้ใดไม่สมควรดำารงตำาแหน่งต่อไปตามกฎหมาย ว่าด้วย
การลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
9. สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยใครบ้า ง
ก. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 1 คน
ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน
ค. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 3 คน
ง. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 4 คน
ตอบ ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 17 ให้สภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหนึ่ง และรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
สองคน
10. เมื่อ ตำา แหน่ง ประธานว่า งลงต้อ งมีก ารเลือ กประธานสภาภายในกี่
วัน นับ แต่ต ำา แหน่ง ว่า งลง
ก. ภายในสิบห้าวัน
ข. ภายในสามสิบวัน
ค. ภายในสี่สิบห้าวัน
ง. ภายในหกสิบวัน
ตอบ ก. ภายในสิบห้าวัน
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 19 เมื่อตำาแหน่ง
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วน
จังหวัดว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้มีการเลือกประธานสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แล้วแต่
กรณี แทนตำาแหน่งที่ว่างภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตำาแหน่งนั้นว่างลง
1.ในกรณีท ี่ส ภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีส มาชิก สภาองค์ก าร
บริห ารส่ว นจัง หวัด 48 คน ให้
แต่ง ตั้ง รองนายกองค์ก ารได้ไ ม่เ กิน กี่ค น
ก. ไม่เกิน 2 คน
ข. ไม่เกิน 3 คน
ค. ไม่เกิน 4 คน
ง. ไม่เกิน 5 คน
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เปิดสอบ 2555,กรมส่งเสริมการปกครองท้อง
ถิ่น เปิดสอบ ภาค ก
ตอบ ข. ไม่เกิน 3 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
กรมส่ง เสริม การปกครองท้อ งถิ่น เปิด สอบ ภาค ก,สอบกรมส่ง เสริม การ
ปกครองท้อ งถิ่น
2. นายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด แต่ง ตั้ง เลขานุก ารและที่ป รึก ษาที่
มิใ ช่ส มาชิก สภาได้ไ ม่เ กิน กี่ค น
ก. ไม่เกิน 3 คน
ข. ไม่เกิน 4 คน
ค. ไม่เกิน 5 คน
ง. ไม่เกิน 6 คน
ตอบ ค. ไม่เกิน 5 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
ข้อสอบคนท้องถิ่น,ชุมชนคนของท้องถิ่น,สอบงานท้องถิ่น,ชุมชนรวมคนท้อง
ถิ่น,ชุมชนคนท้องถิ่น
3. ก่อ นนายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด เข้า รับ หน้า ที่ต ้อ งกระทำา สิ่ง ใด
ก. กล่าวแสดงวิสัยทัศน์
ข. เข้าพบนายกรัฐมนตรี
ค. ปฏิญาณตน
ง. แถลงนโยบาย
ตอบ ง. แถลงนโยบาย
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 35/4 ก่อนนายก
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเข้ารับหน้าที่ ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
เรียกประชุมสภาองค์
การบริหารส่วนจังหวัดเพื่อให้นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแถลงนโยบายต่อ
สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดโดยไม่มีการลงมติ ทั้งนี้ ภายในสามสิบวันนับแต่วัน
ประกาศผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
4. จากข้อ ข้า งต้น จะต้อ งกระทำา ภายในกี่ว ัน นับ แต่ว ัน ประกาศผลการ
เลือ กตั้ง นายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
ชุมชนคนของท้องถิ่น,สอบงานท้องถิ่น,ชุมชนรวมคนท้องถิ่น,ชุมชนคนท้องถิ่น
แบ่งปัน
ตอบ ค. 30 วัน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น
สอบท้อ งถิ่น ภาค ก 2555,สอบท้อ งถิ่น 56,หนัง สือ สอบท้อ งถิ่น ,กรมส่ง
เสริม การปกครองท้อ งถิ่น
5. จากข้อ ข้า งต้น หากนายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ไม่ส ามารถ
กระทำา การดัง กล่า วได้ใ ห้ท ำา อย่า งไร
ก. บอกกล่าวแก่สมาชิก
ข. ทำาเป็นหนังสือส่งให้
สมาชิกทราบ
ค. ทำาหนังสือแจงแก่นายกเพื่ออธิบายเหตุผล
ง. กระทำาการหลังจากนั้น
ไม่เกิน 15 วัน
ตอบ ข. ทำาเป็นหนังสือส่งให้สมาชิกทราบ
พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 35/4 (วรรค 4)
หากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดไม่สามารถแถลงนโยบายต่อสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดได้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งให้นายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัดจัดทำานโยบายแจ้ง
เป็นหนังสือส่งให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทุกคนภายในเจ็ดวัน
โดยให้นำาวิธีการแจ้งคำาสั่งทางปกครองเป็นหนังสือตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่านายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้แถลงนโยบายต่อสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดแล้ว
สอบท้อ งถิ่น ภาค ก 2555,สอบท้อ งถิ่น 56,หนัง สือ สอบท้อ งถิ่น ,กรมส่ง
เสริม การปกครองท้อ งถิ่น
6. พ.ร.บ.ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น ฉบับ ที่ใ ช้อ ยู่เ ป็น ฉบับ
พ.ศ. ใด
ก. พ.ศ. 2542
ข. พ.ศ. 2543
ค. พ.ศ. 2544
ง. พ.ศ. 2545
แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ,ข้อ สอบท้อ งถิ่น ,แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น พร้อ มเฉลย
ตอบ ก. พ.ศ. 2542
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 1 พระราช
บัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วน- ท้องถิ่น พ.ศ.
2542”
แนวข้อสอบท้องถิ่น,ข้อสอบท้องถิ่น,แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น พร้อ มเฉลย
7. พ.ร.บ.ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น พ.ศ. 2542 ฉบับ นี้ม ีผ ล
บัง คับ ใช้เ มื่อ ใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 3 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ,ข้อสอบท้องถิ่น,แนวข้อสอบท้องถิ่นพร้อมเฉลย
ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 2 พระราช
บัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
8. ผู้ร ัก ษาการตาม พ.ร.บ.ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น พ.ศ.
2542 คือ ใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
กลาโหม
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. นายกเทศบาลเมืองพัทยา
ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ให้รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
9. หมวด 1 ใน พ.ร.บ. ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น พ.ศ.
