SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
รายงาน
เรื่อง การสือสารข้อมูล
่
จัดทาโดย
1. นางสาวจุฑามณี

มัธยม เลขที่ 12 ชัน ม.4/1
้
เสนอ

นางจุฑารัตน์

ใจบุญ

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายวิชา ง31102

ภาคเรียนที่ 2/2556

โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอ วังวิเศษ จังหวัด ตรัง
คำนำ
รายงานเรื่ องการสื่ อสารข้อมูล เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
รายวิชา ง31102 รายงานเล่มนี้ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับ การสื่ อสารข้อมูล การส่ง การรับ รู ปแบบ
การส่ง และรายละเอียดต่างๆ เป็ นรายงานประกอบการเรี ยนรู้ ซึ่ งจัดทาขึ้นให้ผที่สนใจได้ศึกษา
ู้
หวังว่าความรู้น้ ีคงเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจ
ู้
อนึ่ง หากมีขอผิดพลาดใดๆ ขอ อภัย ไว้ ณ โอกาสนี้ดวย
้
้

จุฑามณี มัธยม
ผูจดทา
้ั
สำรบัญ
เรื่อง

หน้ ำ

ความหมายของการสื่ อสารข้อมูล

1

องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ

1

ข่ายการสื่ อสารข้อมูล

2

องค์ประกอบพื้นฐาน

2

วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่ อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การ

3

ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล

3

ชนิดของการสื่ อสารข้อมูล

4

รู ปแบบการสื่ อสารข้อมูล (MODES OF DATA TRANSMISSION)

