SlideShare a Scribd company logo
1 of 117
Download to read offline
เทคโนโลยีกับงานพิพิธภัณฑ์/ห้องสมุด

                                                                                       ราชบดินทร์ สุวรรณคัณฑิ
                                                    โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ ือการอนุรักษเชิงดิจิทัล
                                                                                                 ์
                                             (Research and Development in Digital Preservation Technology)
                                                                          หน่วยปฏิบัติการวิจัยคลังอนุพันธ์ความรู้
                                                         ศ้นย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ




download other related presentations at http://www.slideshare.net/rachabodin
เน้ ือหาการบรรยาย
•   เทคโนโลยีอะไร? ทำาไม? อย่างไร?
•   ปั ญหาของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำาหรับ

    พิพิธภัณฑ์และห้องสมุด
•   แนวโนมเทคโนโลยีสำาหรับพิพธภัณฑ์และห้องสมุด
         ้                   ิ

    ในอนาคต
•   ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในงานพิพิธภัณฑ์และห้อง

    สมุดในปั จจุบัน
                                                    2
เน้ ือหาการบรรยาย
•   เทคโนโลยีอะไร? ทำาไม? อย่างไร?
•   ปั ญหาของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำาหรับ

    พิพิธภัณฑ์และห้องสมุด
•   แนวโนมเทคโนโลยีสำาหรับพิพธภัณฑ์และห้องสมุด
         ้                   ิ

    ในอนาคต
•   ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในงานพิพิธภัณฑ์และห้อง

    สมุดในปั จจุบัน
                                                    3
ใช้เทคโนโลยีอะไร?

   องค์ความร้้       +        เทคโนโลยี
                              สารสนเทศ      +        เทคโนโลยี
                                                     การส่ ือสาร
    -Tangible
    - Intangible




     การเข้าถึงองค์ความร้ออนไลน์
                         ้                การเข้าถึงองค์ความร้ออฟไลน์
                                                              ้
                                                                        4
ใช้เทคโนโลยีเพ่ ืออะไร?
• เพ่ ือเพิมประสิทธิภาพในการเรียนร้้ หรือการเข้าถึง
           ่

 องค์ความร้้ของผ้้เข้าชม

• เพ่ ือสร้างให้เกิดสังคมความร้้ทีมีการแลกเปลียน
                                  ่           ่

 และเช่ ือมโยงข้อม้ลระหว่างเจ้าของข้อม้ลด้วยกัน

 หรือระหว่างผ้้เข้าชมกับเจ้าของข้อม้ล หรือระหว่าง

 ผ้เข้าชมด้วยกัน
   ้

                  ์
• เพ่ ือการอนุรักษองค์ความร้้แบบระยะยาว
                                                      5
ทำาไมต้องใช้เทคโนโลยี?
 มีประสิทธิภาพในการจัดการกับข้อม้ลจำานวนมาก

 มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บข้อม้ลหลายร้ปแบบ เช่น

  ตัวอักษร ร้ปภาพ เสียง วิดีโอ ภาพเคล่ อนไหว
                                       ื

 เพ่ ือให้เกิดการใช้งานหรือเข้าถึงข้อม้ลได้ถกต้อง สะดวก
                                             ้

  รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ

 มีการเปลียนแปลงเทคโนโลยีอย่างต่อเน่ ืองนำาไปส่้การ
           ่

         ์
  อนุรักษระยะยาว (Long term preservation)
                                                           6
เราใช้เทคโนโลยีในพิพิธภัณฑ์/ห้องสมุดอย่างไร?


          1             2               3
      แปลงข้อม้ล    บริหารจัดการ   แสดงผลข้อม้ล
                       ข้อม้ล


     DIGITIZATION                  INFORMATION
                    INFORMATION    VISUALIZATION
                    MANAGEMENT




                                                   7
แผนภาพแสดงกระบวนการในการใช้เทคโนโลยีของพิพิธภัณฑ์และห้องสมุด

                                             Information Visualization
           Digitization




                               Information
                               Management                      e-Learning




                                                               In Museum




                                                                            8
                                                                 Website
เทคโนโลยีสำาหรับการแปลงข้อม้ล
   Digitization Technology




                                9
การแปลงข้อม้ล (Digitization)
Analog ------------------------> Digital



                scan
                                  digital photo


                shoot



                record
                               digital video/audio
                                                     10
การกำาหนดร้ปแบบมาตรฐานของข้อม้ลดิจิทล
                                    ั
   ชนิ ดของ   วิธการแปลงข้อม้ล
                 ี               ไฟล์ต้นฉบับ     ไฟล์เผยแพร่
   ต้นฉบับ
   ร้ปภาพ          สแกน             .tif             .jpg
  (กระดาษ)        ถ่ายภาพ         300 dpi           72 dpi

   ร้ปภาพ           สแกน            .tif             .jpg
   (ฟิ ล์ม)    (film scanner)    > 300 dpi          72 dpi


    วิดีโอ         บันทึก           .avi          .wmv, .rm,
                                  ไม่บีบอัด      .mov, .mp4,
                                                 .mpg, .m2p