2542 เกี่ย วกับ เรื่อ งใด
ก. การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. การบริหารงานบุคคลในเทศบาล
ค. การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนตำาบล
ง. การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา
ตอบ ก. การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 1 การบริหาร
งานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด
10. ในองค์ก ารบริห ารจัง หวัด แต่ล ะแห่ง นั้น แต่ล ะแห่ง นั้น จะประกอบ
ด้ว ยหัว หน้า ส่ว นราชการประจำา จัง หวัด จำา นวนกี่ค น
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 3 คน
ง. 4 คน
ตอบ ค. 3 คน
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 5 ในองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดแต่ละแห่ง ให้มีคณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วน
จังหวัดคณะหนึ่ง ประกอบด้วย
(1) ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน
(2) หัวหน้าส่วนราชการประจำาจังหวัดจำานวนสามคนจากส่วนราชการในจังหวัด
นั้น ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศกำาหนดว่าเป็นส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ใน
กรณีจำาเป็นเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล ผู้ว่าราชการจังหวัดจะประกาศ
เปลี่ยนแปลงการกำาหนดส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเมื่อใดก็ได้
(3) ผู้แทนองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำานวนสี่คน ประกอบด้วย นายกองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งสภาองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดคัดเลือกจำานวนหนึ่งคน ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด และผู้แทน
ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งคัดเลือกกันเองจำานวนหนึ่งคน
(4) ผู้ทรงคุณวุฒิจำานวนสี่คนซึ่งคัดเลือกจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญ
ในด้านการบริหารงานท้องถิ่น ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านระบบราชการ ด้าน
การบริหารและการจัดการหรือด้านอื่นที่จะเป็นประโยชน์แก่การบริหารงานบุคคล
ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
แนวข้อ สอบ พรบ .สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล พ .ศ .2537
และแก้ไ ขเพิ่ม เติม ถึง (ฉบับ ที่ 6) พ .ศ . 2552
1. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บลฉบับ ที่ใ ช้อ ยู่เ ป็น ฉบับ
พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ.2535
ข. พ.ศ. 2536
ค. พ.ศ. 2537
ง. พ.ศ. 2538
ตอบ ค. พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติสภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่ม
เติมถึงฉบับ 6 พ.ศ.2552
2. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ประกาศใช้เ มื่อ ใด
ก. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2535
ข. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2536
ค. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2537
ง. 26 ธันวาคม พ.ศ. 2538
ตอบ ค. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2537
ให้ไว้ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537
3. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ฉบับ แก้ไ ขล่า สุด เป็น
ฉบับ ที่เ ท่า ไร พ.ศ.ใด
ก. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546
ข. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2552
ค. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2546
ง. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552
ตอบ ง. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับ 6 พ.ศ.2552
4. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ฉบับ นี้ป ระกาศใช้เ มื่อ
ใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 60 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 90 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ตอบ ง. 90 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำาหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล
พ.ศ.2537)
5. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ฉบับ นี้ย กเลิก
กฎหมายใด
ก. พรบ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ. 2535
ข. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515
ค. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 93 ลงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.
2515
ให้ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.
2515
(พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 3)
6. “หน่ว ยการบริห ารราชการส่ว นท้อ งถิ่น ” หมายถึง ใคร
ก. เทศบาล
ข. สุขาภิบาล
ค. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
“หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า เทศบาล สุขาภิบาลและ
ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วน
จังหวัด
(พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 4)
7. จากข้อ ข้า งต้น ราชการส่ว นท้อ งถิ่น อื่น ที่ม ีก ฎหมายจัด ตั้ง ขึ้น แต่ไ ม่
รวมถึง หน่ว ยงานใด
ก. เทศบาล
ข. สุขาภิบาล
ค. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ง. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
ตอบ ค. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
“หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า เทศบาล สุขาภิบาลและ
ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วน
จังหวัด (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 4)
8. ผู้ใ ดรัก ษาการตาม พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล นี้
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. ประธานสภาตำาบล
ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มี
อำานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติ
การตามพระราชบัญญัตินี้
(พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 5)
9. สภาตำา บลมีฐ านะเป็น อย่า งไร
ก. หน่วยงานของรัฐ
ข. รัฐวิสาหกิจ
ค. นิติบุคคล
ง. หน่วยงานอิสระ
ตอบ ค. นิติบุคคล
ในตำาบลหนึ่งให้มีสภาตำาบลสภาหนึ่งมีอำานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้สภาตำาบลมีฐานะเป็นนิติบุคคล (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วน
ตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 6)
10. สภาตำา บลประกอบด้ว ยสมาชิก โดยตำา แหน่ง ได้แ ก่
ก. กำานัน
ข. ผู้ใหญ่บ้าน
ค. แพทย์ประจำาตำาบล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
สภาตำาบลประกอบด้วยสมาชิกโดยตำาแหน่งได้แก่ กำานัน ผู้ใหญ่บ้านของทุก
หมู่บ้านในตำาบล และแพทย์ประจำาตำาบล และสมาชิกซึ่งได้รับเลือกตั้งจากราษฎรใน
แต่ละหมู่บ้านในตำาบลนั้นเป็นสมาชิกสภาตำาบลหมู่บ้านละหนึ่งคน (พ.ร.บ.สภา
ตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 7)
11. การจัด การเลือ กตั้ง สมาชิก สภาตำา บลเป็น อำา นาจหน้า ที่ข องใคร
ก. นายอำาเภอ
ข. นายกองค์การบริหารส่วนตำาบล
ค. ประธานสภา
ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ตอบ ก. นายอำาเภอ
ให้นายอำาเภอจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำาบลซึ่งได้รับเลือกตั้งตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในระเบียบของกระทรวงมหาดไทย (พ.ร.บ.สภาตำาบล
และองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 10)
12. สมาชิก สภาตำา บลที่ไ ด้ร ับ เลือ กตั้ง มีว าระอยู่ใ นตำา แหน่ง คราวละกี่
ปี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
ตอบ ค. 4 ปี
สมาชิกสภาตำาบลซึ่งได้รับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตำาแหน่งคราวละสี่ปี นับแต่วัน
เลือกตั้ง (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 11)
13.นายอำา เภอสามารถสั่ง ให้ส มาชิก สภาตำา บลพ้น จากตำา แหน่ง ได้ใ น
กรณีใ ด
ก. มิได้อยู่ประจำาในหมู่บ้านที่ได้รับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันเกิน 6 เดือน
ข. ขาดประชุมติดต่อกันเกิน 3 ครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันควร
ค. ขาดคุณสมบัตหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 9
ิ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
นายอำาเภอสั่งให้พ้นจากตำาแหน่ง เมื่อได้สอบสวนแล้วปรากฏว่าเป็นผู้ขาด
คุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา 9 หรือมิได้อยู่ประจำา
ในหมู่บ้านที่ได้รับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันเกินหกเดือน หรือขาดการประชุมสภา
ตำาบลติดต่อกันสามครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การ
บริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 12 ข้อ 6)
14. เมื่อ มีก ารสอบสวนแล้ว ปรากฏว่า สมาชิก สภาตำา บลบกพร่อ งใน
ความประพฤติ ผู้ใ ดมีอ ำา นาจสั่ง ให้พ ้น จากตำา แหน่ง ได้
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ข. นายกองค์การบริหารส่วนตำาบล
ค. ประธานสภาตำาบล
ง. คณะรัฐมนตรี
ตอบ ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้พ้นจากตำาแหน่ง เมื่อได้สอบสวนแล้วปรากฏว่า
บกพร่องในทางความประพฤติ (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล
พ.ศ.2537 มาตรา 12 ข้อ 7)
15. มติข องสภาตำา บล สามารถให้ส มาชิก สภาตำา บลพ้น จากตำา แหน่ง
ได้โ ดยมีม ติด ัง กล่า ว ต้อ งมีค ะแนนเสีย งไม่น ้อ ยกว่า เท่า ใด
ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 2
ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
ตอบ ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
สภาตำาบลมีมติให้พ้นจากตำาแหน่งโดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำามา
ซึ่งความเสื่อมเสียประโยชน์ของตำาบล มติดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสอง
ในสามของ
จำานวนสมาชิกสภาตำาบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การ
บริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 12 ข้อ 5)
[DOWNLOAD ฟรี !!] แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ภาค ก พร้อ มเฉลย 2556
คู่ม ือ สอบท้อ งถิ่น ภาค ข ข้อ สอบกรมส่ง เสริม การปกครองส่ว นท้อ งถิ่น
2556 ชุด ที่ 8 ข้อ สอบท้อ งถิ่น 2556,ข้อสอบคนท้องถิ่น,ชุมชนคนของท้อง
ถิ่น,สอบงานท้องถิ่น,ชุมชนรวมคนท้องถิ่น,ชุมชนคนท้องถิ่นแบ่งปัน,คู่มือสอบท้อง
ถิ่น,สอบท้องถิ่น 55,สอบท้อ งถิ่น ภาค ก 2556,กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
เปิดสอบ 2556,กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
1. ในการจัด ระเบีย บบริห ารราชการส่ว นท้อ งถิ่น นั้น แบ่ง ได้แ บบใด
ก. เทศบาล, สุขาภิบาล
ข. อบจ., เทศบาล, สุขาภิบาล
ค. อบจ., เทศบาล, สุขาภิบาล, ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำาหนด
ง. อบจ., อบต., เทศบาล, สุขาภิบาล
ข้อ สอบท้อ งถิ่น ระดับ 1,ข้อ สอบท้อ งถิ่น ระดับ 2,ข้อ สอบท้อ งถิ่น ระดับ 3
ตอบ ค. อบจ., เทศบาล, สุขาภิบาล, ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำาหนด
ให้จดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้
ั
(1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(2) เทศบาล
(3) สุขาภิบาล (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 70)
2. คณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการมีอ ัก ษรย่อ ว่า อย่า งไร
ก. ก.พ.