5

การใช้เทคโนโลยีการสื่ อสาร

5

อ้างอิง

7
กำรสื่ อสำรข้ อมูล
กำรสื่อสำรข้ อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรื อแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน
ระหว่างผูส่งและผูรับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรื อคอมพิวเตอร์เป็ นตัวกลางใน
้
้
การส่งข้อมูล เพื่อให้ผส่งและผูรับเกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน
ู้
้
วิธีกำรส่ งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณ หรื อรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผูรับ และเมื่อถึง
้
ปลายทางหรื อผูรับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาให้อยูในรู ปที่มนุษย์สามารถที่จะเข้าใจได้ ใน
้
่
ระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือสิ่งรบกวน(Noise)จากภายนอกทาให้ขอมูลบางส่ วนเสียหาย
้
หรื อผิดเพี้ยนไปได้ซ่ึงระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิงมากก็อาจจะทาให้เกิด
่
สิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทาให้
เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
องค์ประกอบขั้นพืนฐำนของระบบ
้
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็ นส่วนประกอบได้
ดังต่อไปนี้
1. ผู้ส่งข่ ำวสำรหรือแหล่งกำเนิดข่ ำวสำร(source)
อาจจะเป็ นสัญญาณต่างๆเช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็ นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อน
อาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรื อท่าทางต่างๆก็นบว่าเป็ นแหล่งกาเนิดข่าวสารจัดอยูในหมวดหมู่น้ ีเช่นกัน
ั
่
2. ผู้รับข่ ำวสำรหรือจุดหมำยปลำยทำงของข่ ำวสำร (sink)
ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผส่งข่าวสาร หรื อแหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การ
ู้
ติดต่อสื่อสารบรรลุวตถุประสงค์ ผูรับสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้นๆถ้าผูรับ
ั
้
้
สาร หรื อจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็ จ กล่าวคือไม่มี
การสื่อสารเกิดขึ้นนันเอง
่
3. ช่ องสัญญำณ(channel)
หมายถึง สื่อกลางหรื อตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่านอาจจะเป็ นอากาศ สายนาสัญญาณต่างๆ
หรื อแม้กระทังของเหลว เช่น น้ า น้ ามัน เป็ นต้น ปรี ยบเสมือนเป็ นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไป
่
ยังอีกฝั่งหนึ่ง
4. กำรเข้ ำรหัส(encoding)
เป็ นการช่วยให้ผส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมายจึงมีความ
ู้
้
จาเป็ นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยูในรู ปพลังงาน ที่พร้อมจะ
่
ส่งไปในสื่อกลาง ทางผูส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผูส่งและผูรับ หรื อมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึง
้
้
้
เกิดขึ้นได้
5. กำรถอดรหัส(decoding)
หมายถึง การที่ผรับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยูในรู ปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้
ู้
่
ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรื อรหัสตรงกัน
6. สัญญำณรบกวน(noise)
เป็ นสิ่งที่มีอยูในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรื อรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ท้งทางด้านผูส่งข่าวสาร ผูรับ
่
ั
้
้
ข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมุติให้ทางด้านผูส่งข่าวสารและผูรับข่าวสาร
้
้
ไม่มีความผิดพลาดตาแหน่ง ที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็ นที่ตวกลางหรื อช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณ
ั
รบกวนด้านผูส่งข่าวสารและด้านผูรับข่าวสาร ในทางปฎิบติ มักจะใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่
