SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
วงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกโดยนัก
สถิติ ชื่อ Walter Shewhart ซึ่งได้พัฒนาจากการควบคุม
กระบวนการเชิงสถิติที่ Bell Laboratories ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ
ทศวรรษ 1930 เป็นที่รู้จักกันในชื่อ “วงจร Shewhart” เมื่อทศวรรษ
1950 ได้มีการเผยแพร่อย่างกว้างขวางโดย W.Edwards Deming
ปรมาจารย์ทางด้านการบริหารคุณภาพ หลายคนจึงเรียกวงจรนี้ว่า
“วงจร Deming” เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกโดยนักสถิติชื่อ Walter
Shewhart ซึ่งได้พัฒนาจากการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติที่ Bell
Laboratories ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อทศวรรษ 1930 เป็นที่รู้จัก
กันในชื่อ “วงจร Shewhart”
เมื่อทศวรรษ 1950 ได้มีการเผยแพร่อย่างกว้างขวางโดย
W.Edwards Deming ปรมาจารย์ทางด้านการบริหารคุณภาพ หลาย
คนจึงเรียกวงจรนี้ว่า “วงจร PDCA”
ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนของวงจร PDCA ประกอบด้วย
1. การวางแผน อย่างรอบคอบ
2. การปฏิบัติ อย่างค่อยเป็นค่อยไป
3. ตรวจสอบ ผลที่เกิดขึ้น วิธีการปฏิบัติใดมีประสิทธิผลที่สุด ก็จะ
จัดให้เป็นมาตรฐาน หากไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายได้
4. ขั้นตอนดาเนินงานที่เหมาะสม โดยการมองหาวิธีการปฏิบัติใหม่
หรือใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม
ขั้นตอนการวางแผน(Plan)
- ครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง
- พิจารณาว่ามีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูลใดบ้าง โดยมีการระบุวิธีการ
เก็บข้อมูลให้ชัดเจน
- วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้
- กาหนดทางเลือกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ข้อดีของการวางแผน
- ช่วยให้คาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคตได้
- ลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
- ช่วยให้รู้สภาพในปัจจุบัน เพื่อนาไปกาหนดสภาพที่ต้องการให้
เกิดขึ้นในอนาคต
การวางแผนมีอยู่ด้วยการ 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้
ประเภทที่1 การวางแผนเพื่ออนาคต
ประเภทที่ 2 การวางแผนเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนการปฏิบัติ(DO)
ขั้นตอนการปฏิบัติ คือการลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่
ได้กาหนดไว้ในขั้นตอนการวางแผน ในระหว่างการปฏิบัติต้อง
ตรวจสอบด้วยว่าได้ดาเนินไปในทิศทางที่ตั้งใจหรือไม่ พร้อมกับการ
ประสานงานหรือ สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ
ขั้นตอนการตรวจสอบ(Check)
ขั้นตอนการตรวจสอบ คือ การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงในแต่ละขั้นตอน สิ่งสาคัญต้องรู้ว่าจะตรวจสอบ
อะไรบ้าง บ่อยครั้งแค่ไหน ข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบจะเป็น
ประโยชน์สาหรับขั้นตอนต่อไป
แนวทางในการดาเนินการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินงาน ได้แก่
1.1 ขั้นการศึกษาข้อมูล
1.2 ขั้นการเตรียมงาน การเตรียมงานตามแผนพร้อมหรือไม่
1.3 ขั้นการดาเนินงาน มีบุคลากรและทรัพยากรหรือไม่
1.4 ขั้นตอนการประเมิน มีเครื่องมือและขั้นตอนที่เหมาะสม
2. ตรวจผลงานตามเกณฑ์ที่กาหนด
3. ตรวจสอบโดยใช้มาตรฐานที่กาหนด
4. ตรวจสอบความพึงพอใจ
5. การตรวจสอบคุณภาพทั่วทั้งองค์กร โดยดาเนินการดังนี้
- ตรวจสอบด้านบุคลากร
- ตรวจสอบขีดความสามารถที่เหมาะสมและสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ
ของวัสดุ
- ตรวจสอบวัตถุดิบมีความเพียงพอหรือมีมากเกินความจาเป็นหรือยัง
ใช้ไม่คุ้มค่า
- ตรวจสอบระบบการทางาน
- ตรวจสอบระบบการบริหาร
การจัดทารายงานผลการตรวจสอบ มีส่วนประกอบดังนี้
1. เป้ าหมายการตรวจสอบ
2. ข้อบ่งชี้ที่ใช้ในการตรวจสอบ
3. หลักเกณฑ์การประเมิน หรือวัดผล
4. ระยะเวลาที่ได้ดาเนินการตรวจสอบ
5. สถิติเปรียบเทียบผลการตรวจสอบ
6. ข้อจากัดในขณะที่ทาการตรวจสอบ
7. สรุปการตรวจสอบ
8. ข้อเสนอแนะแนวทางการตรวจสอบครั้งต่อไป
ขั้นตอนการดาเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ได้จากการ
ตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือกรณีที่ 1 ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่
วางไว้
กรณีที่ 2 ผลที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้
- มองหาทางเลือกใหม่ที่น่าจะเป็นไปได้
- ใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม
- ขอความช่วยเหลือจากผู้รู้
- เปลี่ยนเป้ าหมายใหม่
ประโยชน์ของ PDCA
1. การวางแผนงานก่อนการปฏิบัติงาน จะทาให้เกิดความพร้อม
เมื่อได้ปฏิบัติงานจริง
2. ทาให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้าหรือ
ทราบอุปสรรค์ล่วงหน้า ทาให้งานเกิดความราบรื่น เรียบร้อยนาไป
สู่เป้ าหมายที่กาหนดไว้
3. การตรวจสอบให้ได้ผลที่เที่ยงตรงเชื่อถือได้ ประกอบด้วย
3.1 ตรวจสอบจากเป้ าหมายที่กาหนด
3.2 มีเครื่องมือที่เชื่อถือได้
3.3 มีเกณฑ์การตรวจสอบที่ชัดเจน
3.4 มีกาหนดเวลาการตรวจสอบที่แน่นอน
3.5 บุคลากรที่ทาการตรวจสอบต้องได้รับการยอมรับจาก
ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4 การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใด เมื่อ
มีการปรับปรุงแก้ไขคุณภาพก็จะเกิดขึ้น
ดังนั้น วงจร PDCA จึงเรียกว่า วงจรบริหารงานคุณภาพ การ
ประยุกต์ใช้วงจร PDCAสามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกเรื่อง นับตั้งแต่
กิจกรรมส่วนตัว เช่นการปรุงอาหาร การเดินทางไปทางานในแต่ละ
วัน การตั้งเป้ าหมายชีวิต การดาเนินงานในระดับบริษัท จนกระทั่ง
ระดับสถาบันการศึกษา หรือนามาใช้ในระบบประกันคุณภาพ
การศึกษา