ข. ก.พ.ร.
ค. กพ.
ง. กพร.
สอบภาค ก ท้อ งถิ่น ระดับ 3,แนวข้อสอบภาค ก ระดับ 3 ท้องถิ่น,แนวข้อสอ
บท้องถิน 3
ตอบ ข. ก.พ.ร.
ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า
“ก.พ.ร.” (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 มาตรา
71/1)
3. คณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการ มีผ ู้ใ ดเป็น ประธาน
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. คณะรัฐมนตรี
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน
รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรีกำาหนดเป็นรองประธานในกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
(พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 มาตรา 71/1
สมัค รสอบท้อ งถิ่น ,ข้อ สอบภาค ข ท้อ งถิ่น ,ขอข้อ สอบท้อ งถิ่น
4. กรรมการผู้ท รงคุณ วุฒ ิใ นคณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการ มี
จำา นวนไม่เ กิน กี่ค น
ก. ไม่เกินห้า
ข. ไม่เกินเจ็ด
ค. ไม่เกินเก้า
ง. ไม่เกินสิบ
ตอบ ง. ไม่เกินสิบ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไม่เกินสิบคน ซึ่ง
คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง จากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในทางด้านนิติศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์
การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การและ
สังคมวิทยา อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน (พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่
5 พ.ศ. 2545 มาตรา 71/1)
5. จากข้อ ข้า งต้น ผู้ใ ดแต่ง ตั้ง
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่ง
แนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่งแนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่ง
แนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่งประพันธ์ เวารัมย์
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 

La actualidad más candente (20)

แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินกา...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินกา...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินกา...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินกา...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบเทศบาล
แนวข้อสอบเทศบาลแนวข้อสอบเทศบาล
แนวข้อสอบเทศบาล
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่ง
แนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่งแนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่ง
แนวข้อสอบท้องถิ่น 79 ข้อ เป็นแนวทางทุกตำแหน่ง
 
แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 

Similar a แนวข้อสอบ

ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxssuser7ea064
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqneakaratkk
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
แนวข้อสอบ กรมชลประทาน
แนวข้อสอบ กรมชลประทานแนวข้อสอบ กรมชลประทาน
แนวข้อสอบ กรมชลประทานYuwadee Kumyu
 

Similar a แนวข้อสอบ (8)

ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
วรรคตอน2
วรรคตอน2วรรคตอน2
วรรคตอน2
 
แนวข้อสอบ กรมชลประทาน
แนวข้อสอบ กรมชลประทานแนวข้อสอบ กรมชลประทาน
แนวข้อสอบ กรมชลประทาน
 
47 61
47 6147 61
47 61
 

แนวข้อสอบ

  • 1. แนวข้อ สอบ ลัก ษณะภาษา ข้อ สอบ ภาค ก กรมส่ง เสริม การปกครอง ส่ว นท้อ งถิ่น 1. คำา ในข้อ ใดแสดงลัก ษณะของภาษาไทยที่อ าจจะไม่ต รงกับ ลัก ษณะ ของภาษาคำา โดด ก. คลอง ข. ปู่ ค. หนาว ง. ยืน ตอบ ก. คลอง ลักษณะทั่วไปของภาษาคำาโดดประการหนึ่งคือ คำาแต่ละคำามีพยางค์เดียวและ ไม่มีเสียงควบกลำ้า แต่บางทีภาษาไทยก็ไม่เป็นเช่นนี้เสียทีเดียว ทั้งนี้เพราะคำาใน ภาษาไทยเป็นอันมากที่มีมากพยางค์และมีเสียงควบกลำ้า เช่น คลอง คราด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงฯลฯ 2. ข้อ ใดมิไ ด้เ รีย งคำา ตามแบบภาษาไทย ก. บาร์เบียร์ ข. เบียร์บาร์ ค. เบียร์ไทย ง. ฝาเบียร์ ตอบ ข. เบีย ร์บ าร์ การเรียงคำาตามแบบภาษาไทยนั้นจะต้องเรียงคำาตามตำาแหน่งหน้าที่คำาใดทำา หน้าที่ใด หมายความว่าอย่างไร ก็อยู่ที่การเรียงลำาดับคำา การเรียงคำาผิดที่ผิด ตำาแหน่งความหมายจะเปลี่ยนไปด้วย เช่น คำาขยายจะต้องอยู่หลังคำาที่ถูกขยาย ฯลฯ 3. คำา ในข้อ ใดมิไ ด้แ สดงเพศตามแบบไทย ก. เจ้าบ่าว ข. เจ้าสาว ค. บุรุษพยาบาล ง. อาจารย์หญิง ตอบ ง. อาจารย์ห ญิง ในภาษาคำาโดด เมื่อต้องการแสดงเพศของคำานามจะใช้คำาแสดงเพศมาประกอบ ข้างหน้า ข้างหลัง หรือประสมกันตามแบบคำาประสม เช่นเจ้าบ่าว – เจ้าสาว, พระเอก – นางเอก, บุรุษพยาบาล – นางพยาบาล ฯลฯ 4. คำา ในข้อ ใดแสดงมาลาตามแบบไทย ก. จะให้คะแนน ข. ไม่ให้คะแนน ค. ให้คะแนนแล้ว ง. น่าให้ คะแนน ตอบ ง. น่า ให้ค ะแนน การแสดงมาลาตามแบบไทย คือ การแสดงภาวะหรืออารมณ์ในขณะที่พูด เช่น ออกคำาสั่ง ขอร้อง อ้อนวอน คาดคะเน ฯลฯ โดยการนำาคำาอื่นมาช่วยประกอบคำา กริยาหรืออาจใช้กริยา ช่วย ได้แก่ คง พึง จง ต้อง อาจ โปรด ย่อม ฯลฯ หรือคำาอื่น ๆ ช่วยแสดง ได้แก่ น่า เถอะ เถิด เป็นต้น 5. ระบบเสีย งสูง ตำ่า แสดงให้เ ห็น อย่า งชัด เจนในข้อ ใด ก. ท่ามันจะเข้ามาด่าเราแน่ ข. ท่ามันจะเข้ามาตีเราแน่ ค. ท่ามันจะเข้ามารวนเราแน่ ง. ท่ามันจะเข้ามาท้าเราแน่ ตอบ ง. ท่า มัน จะเข้า มาท้า เราแน่ ระบบเสียงสูงตำ่า (เสียงวรรณยุกต์) ในภาษาไทย คือ การกำาหนดเสียงสูงตำ่าไว้ ตายตัวในคำาแต่ละคำา เพื่อต้องการแยกความหมาย โดยให้เสียงหนึ่งมีความหมาย อย่างหนึ่ง หากเปลี่ยนเสียงความหมายก็ย่อมเปลี่ยนไปด้วย เช่น ท่า = กิริยาอาการ ที่ปรากฏให้เห็น , ท้า = ชวนวิวาท ชวนขันสู้ ชวนให้ทดลองความรู้ความสามารถ ฯลฯ
  • 2. 6. ข้อใดใช้ตรวจสอบลักษณะของภาษาไทยได้ ก. กิน นอน นั่ง ยืน ข. เสวย นิทรา สถิต ค. กินเจ นอนเล่น ง. กินนอกกินใน นอนหลับทับสิทธิ์ ตอบ ก. กิน นอน นั่ง ยืน คำาพยางค์เดียวที่เป็นคำาพื้นฐานของภาษาไทย มักเป็นคำาที่ใช้เรียกสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนกิริยาอาการที่จำาเป็นแก่มนุษย์ เช่น คำากริยาที่สำาคัญและจำาเป็น ได้แก่ กิน นอน นั่ง ยืน เดิน วิ่ง พูด โดด โจน ฯลฯ 7. ที่ม าของคำา มากพยางค์ใ นภาษาไทยคือ อะไร ก. ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ข. ไทยสร้างขึ้นใหม่เอง ตามแบบไทย ค. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษาบางประการ ง. ทุกประการที่กล่าวแล้ว ตอบ ง. ทุก ประการที่ก ล่า วแล้ว คำามากพยางค์ในภาษาไทยอาจมีที่มา 3 ทาง คือ 1. ยืมมาจากภาษาอื่น เช่น บาลี สันสกฤต เขมร อังกฤษ ฯลฯ 2. สร้างขึ้นใหม่ตามแบบวิธีการสร้างคำาของไทย 3. เกิดคำาใหม่เพราะการเปลี่ยนแปลงทางภาษาบางประการ 8. ทำา อย่า งไรจึง จะเรีย กได้ว ่า ออกเสีย งสระ ก. ปล่อยลมผ่านหลอดลมโดยไม่กักที่ส่วนใดในปาก ข. ปล่อยลมผ่านหลอดลม แล้วกักที่เพดานปาก ค. ปล่อยลมผ่านหลอดลม แล้วกักที่โคนฟัน ง. ปล่อยลมผ่านหลอดลม แล้วกักที่ริมฝีปาก ตอบ ก. ปล่อ ยลมผ่า นหลอดลมโดยไม่ก ัก ที่ส ่ว นใดในปาก ความแตกต่างที่สำาคัญระหว่างการออกเสียงสระกับการออกเสียงพยัญชนะ คือ การออกเสียงสระนั้นลมหายใจที่พุ่งออกมาจากปอดสู่หลอดลมแล้วมาออกทางปาก จะไม่ถูกกักไว้ที่ส่วนใดในปากเลย แต่การออกเสียงพยัญชนะนั้นลมหายใจที่พุ่ง ออกมาจากหลอดลมจะถูกกักหรือถูกขัดขวางที่จุดใดจุดหนึ่งในปาก 9. สระเดี่ย วปรากฏในข้อ ใด ก. วัว ข. โค ค. ควาย ง. หมวย ตอบ ข. โค เสียงสระในภาษาไทยมี 28 เสียง แบ่งออกเป็น 1. สระเดี่ยว 18 เสียง ได้แก่ อะ อา อึ อื เออะ เออ (สระกลาง), อิ อี เอะ เอ แอะ แอ(สระหน้า), อุ อู โอะ โอ เอาะ ออ (สระหลัง) 2. สระผสม 10 เสียง ได้แก่ เอือะ เอือ เอาอาว ไอ อาย (สระกลาง), เอียะ เอีย (สระหน้า), อัวะ อัว (สระหลัง) 10. สระผสมไม่ป รากฏในข้อ ใด ก. เฉา ข. เฉียด ค. ฉับ ง. ฉาย ตอบ ค. ฉับ แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ข้อ สอบ ภาค ก กรมส่ง เสริม การปกครองส่ว นท้อ ง ถิ่น