้
้
ั
ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียงขึ้นแล้วค่อยดาเนินการ เช่นการเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็ นต้น
ิ่
ข่ ำยกำรสื่อสำรข้ อมูล
หมำยถึง การรับส่งข้อมูล หรื อสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยระบบการส่งข้อมูลทาง
คลื่นไฟฟ้ าหรื อแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็ นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทัวไปเรี ยกว่า ข่ ำยกำรสื่อสำรข้อมูล
่
(Data Communication Networks)
องค์ ประกอบพืนฐำน
้
1. หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit
2. หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
3. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel)
วัตถุประสงค์หลักของกำรนำกำรสื่อกำรข้อมูลมำประยุกต์ใช้ ในองค์กำรประกอบด้ วย
1. เพื่อช่วยปรับปรุ งการบริ หารขององค์การ
2. เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล
3. เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว
4. เพื่อลดเวลาการทางาน
5. เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร
6. เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ
ประโยชน์ ของกำรสื่อสำรข้ อมูล
1. กำรจัดเก็บข้อมูลได้ง่ำย และสื่อสารได้รวดเร็ ว การจัดเก็บซึ่อยูในรู ปของสัญญาณ
่
อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึ่ง สามารถ บันทึก
ข้อมูล ได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา120
ตัวอักษรต่อวินาทีแล้วจะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ตองเสียเวลานังป้ อนข้อมูลเหล่านั้น
้
่
ซ้ าใหม่อีก
2. ควำมถูกต้องของข้ อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด
หนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการ
รับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ขอมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ ทาการส่งใหม่ หรื อกรณี ที่ผดพลาด
้
ิ
ไม่มากนัก ฝ่ ายผูรับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถกต้องได้
้
ู
3. ควำมเร็วของกำรทำงำน โดยปกติสญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็ วเท่าแสง ทาให้การใช้
ั
คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรื อค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่
สามารถทาได้รวดเร็ ว ความรวดเร็วของระบบทาให้ผใช้สะดวกสบายยิงขึ้นเช่น บริ ษทสายการบินทุกแห่ง
ู้
ั
่
สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองที่นงของสายการบินสามารถทาได้ทนที
ั่
ั
4. ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็ นเครื อข่าย เพื่อส่งหรื อสาเนาข้อมูล ทาให้
ราคาต้นทุนของการใช้ขอมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กนและกัน
้
ั
ผ่านทางสายโทรศัพท์ได้
ชนิดของกำรสื่อสำรข้อมูล
วิธีกำรสื่อสำรข้อมูล (DATA TRANSMISSION)
ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รู ปแบบคือ การสื่อสารแบบอนุกรม (serial data transmission)
และการสื่อสารแบบขนาน (parallel data transmission) การสื่อสารแต่ละรู ปแบบมีรายละเอียดดังนี้
1. กำรสื่อสำรข้ อมูลแบบอนุกรม (serail data transmission)
เป็ นการส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้กบสื่อนา
ั
ข้อมูลที่มีเพียง1ช่องสัญญาณได้ สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคาถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มีหลาย
ช่องสัญญาณ และเนื่องจากการสื่อสารแบบอนุกรมมีการส่งข้อมูล
ได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูลประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิต

2. กำรสื่อสำรข้ อมูลแบบขนำน (parallel data transmission)
เป็ นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ วิธีน้ ีจะเป็ นวิธีการ
ส่งข้อมูลที่เร็ วกว่าการส่งข้อมูลแบบอนุกรมจากรู ป เป็ นการแสดงการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว ที่
มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่งข้อมูลครั้งละ 8 บิตพร้อมกัน
รูปแบบกำรสื่อสำรข้อมูล (MODES OF DATA TRANSMISSION)
รู ปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1.กำรส่ งข้ อมูลแบบไม่ประสำนจังหวะ (asynchronous transmission)
เป็ นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจงหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็ น
ั
ชุดๆมีช่องว่าง (gap) อยูระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็ นชุดๆเมื่อเริ่ มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุด
่
จะมีสีญญาณบอกจุดเริ่ มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต (start bit) และมีสญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1
ั
บิต (stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูล
จะมีลาดับ ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่ มต้นขนาด 1 บิตข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต
ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบไม่ประสาน
จังหวะ เช่น การส่งข้อมูล ของแป้ นพิมพ์ และโมเด็ม เป็ นต้น
2.กำรส่ งข้ อมูลแบบประสำนจังหวะ (synchronous transmission)
เป็ นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลกษณะเป็ นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็ นจังหวะ โดย
ั
ใช้สญญาณนาฬิกาเป็ นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้นการส่งข้อมูลวิธีน้ ีจะไม่มีช่องว่าง(gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละ
ั
ชุดและไม่มีสญญาณบอกจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้นสุดการส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะนิยมใช้กบการส่งข้อมูล
ั
ั
ของระบบคอมพิวเตอร์ ที่มการส่งข้อมูล ปริ มาณมากๆ ด้วยความเร็ วสูง
ี
กำรใช้ เทคโนโลยีกำรสื่อสำร
กำรสื่อสำรข้ อมูลและเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ ในยุคปัจจุบน ได้ตะหนักถึง ความสาคัญในการนา
ั
เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารมาช่วยงานเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ซึ้งการประยุกต์
เทคโนโลยีการสื่อสารในองค์การมีดงนี้
ั
ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail)
การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์
ไปยังบุคคลอื่น โดยการสื่อสารนี้บุคคลที่ทาการสื่อสารจะต้องมีชื่อและที่อยูในรู ปแบบอีเมล์ แอดเดรส
่
โทรสำร (Facsimile หรือ Fax)
เป็ นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็ นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรื อการพิมพ์ รู ปภาพ หรื อกราฟต่างๆ จาก
เครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่มีอุปกรณ์ที่เรี ยกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเครื่ องรับ
โทรสาร การส่งข้อความในลักษณะนี้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและมีประสิทธิภาพสูงกว่าการ ส่งข้อมูลผ่าน
เครื่ องโทรสารธรรมดา
วอยซ์ เมล (Voice Mail)
เป็ นการส่งข้อความเป็ นเสียงพูดให้กลายเป็ นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผานระบบ เครื อข่ายการสื่อสาร
่
ข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บนทึกเสียงที่เรี ยกว่าว อยซ์เมล์บ็อกซ์ เมื่อผูรับเปิ ดฟังข้อความดังกล่าวก็
ั
้
จะถูกแปลงกลับไปอยูในรู ปแบบของเสียง พูดตามเดิม
่
กำรประชุมทำงไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing)
เป็ นการสื่อสารข้อมูลโดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง ในการใช้ Video
Conferencing จะต้องมีอุปกรณ์สาหรับการบันทึกภาพและอุปกรณ์บนทึกเสียง โดยที่ภาพและเสียงที่ส่งไป
ั
นั้นอาจเป็ นภาพเคลื่อนไหวที่มีเสียงประกอบได้ การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ช่วยประหยัดเวลาและ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ประชุม
กำรระบุตำแหน่งด้ วยดำวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs)
เป็ นระบบที่ใช้วิเคราะห์และระบุตาแหน่งของคน สัตว์ หรื อสิ่งของที่เป็ นเป้ าหมายของระบบ การ
วิเคราะห์ตาแหน่งทาได้โดยใช้ดาวเทียมระบุตาแหน่ง ปัจจุบนมีการนาไปใช้ในระบบการเดินเรื อ เครื่ องบิน
ั
และเริ มพัฒนามาใช้เพื่อระบุตาแหน่งของรถยนต์ดวย
้
กรุ๊ปแวร์ (groupware)
เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบุคคลให้สามารถทางาน ร่ วมกัน การใช้
ทรัพยากรและสารสนเทศร่ วมกันโดยผ่านระบบเครื อข่าย
กำรโอนเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer : EFT)
ปัจจุบนผูใช้สามารถชาระค่าสินค้าและบริ การโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ จากบัญชีธนาคารที่
ั ้
ให้บริ การโอนเงินอัตโนมัติดวยเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทน สมัย กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้กนเป็ นประจา ได้แก่
้
ั
ั
การโอนเงินผ่านทางตู้ ATM
กำรแลกเปลียนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI)
่
เป็ นระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบสังสินค้า ใบส่งของ ใบเรี ยกเก็บเงิน
่
การระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่นความถีวิทยุ(RFID)
ั
้
่
เป็ นระบบระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่นความถี่วิทยุ ปัจจุบนมีการนา RFID ไปประยุกต์ใช้งาน
ั
้
ั
หลากหลายประเภท เช่น ห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใช้ในฟาร์มเลี้ยงสุกร
บัตรทางด่วน บัตรรถไฟฟ้ าใต้ดิน ระบบหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์
อ้ำงอิง
http://blog.eduzones.com/jipatar/85916
http://www.chakkham.ac.th/technology/network/
datacommu.html