   เทปเสียง        บันทึก           .wav          .wma, .rm,
                                               .mov, .mp3, .mp4




                                                                  11
การแปลงข้อม้ลกระดาษ




                      12
การแปลงข้อม้ลวิดโอ
                ี




                     13
การถ่ายภาพนิ่งรายละเอียดส้ง


      +           +




                              14
ภาพปกติ VS ภาพรายละเอียดส้ง




ภาพปกติ         ภาพรายละเอียดส้ง
                                   15
16
High Dynamic Range Panorama
                              Normal panorama




                              HDR panorama




                                             17
High Dynamic Range Panoramic VR




           สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา      18
การสร้างภาพสามมิติด้วยกล้องถ่ายภาพนิ่ งดิจทัล
                                          ิ




                                                19
การแปลงข้อม้ลด้วยเคร่ ืองสแกนภาพเลเซอร์สามมิติ




                                                 20
การแปลงข้อม้ลด้วยเคร่ ืองตรวจจับการเคล่ ือนไหว




   Faridah Noor Mohd Noor, INDIAN TRADITIONAL DANCE: A VIRTUAL PROTOTYPE   21
เทคโนโลยีสำาหรับการบริหารจัดการข้อม้ล
 Information Management Technology




                                     22
เม่ ือพ้ดถึงการบริหารจัดการข้อม้ล
 • ส่วนใหญ่คิดถึงซอฟต์แวร์ท่ีจะนำามาใช้ และปรับตัวเอง
 ให้เข้ากับข้อจำากัดของซอฟต์แวร์น้ันๆ มากกว่าการหา
 ซอฟต์แวร์ท่ีเข้ากันได้กับความต้องการทางวิชาการ
 • เกิดสภาวะหลายมาตรฐาน หรือไม่มีมาตรฐานในการ
 ให้คำาอธิบายรายละเอียดข้อม้ลในพิพิธภัณฑ์ ซ่งจะมีผล
                                            ึ
 ต่อการสกัดความร้้ท่ีตอบสนองต่อการให้บริการแก่กลุ่ม
 เป้ าหมายท่ีหลากหลาย และการแลกเปล่ียนข้อม้ล
 ระหว่างพิพิธภัณฑ์

                                                        23
คำาอธิบายวัตถุคืออะไร?

• คำาอธิบายวัตถุ (Metadata) คือ สารสนเทศท่มี
                                          ี
 โครงสร้าง (Structured Information)
  สำาหรับอธิบายรายละเอียดต่างๆ ของข้อม้ลหลัก
• เป็ นเคร่ ืองมือเพ่ิมประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อม้ล
  สืบค้นข้อม้ล รวมท้ังเป็ นเคร่ ืองมือท่ใช้ในการบริหาร
                                        ี
  จัดการข้อม้ลในคลังข้อม้ล



                                                         24
Metadata ทีตดมากับข้อม้ลหลัก
           ่ ิ




                               25
Metadata ทีผ้ใช้เปนผ้้กำาหนด (ตามความสนใจ)
           ่      ็
                    รหัสภาพ: 25500101153000
                    ช่ ือภาพ: วัดชัยวัฒนาราม
                    สถานท่ี: อยุธยา
                    เจ้าของภาพ: ลัดดา สาระเดช
                    ประเภท: Landscape
                            Architecture
                    วันท่ีถ่ายภาพ: 10 มิ.ย. 2550
                    คำาอธิบายภาพ: วัดชัยวัฒนารามต้ังอย่้
                    บนริม
                    ฝ่ังแม่น้ำาฟากตะวันตกของเกาะเมือง
                    พระเจ้าประสาททองทรงสร้างขึน ในปี
                                              ้
                    พ.ศ. 2173                              26
คุณสมบัติของ Metadata

 • ไม่ยดติดกับชนิ ดของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
       ึ
 • มีลกษณะโครงสร้างท่ีเป็ นมาตรฐาน สามารถ
      ั
   รองรับการใช้งานท่ีหลากหลายได้
 • ยืดหย่นต่อการเปล่ียนแปลง
         ุ




                                               27
ประเภทของ Metadata

    • Descriptive Metadata
    • Administrative Metadata
      • Technical Metadata
      • Rights Metadata
      • Source Metadata
      • Digital Provenance Metadata
    • Preservation Metadata
                                      28
เมตะดาต้าเพ่ ือการอธิบายคุณลักษณะ
(Descriptive Metadata)

คือ Metadata ท่ีทำาหนาท่ีในการอธิบายข้อม้ลหลัก
                     ้
และหมวดหม่้ของข้อม้ล ใช้เป็ นเคร่ ืองมือสำาหรับการ
เข้าถึงข้อม้ล หรือใช้เป็ นเคร่ ืองมือสำาหรับการสืบค้น
ตามความสนใจของผ้้ใช้




                                                    29
เมตะดาต้าเพ่ ือการบริหารจัดการ
(Administrative Metadata)