  • 3. 1. พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ฉบับ ปัจ จุบ ัน ที่ใ ช้อ ยู่ เป็น ฉบับ ที่ เท่า ไร ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2542 ข. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2549 ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2552 ง. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2552 ตอบ ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2552 2. พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด พ.ศ. 2540 มีผ ลบัง คับ ใช้เ มื่อ ใด ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค. 3 วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. 7 วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา พรบ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 3. พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด พ.ศ. 2540 ฉบับ นี้ไ ม่ไ ด้ย กเลิก กฎหมายใด ก. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498 ข. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499 ค. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 93 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 ง. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 ตอบ ง. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 3 ให้ยกเลิก (1) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498 (2) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499 (3) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2499 (4) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2506 (5) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2509 (6) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2510 (7) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2511 (8) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2511 (9) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 93 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 (10) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2521 (11) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2523 4. ข้อ ใดไม่ใ ช่ค วามหมายของ “ราชการส่ว นท้อ งถิ่น อื่น ” ก. เทศบาล ข. สุขาภิบาล ค. กรุงเทพมหานคร ง. ทุกข้อรวมกัน ตอบ ง. ทุกข้อรวมกัน "ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น" หมายความว่า เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหาร ส่วนตำาบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัด ตั้งขึ้น นอกจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด
  • 4. 5. หมวด 1 ใน พ.ร.บ. องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด พ.ศ. 2540 นี้เ กี่ย ว กับ เรื่อ งอะไร ก. บททั่วไป ข. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ค. การกำากับดูแล ง. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ตอบ ก. บททั่วไป หมวด 1 บททั่วไป 6. ในจัง หวัด หนึ่ง ให้ม ีอ งค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยบุค คล ใดบ้า ง ก. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล ข. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, องค์การบริหารส่วนตำาบล ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ง. องค์การบริหารส่วนตำาบล, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ตอบ ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 7 ในจังหวัดหนึ่งให้มี องค์การบริหารส่วนจังหวัดประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัด และมีอำานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่น 7. จัง หวัด ใดมีร าษฎรไม่เ กิน 500,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห าร ส่ว นจัง หวัด กี่ค น ก. 12 คน ข. 24 คน ค. 26 คน ง. 32 คน ตอบ ข. 24 คน การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ถือเกณฑ์จำานวนราษฎร แต่ละจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการ เลือกตั้ง จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกินห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดได้ยี่สิบสี่คน จังหวัดใดมีราษฎรเกินห้าแสนคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้าน คน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบคน จังหวัดใด มีราษฎรเกินหนึ่งล้านคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้านห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบหกคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินหนึ่งล้านห้าแสน คนแต่ไม่เกินสองล้านคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ สี่สิบสองคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินสองล้านคนขึ้นไป ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบแปดคน 8. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,000,000 คน ให้ มีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 24 คน ข. 26 คน ค. 30 คน ง. 32 คน ตอบ ค. 30 คน
  • 5. คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 9. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,000,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,500,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 30 คน ข. 32 คน ค. 36 คน ง. 40 คน ตอบ ค. 36 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 10. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 32 คน ข. 36 คน ค. 40 คน ง. 42 คน ตอบ ง. 42 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น แนวข้อ สอบเก่า ภาค ก กรมส่ง เสริม การปกครอง ส่ว นท้อ งถิ่น ปี 2556 1. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 40 คน ข. 42 คน ค. 48 คน ง. 52 คน ตอบ ค. 48 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 2. อายุข องสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีว าระคราวละกี่ป ี ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 6 ปี ตอบ ค. 4 ปี พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 10 อายุของสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำาหนดคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง 3. มติใ นการถอดถอนสมาชิก ภาพของสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว น จัง หวัด นั้น โดยสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด นั้น โดยสมาชิก ต้อ งมีเ สีย งเท่า ใด ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ข. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ตอบ ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 11 (7)(8) (7) สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำาแหน่ง โดยเห็นว่ามีความ ประพฤติในทางที่จะนำามาซึ่งความเสื่อมเสียหรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือกระทำาการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัด โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำานวนไม่น้อยกว่า หนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด เท่าที่มีอยู่ เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา และมติดังกล่าวต้องมี คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า
  • 6. สามในสี่ของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติ (8) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีจำานวนไม่น้อย กว่าสามในสี่ของจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดผู้ใดไม่สมควรดำารงตำาแหน่งต่อไปตามกฎหมาย ว่าด้วย การลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น 4. ราษฎรผู้ม ีส ิท ธิเ ลือ กตั้ง ในเขตองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีจ ำา นวน เท่า ใดของผู้ม ี สิทธิเลือกตั้งมาลงคะแนนเสียง เพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้องถิ่น ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 2 ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ตอบ ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 5. เมื่อ มีข ้อ สงสัย เกี่ย วกับ สมาชิก ภาพของสมาชิก สภาองค์ก ารบริห าร ส่ว นจัง หวัด ผู้ใ ดสิ้น สุด ลงคำา วิน ิจ ฉัย ของผู้ใ ดถือ ว่า เป็น ที่ส ุด ก. นายกรัฐมนตรี ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด ค. คณะรัฐมนตรี ง. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล ตอบ ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 6. สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยใครบ้า ง ก. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 1 คน ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน ค. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 3 คน ง. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 4 คน ตอบ ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 17 ให้สภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหนึ่ง และรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด สองคน 7. เมื่อ ตำา แหน่ง ประธานว่า งลงต้อ งมีก ารเลือ กประธานสภาภายในกี่ว ัน นับ แต่ต ำา แหน่ง ว่า งลง ก. ภายในสิบห้าวัน ข. ภายในสามสิบวัน ค. ภายในสี่สิบห้าวัน ง. ภายในหกสิบวัน ตอบ ก. ภายในสิบห้าวัน พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 19 เมื่อตำาแหน่ง ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้มีการเลือกประธานสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แล้วแต่ กรณี แทนตำาแหน่งที่ว่างภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตำาแหน่งนั้นว่างลง