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 
สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123Anupon Jingjit
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 

La actualidad más candente (20)

เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123สื่อสารข้อมูล123
สื่อสารข้อมูล123
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
รายงานการสื่อสารข้อมูล
รายงานการสื่อสารข้อมูลรายงานการสื่อสารข้อมูล
รายงานการสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่าย
เครือข่ายเครือข่าย
เครือข่าย
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 

Destacado

การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์veera007
 
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์Chittraporn Phalao
 
การสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลการสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลelecthoeng
 
สรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
สรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอลสรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
สรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอลThitinan607
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารsariya25
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

Destacado (10)

การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
 
การสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลการสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูล
 
สรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
สรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอลสรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
สรุปองค์ความรู้หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
หน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงานหน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Similar a ระบบการสื่อสารข้อมูล

2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูลMeaw Sukee
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์L'Lig Tansuda Yongseng
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 

Similar a ระบบการสื่อสารข้อมูล (20)

การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 

ระบบการสื่อสารข้อมูล

  • 1. รายงาน เรื่อง การสือสารข้อมูล ่ จัดทาโดย 1. นางสาวจุฑามณี มัธยม เลขที่ 12 ชัน ม.4/1 ้ เสนอ นางจุฑารัตน์ ใจบุญ รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวิชา ง31102 ภาคเรียนที่ 2/2556 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอ วังวิเศษ จังหวัด ตรัง
  • 2. คำนำ รายงานเรื่ องการสื่ อสารข้อมูล เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพ และเทคโนโลยี รายวิชา ง31102 รายงานเล่มนี้ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับ การสื่ อสารข้อมูล การส่ง การรับ รู ปแบบ การส่ง และรายละเอียดต่างๆ เป็ นรายงานประกอบการเรี ยนรู้ ซึ่ งจัดทาขึ้นให้ผที่สนใจได้ศึกษา ู้ หวังว่าความรู้น้ ีคงเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจ ู้ อนึ่ง หากมีขอผิดพลาดใดๆ ขอ อภัย ไว้ ณ โอกาสนี้ดวย ้ ้ จุฑามณี มัธยม ผูจดทา ้ั
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ ำ ความหมายของการสื่ อสารข้อมูล 1 องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ 1 ข่ายการสื่ อสารข้อมูล 2 องค์ประกอบพื้นฐาน 2 วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่ อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การ 3 ประโยชน์ของการสื่ อสารข้อมูล 3 ชนิดของการสื่ อสารข้อมูล 4 รู ปแบบการสื่ อสารข้อมูล (MODES OF DATA TRANSMISSION) 5 การใช้เทคโนโลยีการสื่ อสาร 5 อ้างอิง 7
  • 4. กำรสื่ อสำรข้ อมูล กำรสื่อสำรข้ อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรื อแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างผูส่งและผูรับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรื อคอมพิวเตอร์เป็ นตัวกลางใน ้ ้ การส่งข้อมูล เพื่อให้ผส่งและผูรับเกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน ู้ ้ วิธีกำรส่ งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณ หรื อรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผูรับ และเมื่อถึง ้ ปลายทางหรื อผูรับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาให้อยูในรู ปที่มนุษย์สามารถที่จะเข้าใจได้ ใน ้ ่ ระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือสิ่งรบกวน(Noise)จากภายนอกทาให้ขอมูลบางส่ วนเสียหาย ้ หรื อผิดเพี้ยนไปได้ซ่ึงระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิงมากก็อาจจะทาให้เกิด ่ สิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทาให้ เกิดการรบกวนน้อยที่สุด องค์ประกอบขั้นพืนฐำนของระบบ ้ องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็ นส่วนประกอบได้ ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ส่งข่ ำวสำรหรือแหล่งกำเนิดข่ ำวสำร(source) อาจจะเป็ นสัญญาณต่างๆเช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็ นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อน อาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรื อท่าทางต่างๆก็นบว่าเป็ นแหล่งกาเนิดข่าวสารจัดอยูในหมวดหมู่น้ ีเช่นกัน ั ่ 2. ผู้รับข่ ำวสำรหรือจุดหมำยปลำยทำงของข่ ำวสำร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผส่งข่าวสาร หรื อแหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การ ู้ ติดต่อสื่อสารบรรลุวตถุประสงค์ ผูรับสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้นๆถ้าผูรับ ั ้ ้ สาร หรื อจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสาเร็ จ กล่าวคือไม่มี การสื่อสารเกิดขึ้นนันเอง ่