Más contenido relacionado

Más de เดอะ เกิล์ล (6)

ประวัติส่วนตัว II
ประวัติส่วนตัว IIประวัติส่วนตัว II
ประวัติส่วนตัว II
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
PDCA
PDCAPDCA
PDCA
 
พลเมืองอาเซียน
พลเมืองอาเซียนพลเมืองอาเซียน
พลเมืองอาเซียน
 
About Me II
About Me IIAbout Me II
About Me II
 
About Me.
About Me.About Me.
About Me.
 

PDCA II

  • 1. วงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกโดยนัก สถิติ ชื่อ Walter Shewhart ซึ่งได้พัฒนาจากการควบคุม กระบวนการเชิงสถิติที่ Bell Laboratories ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ ทศวรรษ 1930 เป็นที่รู้จักกันในชื่อ “วงจร Shewhart” เมื่อทศวรรษ 1950 ได้มีการเผยแพร่อย่างกว้างขวางโดย W.Edwards Deming ปรมาจารย์ทางด้านการบริหารคุณภาพ หลายคนจึงเรียกวงจรนี้ว่า “วงจร Deming” เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกโดยนักสถิติชื่อ Walter Shewhart ซึ่งได้พัฒนาจากการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติที่ Bell Laboratories ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อทศวรรษ 1930 เป็นที่รู้จัก กันในชื่อ “วงจร Shewhart” เมื่อทศวรรษ 1950 ได้มีการเผยแพร่อย่างกว้างขวางโดย W.Edwards Deming ปรมาจารย์ทางด้านการบริหารคุณภาพ หลาย คนจึงเรียกวงจรนี้ว่า “วงจร PDCA” ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนของวงจร PDCA ประกอบด้วย 1. การวางแผน อย่างรอบคอบ
  • 2. 2. การปฏิบัติ อย่างค่อยเป็นค่อยไป 3. ตรวจสอบ ผลที่เกิดขึ้น วิธีการปฏิบัติใดมีประสิทธิผลที่สุด ก็จะ จัดให้เป็นมาตรฐาน หากไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายได้ 4. ขั้นตอนดาเนินงานที่เหมาะสม โดยการมองหาวิธีการปฏิบัติใหม่ หรือใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม ขั้นตอนการวางแผน(Plan) - ครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง - พิจารณาว่ามีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูลใดบ้าง โดยมีการระบุวิธีการ เก็บข้อมูลให้ชัดเจน - วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้ - กาหนดทางเลือกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
  • 3. ข้อดีของการวางแผน - ช่วยให้คาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคตได้ - ลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ - ช่วยให้รู้สภาพในปัจจุบัน เพื่อนาไปกาหนดสภาพที่ต้องการให้ เกิดขึ้นในอนาคต การวางแผนมีอยู่ด้วยการ 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ ประเภทที่1 การวางแผนเพื่ออนาคต ประเภทที่ 2 การวางแผนเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ขั้นตอนการปฏิบัติ(DO) ขั้นตอนการปฏิบัติ คือการลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ ได้กาหนดไว้ในขั้นตอนการวางแผน ในระหว่างการปฏิบัติต้อง ตรวจสอบด้วยว่าได้ดาเนินไปในทิศทางที่ตั้งใจหรือไม่ พร้อมกับการ ประสานงานหรือ สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ
  • 4. ขั้นตอนการตรวจสอบ(Check) ขั้นตอนการตรวจสอบ คือ การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงในแต่ละขั้นตอน สิ่งสาคัญต้องรู้ว่าจะตรวจสอบ อะไรบ้าง บ่อยครั้งแค่ไหน ข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบจะเป็น ประโยชน์สาหรับขั้นตอนต่อไป แนวทางในการดาเนินการตรวจสอบ 1. ตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินงาน ได้แก่ 1.1 ขั้นการศึกษาข้อมูล 1.2 ขั้นการเตรียมงาน การเตรียมงานตามแผนพร้อมหรือไม่ 1.3 ขั้นการดาเนินงาน มีบุคลากรและทรัพยากรหรือไม่ 1.4 ขั้นตอนการประเมิน มีเครื่องมือและขั้นตอนที่เหมาะสม 2. ตรวจผลงานตามเกณฑ์ที่กาหนด 3. ตรวจสอบโดยใช้มาตรฐานที่กาหนด
  • 5. 4. ตรวจสอบความพึงพอใจ 5. การตรวจสอบคุณภาพทั่วทั้งองค์กร โดยดาเนินการดังนี้ - ตรวจสอบด้านบุคลากร - ตรวจสอบขีดความสามารถที่เหมาะสมและสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ ของวัสดุ - ตรวจสอบวัตถุดิบมีความเพียงพอหรือมีมากเกินความจาเป็นหรือยัง ใช้ไม่คุ้มค่า - ตรวจสอบระบบการทางาน - ตรวจสอบระบบการบริหาร การจัดทารายงานผลการตรวจสอบ มีส่วนประกอบดังนี้ 1. เป้ าหมายการตรวจสอบ 2. ข้อบ่งชี้ที่ใช้ในการตรวจสอบ 3. หลักเกณฑ์การประเมิน หรือวัดผล
  • 6. 4. ระยะเวลาที่ได้ดาเนินการตรวจสอบ 5. สถิติเปรียบเทียบผลการตรวจสอบ 6. ข้อจากัดในขณะที่ทาการตรวจสอบ 7. สรุปการตรวจสอบ 8. ข้อเสนอแนะแนวทางการตรวจสอบครั้งต่อไป ขั้นตอนการดาเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ได้จากการ ตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือกรณีที่ 1 ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่ วางไว้ กรณีที่ 2 ผลที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ - มองหาทางเลือกใหม่ที่น่าจะเป็นไปได้ - ใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม - ขอความช่วยเหลือจากผู้รู้ - เปลี่ยนเป้ าหมายใหม่
  • 7. ประโยชน์ของ PDCA 1. การวางแผนงานก่อนการปฏิบัติงาน จะทาให้เกิดความพร้อม เมื่อได้ปฏิบัติงานจริง 2. ทาให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้าหรือ ทราบอุปสรรค์ล่วงหน้า ทาให้งานเกิดความราบรื่น เรียบร้อยนาไป สู่เป้ าหมายที่กาหนดไว้ 3. การตรวจสอบให้ได้ผลที่เที่ยงตรงเชื่อถือได้ ประกอบด้วย 3.1 ตรวจสอบจากเป้ าหมายที่กาหนด 3.2 มีเครื่องมือที่เชื่อถือได้ 3.3 มีเกณฑ์การตรวจสอบที่ชัดเจน 3.4 มีกาหนดเวลาการตรวจสอบที่แน่นอน 3.5 บุคลากรที่ทาการตรวจสอบต้องได้รับการยอมรับจาก ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • 8. 4 การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใด เมื่อ มีการปรับปรุงแก้ไขคุณภาพก็จะเกิดขึ้น ดังนั้น วงจร PDCA จึงเรียกว่า วงจรบริหารงานคุณภาพ การ ประยุกต์ใช้วงจร PDCAสามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกเรื่อง นับตั้งแต่ กิจกรรมส่วนตัว เช่นการปรุงอาหาร การเดินทางไปทางานในแต่ละ วัน การตั้งเป้ าหมายชีวิต การดาเนินงานในระดับบริษัท จนกระทั่ง ระดับสถาบันการศึกษา หรือนามาใช้ในระบบประกันคุณภาพ การศึกษา