  • 7. 8. เมื่อ ประธานสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด และรองประธานสภา ไม่อ ยู่ใ นที่ป ระชุม ให้ด ำา เนิน การ อย่า งไร ก. ผูอาวุโสที่สุดเป็นประธานชั่วคราว ้ ข. คัดเลือกกันเองภายในที่ ประชุม ค. เลื่อนการประชุมออกไป ง. ผู้มีตำาแหน่งสูงสุดเป็น ประธานชั่วคราว ตอบ ข. คัดเลือกกันเองภายในที่ประชุม พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 21 เมื่อประธานสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งสอง คนไม่อยู่ในที่ประชุม ให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกกันขึ้นเองเป็น ประธานในที่ประชุมสำาหรับการประชุมคราวนั้น 9. ในปีห นึ่ง ๆ มีส มัย ประชุม สามัญ กี่ส มัย ก. หนึ่งสมัย ข. สองสมัย ค. สามสมัย ง. สี่สมัย ตอบ ข. สองสมัย พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 22 ในปีหนึ่งให้มีสมัย ประชุมสามัญสองสมัย 10. ผู้ว่าราชการจังหวัด กำาหนดให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ มาประชุมสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดครั้งแรกภายในกี่วัน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 45 วัน ตอบ ข. 15 วัน พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 22 ในปีหนึ่งให้มีสมัย ประชุมสามัญสองสมัย ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องกำาหนดให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้มา ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดครั้งแรก ภายในสิบห้าวันนับแต่วันประกาศ ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด วันเริ่มสมัยประชุมสามัญ ประจำาปี ให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำาหนดสมัยประชุมสามัญให้มีกำาหนดสี่ สิบห้าวัน แต่ถ้ามีกรณีจำาเป็น ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสั่งขยาย สมัยประชุมสามัญออกไปอีกได้ตามความจำาเป็นครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน 1. สมัย ประชุม สามัญ มีก ำา หนดขึ้น ภายในกี่ว ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ค. 45 วัน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 2. กรณีม ีเ หตุจ ำา เป็น ประธานสภาสามารถสั่ง ขยายสมัย ประชุม สามัญ ออกไปอีก ครั้ง ละไม่เ กิน กี่ว ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
  • 8. ตอบ ก. 15 วัน 3. ผู้เ รีย กประชุม และเป็น ผู้เ ปิด และปิด สมัย ประชุม คือ ใคร ก. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ง. คณะรัฐมนตรี ตอบ ก. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 24 ภายใต้บังคับมาตรา 22 ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นผู้เรียกประชุมสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดตามสมัยประชุมและเป็นผู้เปิดและปิดการประชุมในกรณีที่ไม่มี ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้เรียกประชุมและเป็นผู้เปิด และปิดการประชุม 4. จากข้อ ข้า งต้น ในกรณีไ ม่ม ีบ ุค คลดัง กล่า ว ให้ผ ู้ใ ดเป็น ผู้เ รีย ก ประชุม และเป็น ผู้เ ปิด และปิด การ ประชุม ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ตอบ ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 5. ผู้ใ ดสามารถเรีย กประชุม สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ตามกฎ เกณฑ์ท ี่ก ำา หนด ก. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัด ค. สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 25 เมื่อเป็นการจำาเป็น เพื่อประโยชน์แห่งองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประธานสภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดอาจเรียกประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นสมัยวิสามัญก็ได้ หรือ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด จำานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เท่าที่มีอยู่ อาจทำาคำาร้องยื่นต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอให้เปิด การประชุมสมัยวิสามัญได้ ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ทำาคำาร้องขอให้เปิดประชุมสภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดสมัยวิสามัญ ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเรียกประชุมสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมัยวิสามัญภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับคำาร้อง การประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมัยวิสามัญให้มีกำาหนดเจ็ดวัน แต่ถ้า จะขยายเวลาออกไปอีกต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดเท่าที่มีอยู่ และให้ขยายออกไปได้อีกไม่เกินเจ็ดวัน 6. ข้อ ใดกล่า วไม่ถ ูก ต้อ งเกี่ย วกับ การประชุม สมัย วิส ามัญ ก. ให้มีกำาหนดเจ็ดวัน
  • 9. ข. ขยายเวลาต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาด้วยเสียงสองในสาม ค. ถ้าต้องการขยายออกไปได้ไม่เกินเจ็ดวัน ง. ไม่มีขอใดกล่าวไม่ถูกต้อง ้ ตอบ ข. ขยายเวลาต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาด้วยเสียงสองในสาม คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 7. ข้อ บัง คับ การประชุม สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ให้เ ป็น ไปตาม ระเบีย บที่ใ ครกำา หนด ก. กระทรวงกลาโหม ข. กระทรวงมหาดไทย ค. กระทรวงยุติธรรม ง. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ตอบ ข. กระทรวงมหาดไทย พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 26 ข้อบังคับการ ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงมหาดไทย กำาหนด 8. ในการประชุม ลับ ของสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด นั้น ย่อ มมีไ ด้ เมื่อ จำา นวนสมาชิก ร้อ งขอมาไม่น ้อ ยกว่า เท่า ใด ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 2 ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ตอบ ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 30 การประชุมสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่จะได้กำาหนดไว้ใน ระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แต่ การประชุมลับย่อม มีได้เมื่อนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้องขอ หรือสมาชิกสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดรวมกันมีจำานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดซึ่งมาประชุมร้องขอ 9. ผู้ว ่า ราชการจัง หวัด ย่อ มมีส ิท ธิท ี่จ ะไม่ต อบคำา ถามด้ว ยเหตุผ ลใด ก. เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ ข. เกี่ยวกับนโยบายการบริหาร ราชการส่วนกลาง ค. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข. ตอบ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข. พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 32 สมาชิกสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดอาจเสนอข้อสอบถามต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ อันเกี่ยวกับอำานาจหน้าที่ของราชการ ส่วนภูมิภาคและให้หัวหน้าหน่วยงานราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดินซึ่งมาปฏิบัติหน้าที่ในเขตจังหวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ อันเกี่ยวกับ งานในหน้าที่ได้ ทั้งนี้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้าหน่วยงานราชการดัง กล่าวชี้แจงด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ภายในเวลาอันสมควรก็ได้ ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้าหน่วยงานราชการย่อมมีสิทธิที่จะไม่ตอบคำาถาม เมื่อเห็นว่าข้อเท็จจริงนั้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติหรือเกี่ยวกับ นโยบายของการบริหารราชการส่วนกลางที่ยังไม่สมควรเปิดเผย