  • 5. 3. ช่ องสัญญำณ(channel) หมายถึง สื่อกลางหรื อตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่านอาจจะเป็ นอากาศ สายนาสัญญาณต่างๆ หรื อแม้กระทังของเหลว เช่น น้ า น้ ามัน เป็ นต้น ปรี ยบเสมือนเป็ นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไป ่ ยังอีกฝั่งหนึ่ง 4. กำรเข้ ำรหัส(encoding) เป็ นการช่วยให้ผส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมายจึงมีความ ู้ ้ จาเป็ นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยูในรู ปพลังงาน ที่พร้อมจะ ่ ส่งไปในสื่อกลาง ทางผูส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผูส่งและผูรับ หรื อมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึง ้ ้ ้ เกิดขึ้นได้ 5. กำรถอดรหัส(decoding) หมายถึง การที่ผรับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยูในรู ปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ ู้ ่ ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรื อรหัสตรงกัน 6. สัญญำณรบกวน(noise) เป็ นสิ่งที่มีอยูในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรื อรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ท้งทางด้านผูส่งข่าวสาร ผูรับ ่ ั ้ ้ ข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมุติให้ทางด้านผูส่งข่าวสารและผูรับข่าวสาร ้ ้ ไม่มีความผิดพลาดตาแหน่ง ที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็ นที่ตวกลางหรื อช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณ ั รบกวนด้านผูส่งข่าวสารและด้านผูรับข่าวสาร ในทางปฎิบติ มักจะใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่ ้ ้ ั ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียงขึ้นแล้วค่อยดาเนินการ เช่นการเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็ นต้น ิ่ ข่ ำยกำรสื่อสำรข้ อมูล หมำยถึง การรับส่งข้อมูล หรื อสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยระบบการส่งข้อมูลทาง คลื่นไฟฟ้ าหรื อแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็ นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทัวไปเรี ยกว่า ข่ ำยกำรสื่อสำรข้อมูล ่ (Data Communication Networks)
  • 6. องค์ ประกอบพืนฐำน ้ 1. หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit 2. หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit) 3. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel) วัตถุประสงค์หลักของกำรนำกำรสื่อกำรข้อมูลมำประยุกต์ใช้ ในองค์กำรประกอบด้ วย 1. เพื่อช่วยปรับปรุ งการบริ หารขององค์การ 2. เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล 3. เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว 4. เพื่อลดเวลาการทางาน 5. เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร 6. เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ ประโยชน์ ของกำรสื่อสำรข้ อมูล 1. กำรจัดเก็บข้อมูลได้ง่ำย และสื่อสารได้รวดเร็ ว การจัดเก็บซึ่อยูในรู ปของสัญญาณ ่ อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึ่ง สามารถ บันทึก ข้อมูล ได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้วจะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ตองเสียเวลานังป้ อนข้อมูลเหล่านั้น ้ ่ ซ้ าใหม่อีก 2. ควำมถูกต้องของข้ อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการ รับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ขอมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ ทาการส่งใหม่ หรื อกรณี ที่ผดพลาด ้ ิ ไม่มากนัก ฝ่ ายผูรับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถกต้องได้ ้ ู 3. ควำมเร็วของกำรทำงำน โดยปกติสญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็ วเท่าแสง ทาให้การใช้ ั คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรื อค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ ว ความรวดเร็วของระบบทาให้ผใช้สะดวกสบายยิงขึ้นเช่น บริ ษทสายการบินทุกแห่ง ู้ ั ่ สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองที่นงของสายการบินสามารถทาได้ทนที ั่ ั
  • 7. 4. ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็ นเครื อข่าย เพื่อส่งหรื อสาเนาข้อมูล ทาให้ ราคาต้นทุนของการใช้ขอมูลประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กนและกัน ้ ั ผ่านทางสายโทรศัพท์ได้ ชนิดของกำรสื่อสำรข้อมูล วิธีกำรสื่อสำรข้อมูล (DATA TRANSMISSION) ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รู ปแบบคือ การสื่อสารแบบอนุกรม (serial data transmission) และการสื่อสารแบบขนาน (parallel data transmission) การสื่อสารแต่ละรู ปแบบมีรายละเอียดดังนี้ 1. กำรสื่อสำรข้ อมูลแบบอนุกรม (serail data transmission) เป็ นการส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้กบสื่อนา ั ข้อมูลที่มีเพียง1ช่องสัญญาณได้ สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคาถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มีหลาย ช่องสัญญาณ และเนื่องจากการสื่อสารแบบอนุกรมมีการส่งข้อมูล ได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูลประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิต 2. กำรสื่อสำรข้ อมูลแบบขนำน (parallel data transmission) เป็ นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ วิธีน้ ีจะเป็ นวิธีการ ส่งข้อมูลที่เร็ วกว่าการส่งข้อมูลแบบอนุกรมจากรู ป เป็ นการแสดงการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว ที่ มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่งข้อมูลครั้งละ 8 บิตพร้อมกัน