  • 10. 10. บุค คลผู้ม ีส ิท ธิส มัค รรับ เลือ กตั้ง เป็น นายกองค์ก ารบริห ารจัง หวัด ต้อ งไม่ม ีล ัก ษณะต้อ งห้า มตามกฎหมายใด ก. กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ข. กฎหมายเลือกตั้งสภาท้องถิ่น ค. กฎหมายรัฐธรรมนูญ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ก. กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 35/1 บุคคลผู้มีสิทธิ สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดต้องมีคุณสมบัติ และไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้องถิ่น และต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ด้วย (1) มีอายุไม่ตำ่ากว่าสามสิบปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง (2) สำาเร็จการศึกษาไม่ตำ่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภา จังหวัด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา (3) ไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตำาแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น เลขานุการหรือที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถิ่นเพราะ เหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญา หรือกิจการที่กระทำากับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง 1. ในจัง หวัด หนึ่ง ให้ม ีอ งค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยบุค คล ใดบ้า ง ก. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล ข. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, องค์การบริหารส่วนตำาบล ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ง. องค์การบริหารส่วนตำาบล, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข้อ สอบ ภาค ก ท้อ งถิ่น พร้อ ม เฉลย,ข้อ สอบ ภาค ก ท้อ งถิ่น ระดับ 3 ตอบ ค. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด, นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัด พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 7 ในจังหวัดหนึ่ง ให้มองค์การบริหารส่วนจังหวัดประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและ ี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด และมีอำานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราช บัญญัตินหรือตามกฎหมายอื่น ี้ ข้อ สอบ ภาค ก ส่ว นท้อ งถิ่น ,ข้อ สอบ ภาค ก ท้อ งถิ่น 56,สอบ ภาค ข ท้อ งถิ่น 2. จัง หวัด ใดมีร าษฎรไม่เ กิน 500,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห าร ส่ว นจัง หวัด กี่ค น ก. 12 คน ข. 24 คน ค. 26 คน ง. 32 คน ภาค ก ท้อ งถิ่น ,ข้อสอบ ภาค ก อบต,สอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้อง ถิ่น ตอบ ข. 24 คน
  • 11. การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ถือเกณฑ์จำานวนราษฎร แต่ละจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการ เลือกตั้ง จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกินห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดได้ยี่สิบสี่คน จังหวัดใดมีราษฎรเกินห้าแสนคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้าน คน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบคน จังหวัดใด มีราษฎรเกินหนึ่งล้านคนแต่ไม่เกินหนึ่งล้านห้าแสนคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สามสิบหกคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินหนึ่งล้านห้าแสน คนแต่ไม่เกินสองล้านคน ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ สี่สิบสองคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินสองล้านคนขึ้นไป ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้สี่สิบแปดคน 3. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,000,000 คน ให้ มีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 24 คน ข. 26 คน ค. 30 คน ง. 32 คน เตรีย มสอบกรมส่ง เสริม การปกครองส่ว นท้อ งถิ่น ,คู่ม ือ เตรีย มสอบ ภาค ก ตอบ ค. 30 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 4. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,000,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 1,500,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 30 คน ข. 32 คน ค. 36 คน ง. 40 คน สอบภาค ก กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น,ผล สอบ กรม ส่งเสริม การ ปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตอบ ค. 36 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 5. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 32 คน ข. 36 คน ค. 40 คน ง. 42 คน ตอบ ง. 42 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 6. จัง หวัด ใดมีร าษฎรเกิน 1,500,000 คน แต่ไ ม่เ กิน 2,000,000 คน ให้ม ีก ารเลือ กตั้ง สมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ได้ก ี่ค น ก. 40 คน ข. 42 คน ค. 48 คน ง. 52 คน ตอบ ค. 48 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น 7. อายุข องสภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีว าระคราวละกี่ป ี ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 6 ปี ตอบ ค. 4 ปี พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 10 อายุของสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีกำาหนดคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
  • 12. 8. มติใ นการถอดถอนสมาชิก ภาพของสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว น จัง หวัด นั้น โดยสมาชิก สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด นั้น โดยสมาชิก ต้อ งมีเ สีย งเท่า ใด ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ข. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ตอบ ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 11 (7)(8) (7) สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีมติให้พ้นจากตำาแหน่ง โดยเห็นว่ามีความ ประพฤติในทางที่จะนำามาซึ่งความเสื่อมเสียหรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือกระทำาการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัด โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำานวนไม่น้อยกว่า หนึ่งในสามของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้งหมด เท่าที่มีอยู่ เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณา และมติดังกล่าวต้องมี คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับแต่วันที่สภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดมีมติ (8) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีจำานวนไม่น้อย กว่าสามในสี่ของจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดผู้ใดไม่สมควรดำารงตำาแหน่งต่อไปตามกฎหมาย ว่าด้วย การลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น 9. สภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ประกอบด้ว ยใครบ้า ง ก. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 1 คน ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน ค. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 3 คน ง. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 4 คน ตอบ ข. ประธานสภา 1 คน , รองประธานสภา 2 คน พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 17 ให้สภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นประธานสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหนึ่ง และรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด สองคน 10. เมื่อ ตำา แหน่ง ประธานว่า งลงต้อ งมีก ารเลือ กประธานสภาภายในกี่ วัน นับ แต่ต ำา แหน่ง ว่า งลง ก. ภายในสิบห้าวัน ข. ภายในสามสิบวัน ค. ภายในสี่สิบห้าวัน ง. ภายในหกสิบวัน ตอบ ก. ภายในสิบห้าวัน พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 19 เมื่อตำาแหน่ง ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้มีการเลือกประธานสภา
  • 13. องค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด แล้วแต่ กรณี แทนตำาแหน่งที่ว่างภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตำาแหน่งนั้นว่างลง 1.ในกรณีท ี่ส ภาองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด มีส มาชิก สภาองค์ก าร บริห ารส่ว นจัง หวัด 48 คน ให้ แต่ง ตั้ง รองนายกองค์ก ารได้ไ ม่เ กิน กี่ค น ก. ไม่เกิน 2 คน ข. ไม่เกิน 3 คน ค. ไม่เกิน 4 คน ง. ไม่เกิน 5 คน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เปิดสอบ 2555,กรมส่งเสริมการปกครองท้อง ถิ่น เปิดสอบ ภาค ก ตอบ ข. ไม่เกิน 3 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น กรมส่ง เสริม การปกครองท้อ งถิ่น เปิด สอบ ภาค ก,สอบกรมส่ง เสริม การ ปกครองท้อ งถิ่น 2. นายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด แต่ง ตั้ง เลขานุก ารและที่ป รึก ษาที่ มิใ ช่ส มาชิก สภาได้ไ ม่เ กิน กี่ค น ก. ไม่เกิน 3 คน ข. ไม่เกิน 4 คน ค. ไม่เกิน 5 คน ง. ไม่เกิน 6 คน ตอบ ค. ไม่เกิน 5 คน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น ข้อสอบคนท้องถิ่น,ชุมชนคนของท้องถิ่น,สอบงานท้องถิ่น,ชุมชนรวมคนท้อง ถิ่น,ชุมชนคนท้องถิ่น 3. ก่อ นนายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด เข้า รับ หน้า ที่ต ้อ งกระทำา สิ่ง ใด ก. กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ ข. เข้าพบนายกรัฐมนตรี ค. ปฏิญาณตน ง. แถลงนโยบาย ตอบ ง. แถลงนโยบาย พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 35/4 ก่อนนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดเข้ารับหน้าที่ ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรียกประชุมสภาองค์ การบริหารส่วนจังหวัดเพื่อให้นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแถลงนโยบายต่อ สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดโดยไม่มีการลงมติ ทั้งนี้ ภายในสามสิบวันนับแต่วัน ประกาศผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 4. จากข้อ ข้า งต้น จะต้อ งกระทำา ภายในกี่ว ัน นับ แต่ว ัน ประกาศผลการ เลือ กตั้ง นายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 60 วัน ชุมชนคนของท้องถิ่น,สอบงานท้องถิ่น,ชุมชนรวมคนท้องถิ่น,ชุมชนคนท้องถิ่น แบ่งปัน ตอบ ค. 30 วัน คำาอธิบายดังข้อข้างต้น สอบท้อ งถิ่น ภาค ก 2555,สอบท้อ งถิ่น 56,หนัง สือ สอบท้อ งถิ่น ,กรมส่ง เสริม การปกครองท้อ งถิ่น 5. จากข้อ ข้า งต้น หากนายกองค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด ไม่ส ามารถ กระทำา การดัง กล่า วได้ใ ห้ท ำา อย่า งไร
  • 14. ก. บอกกล่าวแก่สมาชิก ข. ทำาเป็นหนังสือส่งให้ สมาชิกทราบ ค. ทำาหนังสือแจงแก่นายกเพื่ออธิบายเหตุผล ง. กระทำาการหลังจากนั้น ไม่เกิน 15 วัน ตอบ ข. ทำาเป็นหนังสือส่งให้สมาชิกทราบ พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 35/4 (วรรค 4) หากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดไม่สามารถแถลงนโยบายต่อสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดได้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งให้นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดจัดทำานโยบายแจ้ง เป็นหนังสือส่งให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทุกคนภายในเจ็ดวัน โดยให้นำาวิธีการแจ้งคำาสั่งทางปกครองเป็นหนังสือตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่านายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้แถลงนโยบายต่อสภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดแล้ว สอบท้อ งถิ่น ภาค ก 2555,สอบท้อ งถิ่น 56,หนัง สือ สอบท้อ งถิ่น ,กรมส่ง เสริม การปกครองท้อ งถิ่น 6. พ.ร.บ.ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น ฉบับ ที่ใ ช้อ ยู่เ ป็น ฉบับ พ.ศ. ใด ก. พ.ศ. 2542 ข. พ.ศ. 2543 ค. พ.ศ. 2544 ง. พ.ศ. 2545 แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ,ข้อ สอบท้อ งถิ่น ,แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น พร้อ มเฉลย ตอบ ก. พ.ศ. 2542 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 1 พระราช บัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วน- ท้องถิ่น พ.ศ. 2542” แนวข้อสอบท้องถิ่น,ข้อสอบท้องถิ่น,แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น พร้อ มเฉลย 7. พ.ร.บ.ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น พ.ศ. 2542 ฉบับ นี้ม ีผ ล บัง คับ ใช้เ มื่อ ใด ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค. 3 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ,ข้อสอบท้องถิ่น,แนวข้อสอบท้องถิ่นพร้อมเฉลย ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 2 พระราช บัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 8. ผู้ร ัก ษาการตาม พ.ร.บ.ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น พ.ศ. 2542 คือ ใคร ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. นายกเทศบาลเมืองพัทยา
  • 15. ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ให้รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ 9. หมวด 1 ใน พ.ร.บ. ระเบีย บบริห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่น พ.ศ. 2542 เกี่ย วกับ เรื่อ งใด ก. การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. การบริหารงานบุคคลในเทศบาล ค. การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนตำาบล ง. การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา ตอบ ก. การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 1 การบริหาร งานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด 10. ในองค์ก ารบริห ารจัง หวัด แต่ล ะแห่ง นั้น แต่ล ะแห่ง นั้น จะประกอบ ด้ว ยหัว หน้า ส่ว นราชการประจำา จัง หวัด จำา นวนกี่ค น ก. 1 คน ข. 2 คน ค. 3 คน ง. 4 คน ตอบ ค. 3 คน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 5 ในองค์การ บริหารส่วนจังหวัดแต่ละแห่ง ให้มีคณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วน จังหวัดคณะหนึ่ง ประกอบด้วย (1) ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน (2) หัวหน้าส่วนราชการประจำาจังหวัดจำานวนสามคนจากส่วนราชการในจังหวัด นั้น ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศกำาหนดว่าเป็นส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ใน กรณีจำาเป็นเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล ผู้ว่าราชการจังหวัดจะประกาศ เปลี่ยนแปลงการกำาหนดส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเมื่อใดก็ได้ (3) ผู้แทนองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำานวนสี่คน ประกอบด้วย นายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดคัดเลือกจำานวนหนึ่งคน ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด และผู้แทน ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งคัดเลือกกันเองจำานวนหนึ่งคน (4) ผู้ทรงคุณวุฒิจำานวนสี่คนซึ่งคัดเลือกจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในด้านการบริหารงานท้องถิ่น ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านระบบราชการ ด้าน การบริหารและการจัดการหรือด้านอื่นที่จะเป็นประโยชน์แก่การบริหารงานบุคคล ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด แนวข้อ สอบ พรบ .สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล พ .ศ .2537 และแก้ไ ขเพิ่ม เติม ถึง (ฉบับ ที่ 6) พ .ศ . 2552 1. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บลฉบับ ที่ใ ช้อ ยู่เ ป็น ฉบับ พ.ศ.ใด ก. พ.ศ.2535 ข. พ.ศ. 2536 ค. พ.ศ. 2537 ง. พ.ศ. 2538 ตอบ ค. พ.ศ. 2537
  • 16. พระราชบัญญัติสภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่ม เติมถึงฉบับ 6 พ.ศ.2552 2. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ประกาศใช้เ มื่อ ใด ก. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2535 ข. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 ค. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2537 ง. 26 ธันวาคม พ.ศ. 2538 ตอบ ค. 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2537 ให้ไว้ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 3. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ฉบับ แก้ไ ขล่า สุด เป็น ฉบับ ที่เ ท่า ไร พ.ศ.ใด ก. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 ข. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2552 ค. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2546 ง. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 ตอบ ง. ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับ 6 พ.ศ.2552 4. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ฉบับ นี้ป ระกาศใช้เ มื่อ ใด ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค. 60 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. 90 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตอบ ง. 90 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำาหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537) 5. พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล ฉบับ นี้ย กเลิก กฎหมายใด ก. พรบ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ. 2535 ข. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ค. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 93 ลงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ข. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ให้ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 3) 6. “หน่ว ยการบริห ารราชการส่ว นท้อ งถิ่น ” หมายถึง ใคร ก. เทศบาล ข. สุขาภิบาล ค. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ “หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า เทศบาล สุขาภิบาลและ ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วน จังหวัด