  • 8. รูปแบบกำรสื่อสำรข้อมูล (MODES OF DATA TRANSMISSION) รู ปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1.กำรส่ งข้ อมูลแบบไม่ประสำนจังหวะ (asynchronous transmission) เป็ นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจงหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็ น ั ชุดๆมีช่องว่าง (gap) อยูระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็ นชุดๆเมื่อเริ่ มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุด ่ จะมีสีญญาณบอกจุดเริ่ มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต (start bit) และมีสญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 ั บิต (stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูล จะมีลาดับ ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่ มต้นขนาด 1 บิตข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบไม่ประสาน จังหวะ เช่น การส่งข้อมูล ของแป้ นพิมพ์ และโมเด็ม เป็ นต้น 2.กำรส่ งข้ อมูลแบบประสำนจังหวะ (synchronous transmission) เป็ นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลกษณะเป็ นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็ นจังหวะ โดย ั ใช้สญญาณนาฬิกาเป็ นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้นการส่งข้อมูลวิธีน้ ีจะไม่มีช่องว่าง(gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละ ั ชุดและไม่มีสญญาณบอกจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้นสุดการส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะนิยมใช้กบการส่งข้อมูล ั ั ของระบบคอมพิวเตอร์ ที่มการส่งข้อมูล ปริ มาณมากๆ ด้วยความเร็ วสูง ี กำรใช้ เทคโนโลยีกำรสื่อสำร กำรสื่อสำรข้ อมูลและเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ ในยุคปัจจุบน ได้ตะหนักถึง ความสาคัญในการนา ั เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารมาช่วยงานเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ซึ้งการประยุกต์ เทคโนโลยีการสื่อสารในองค์การมีดงนี้ ั ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail) การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังบุคคลอื่น โดยการสื่อสารนี้บุคคลที่ทาการสื่อสารจะต้องมีชื่อและที่อยูในรู ปแบบอีเมล์ แอดเดรส ่ โทรสำร (Facsimile หรือ Fax) เป็ นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็ นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรื อการพิมพ์ รู ปภาพ หรื อกราฟต่างๆ จาก เครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่มีอุปกรณ์ที่เรี ยกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเครื่ องรับ โทรสาร การส่งข้อความในลักษณะนี้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและมีประสิทธิภาพสูงกว่าการ ส่งข้อมูลผ่าน เครื่ องโทรสารธรรมดา
  • 9. วอยซ์ เมล (Voice Mail) เป็ นการส่งข้อความเป็ นเสียงพูดให้กลายเป็ นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผานระบบ เครื อข่ายการสื่อสาร ่ ข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บนทึกเสียงที่เรี ยกว่าว อยซ์เมล์บ็อกซ์ เมื่อผูรับเปิ ดฟังข้อความดังกล่าวก็ ั ้ จะถูกแปลงกลับไปอยูในรู ปแบบของเสียง พูดตามเดิม ่ กำรประชุมทำงไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing) เป็ นการสื่อสารข้อมูลโดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง ในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอุปกรณ์สาหรับการบันทึกภาพและอุปกรณ์บนทึกเสียง โดยที่ภาพและเสียงที่ส่งไป ั นั้นอาจเป็ นภาพเคลื่อนไหวที่มีเสียงประกอบได้ การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ช่วยประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ประชุม กำรระบุตำแหน่งด้ วยดำวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs) เป็ นระบบที่ใช้วิเคราะห์และระบุตาแหน่งของคน สัตว์ หรื อสิ่งของที่เป็ นเป้ าหมายของระบบ การ วิเคราะห์ตาแหน่งทาได้โดยใช้ดาวเทียมระบุตาแหน่ง ปัจจุบนมีการนาไปใช้ในระบบการเดินเรื อ เครื่ องบิน ั และเริ มพัฒนามาใช้เพื่อระบุตาแหน่งของรถยนต์ดวย ้ กรุ๊ปแวร์ (groupware) เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบุคคลให้สามารถทางาน ร่ วมกัน การใช้ ทรัพยากรและสารสนเทศร่ วมกันโดยผ่านระบบเครื อข่าย กำรโอนเงินทำงอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer : EFT) ปัจจุบนผูใช้สามารถชาระค่าสินค้าและบริ การโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ จากบัญชีธนาคารที่ ั ้ ให้บริ การโอนเงินอัตโนมัติดวยเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทน สมัย กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้กนเป็ นประจา ได้แก่ ้ ั ั การโอนเงินผ่านทางตู้ ATM กำรแลกเปลียนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) ่ เป็ นระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสาร อิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบสังสินค้า ใบส่งของ ใบเรี ยกเก็บเงิน ่ การระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่นความถีวิทยุ(RFID) ั ้ ่ เป็ นระบบระบุลกษณะของวัตถุดวยคลื่นความถี่วิทยุ ปัจจุบนมีการนา RFID ไปประยุกต์ใช้งาน ั ้ ั หลากหลายประเภท เช่น ห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใช้ในฟาร์มเลี้ยงสุกร บัตรทางด่วน บัตรรถไฟฟ้ าใต้ดิน ระบบหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์