  • 17. (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 4) 7. จากข้อ ข้า งต้น ราชการส่ว นท้อ งถิ่น อื่น ที่ม ีก ฎหมายจัด ตั้ง ขึ้น แต่ไ ม่ รวมถึง หน่ว ยงานใด ก. เทศบาล ข. สุขาภิบาล ค. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ง. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง ตอบ ค. องค์การบริหารส่วนจังหวัด “หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า เทศบาล สุขาภิบาลและ ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วน จังหวัด (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 4) 8. ผู้ใ ดรัก ษาการตาม พรบ.สภาตำา บลและองค์ก ารบริห ารส่ว นตำา บล นี้ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ข. นายกรัฐมนตรี ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. ประธานสภาตำาบล ตอบ ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มี อำานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติ การตามพระราชบัญญัตินี้ (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 5) 9. สภาตำา บลมีฐ านะเป็น อย่า งไร ก. หน่วยงานของรัฐ ข. รัฐวิสาหกิจ ค. นิติบุคคล ง. หน่วยงานอิสระ ตอบ ค. นิติบุคคล ในตำาบลหนึ่งให้มีสภาตำาบลสภาหนึ่งมีอำานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สภาตำาบลมีฐานะเป็นนิติบุคคล (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วน ตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 6) 10. สภาตำา บลประกอบด้ว ยสมาชิก โดยตำา แหน่ง ได้แ ก่ ก. กำานัน ข. ผู้ใหญ่บ้าน ค. แพทย์ประจำาตำาบล ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ สภาตำาบลประกอบด้วยสมาชิกโดยตำาแหน่งได้แก่ กำานัน ผู้ใหญ่บ้านของทุก หมู่บ้านในตำาบล และแพทย์ประจำาตำาบล และสมาชิกซึ่งได้รับเลือกตั้งจากราษฎรใน แต่ละหมู่บ้านในตำาบลนั้นเป็นสมาชิกสภาตำาบลหมู่บ้านละหนึ่งคน (พ.ร.บ.สภา ตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 7) 11. การจัด การเลือ กตั้ง สมาชิก สภาตำา บลเป็น อำา นาจหน้า ที่ข องใคร ก. นายอำาเภอ ข. นายกองค์การบริหารส่วนตำาบล ค. ประธานสภา ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด ตอบ ก. นายอำาเภอ ให้นายอำาเภอจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำาบลซึ่งได้รับเลือกตั้งตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในระเบียบของกระทรวงมหาดไทย (พ.ร.บ.สภาตำาบล และองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 10) 12. สมาชิก สภาตำา บลที่ไ ด้ร ับ เลือ กตั้ง มีว าระอยู่ใ นตำา แหน่ง คราวละกี่ ปี
  • 18. ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี ตอบ ค. 4 ปี สมาชิกสภาตำาบลซึ่งได้รับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตำาแหน่งคราวละสี่ปี นับแต่วัน เลือกตั้ง (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 11) 13.นายอำา เภอสามารถสั่ง ให้ส มาชิก สภาตำา บลพ้น จากตำา แหน่ง ได้ใ น กรณีใ ด ก. มิได้อยู่ประจำาในหมู่บ้านที่ได้รับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันเกิน 6 เดือน ข. ขาดประชุมติดต่อกันเกิน 3 ครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันควร ค. ขาดคุณสมบัตหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 9 ิ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ นายอำาเภอสั่งให้พ้นจากตำาแหน่ง เมื่อได้สอบสวนแล้วปรากฏว่าเป็นผู้ขาด คุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา 9 หรือมิได้อยู่ประจำา ในหมู่บ้านที่ได้รับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันเกินหกเดือน หรือขาดการประชุมสภา ตำาบลติดต่อกันสามครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การ บริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 12 ข้อ 6) 14. เมื่อ มีก ารสอบสวนแล้ว ปรากฏว่า สมาชิก สภาตำา บลบกพร่อ งใน ความประพฤติ ผู้ใ ดมีอ ำา นาจสั่ง ให้พ ้น จากตำา แหน่ง ได้ ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. นายกองค์การบริหารส่วนตำาบล ค. ประธานสภาตำาบล ง. คณะรัฐมนตรี ตอบ ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้พ้นจากตำาแหน่ง เมื่อได้สอบสวนแล้วปรากฏว่า บกพร่องในทางความประพฤติ (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 12 ข้อ 7) 15. มติข องสภาตำา บล สามารถให้ส มาชิก สภาตำา บลพ้น จากตำา แหน่ง ได้โ ดยมีม ติด ัง กล่า ว ต้อ งมีค ะแนนเสีย งไม่น ้อ ยกว่า เท่า ใด ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 2 ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ง. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ตอบ ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 สภาตำาบลมีมติให้พ้นจากตำาแหน่งโดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนำามา ซึ่งความเสื่อมเสียประโยชน์ของตำาบล มติดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสอง ในสามของ จำานวนสมาชิกสภาตำาบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ (พ.ร.บ.สภาตำาบลและองค์การ บริหารส่วนตำาบล พ.ศ.2537 มาตรา 12 ข้อ 5) [DOWNLOAD ฟรี !!] แนวข้อ สอบท้อ งถิ่น ภาค ก พร้อ มเฉลย 2556 คู่ม ือ สอบท้อ งถิ่น ภาค ข ข้อ สอบกรมส่ง เสริม การปกครองส่ว นท้อ งถิ่น 2556 ชุด ที่ 8 ข้อ สอบท้อ งถิ่น 2556,ข้อสอบคนท้องถิ่น,ชุมชนคนของท้อง ถิ่น,สอบงานท้องถิ่น,ชุมชนรวมคนท้องถิ่น,ชุมชนคนท้องถิ่นแบ่งปัน,คู่มือสอบท้อง ถิ่น,สอบท้องถิ่น 55,สอบท้อ งถิ่น ภาค ก 2556,กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เปิดสอบ 2556,กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
  • 19. 1. ในการจัด ระเบีย บบริห ารราชการส่ว นท้อ งถิ่น นั้น แบ่ง ได้แ บบใด ก. เทศบาล, สุขาภิบาล ข. อบจ., เทศบาล, สุขาภิบาล ค. อบจ., เทศบาล, สุขาภิบาล, ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำาหนด ง. อบจ., อบต., เทศบาล, สุขาภิบาล ข้อ สอบท้อ งถิ่น ระดับ 1,ข้อ สอบท้อ งถิ่น ระดับ 2,ข้อ สอบท้อ งถิ่น ระดับ 3 ตอบ ค. อบจ., เทศบาล, สุขาภิบาล, ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำาหนด ให้จดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้ ั (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (2) เทศบาล (3) สุขาภิบาล (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 70) 2. คณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการมีอ ัก ษรย่อ ว่า อย่า งไร ก. ก.พ. ข. ก.พ.ร. ค. กพ. ง. กพร. สอบภาค ก ท้อ งถิ่น ระดับ 3,แนวข้อสอบภาค ก ระดับ 3 ท้องถิ่น,แนวข้อสอ บท้องถิน 3 ตอบ ข. ก.พ.ร. ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ร.” (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 มาตรา 71/1) 3. คณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการ มีผ ู้ใ ดเป็น ประธาน ก. นายกรัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวง ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. คณะรัฐมนตรี ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรีกำาหนดเป็นรองประธานในกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 มาตรา 71/1 สมัค รสอบท้อ งถิ่น ,ข้อ สอบภาค ข ท้อ งถิ่น ,ขอข้อ สอบท้อ งถิ่น 4. กรรมการผู้ท รงคุณ วุฒ ิใ นคณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการ มี จำา นวนไม่เ กิน กี่ค น ก. ไม่เกินห้า ข. ไม่เกินเจ็ด ค. ไม่เกินเก้า ง. ไม่เกินสิบ ตอบ ง. ไม่เกินสิบ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไม่เกินสิบคน ซึ่ง คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง จากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การและ สังคมวิทยา อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน (พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 มาตรา 71/1) 5. จากข้อ ข้า งต้น ผู้ใ ดแต่ง ตั้ง