คือ Metadata ท่มีข้อม้ลสำาหรับใช้ในการบริหารจัดการ
               ี
• Technical Metadata: ข้อม้ลเชิงเทคนิ คท่เก่ียวข้อง
                                         ี
  กับข้อม้ลดิจิทัลของข้อม้ลหลัก เช่น ร้ปแบบไฟล์,
  การบีบอัดข้อม้ล เป็ นต้น
• Rights Metadata: ข้อม้ลเก่ยวกับลิขสิทธิในข้อม้ล
                            ี            ์
  หลัก และสิทธิหรือขอบเขตของการใช้งาน
• Source Metadata: ข้อม้ลเก่ยวกับข้อม้ลต้นฉบับ
                            ี
  ของข้อม้ลหลัก
                                                      30
เมตะดาต้าเพ่ ือการบริหารจัดการ (ต่อ)

• Digital Provenance Metadata: ข้อม้ลท่ีอธิบายถึง
  ข้อม้ลดิจทัลอ่ นๆ ของข้อม้ลหลักเดียวกัน เช่น
            ิ    ื
   • รายละเอียดของไฟล์ต้นฉบับ
   • รายละเอียดของไฟล์สำาหรับเผยแพร่ขนาดใหญ่
     (สำาหรับการพิมพ์)
   • รายละเอียดของไฟล์สำาหรับเผยแพร่ขนาดเล็ก
     (สำาหรับด้บนเว็บ)
   • รายละเอียดของไฟล์ Thumbnail
   • รายละเอียดของวิธีการในการแปลงข้อม้ล
                                                31
เมตะดาต้าเพ่ ือการอนุรักษ์
(Preservation Metadata)

Metadata ท่ีเก็บข้อม้ลท่ีจำาเป็ นสำาหรับการอนุรกษ์
                                               ั
ข้อม้ลต้นบับ และข้อม้ลดิจิทัล เช่น ข้อม้ลเก่ียวกับ
สภาพทางกายภาพของข้อม้ลต้นฉบับ ข้อม้ลท่ีเก่ียว
ข้องกับการสงวนรักษาไฟล์ เป็ นต้น




                                                     32
มาตรฐานเมตะดาต้าควรเปนอย่างไร?
                     ็

• ชุดของรายการ (Fields) ท่ีถ้กกำาหนด เข้าใจ
และยอมรับในวงกว้าง
• แต่ละพิพธภัณฑ์สามารถใช้งานท้ังหมดหรือ
          ิ
บางส่วนของมาตรฐานได้ ซ่งถ้ามีการใช้รายการ
                       ึ
ใด จะต้องใช้ในข้อกำาหนดดังระบุไว้ในมาตรฐาน
• แต่ละพิพธภัณฑ์สามารถเพ่ิมระเบียนอ่ นๆ นอก
          ิ                          ื
เหนื อจากท่ีกำาหนดไว้ในมาตรฐานได้

                                              33
ตัวอย่างการกำาหนดมาตรฐานเมตะดาต้า




                                    34
ลักษณะการประยุกต์ใช้มาตรฐานเมตะดาต้า
       มาตรฐานกลาง
                            พิพิธภัณฑ์ ก.
      - เลขวัตถุ
                            - เลขวัตถุ
      - เลขเดิม
                            - เลขเดิม
      - ช่ อวัตถุ
           ื
                            - ช่ อวัตถุ
                                 ื
      - คำาอธิบาย
                            - คำาอธิบาย
      - สภาพวัตถุ
                            - สภาพวัตถุ



       พิพิธภัณฑ์ ค.        พิพิธภัณฑ์ ข.
    - เลขวัตถุ
                            - เลขวัตถุ
    - ช่ อวัตถุ
         ื                  - ช่ อวัตถุ
                                 ื
    - คำาอธิบาย             - คำาอธิบาย
    - ประวัตการอนุรักษ์ *
            ิ               - สภาพวัตถุ
                                            35
ตัวอย่าง Metadata




                    36
ตัวอย่าง Metadata




        Data from Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre   37
38
39
์
ประโยชนของ Metadata
1. เป็ นกลไกสำาคัญในการจัดเก็บข้อม้ลพ้ นฐาน และข้อม้ลท่ี
                                       ื
   อธิบายท่ีมาของข้อม้ลหลัก รวมถึงข้อม้ลคำาอธิบายเพ่ิมเติม
   ในประเด็นท่ีสนใจต่างๆ ข้อม้ลเชิงลึก และข้อม้ลแวดล้อม
2. ช่วยให้สามารถบริหารจัดการข้อม้ลจำานวนมากได้อย่างท่ัว
   ถึง และมีประสิทธิภาพ
3. ช่วยให้สามารถแลกเปล่ียนข้อม้ลกับคลังข้อม้ลอ่ ืนๆ ท่ี
   เก่ียวข้องและเผยแพร่ข้อม้ลส่้สาธารณะได้อย่างมี
   ประสิทธิภาพ
4. ช่วยสนับสนุนให้เกิดการสร้างระบบคลังข้อม้ล เพ่ ือเป็ น
   แหล่งเรียนร้้ของประเทศ หรือเป็ นแหล่งข้อม้ลเพ่ ือการ
   วางแผนและการตัดสินใจ                                    40
เทคโนโลยีสำาหรับการแสดงผลข้อม้ล
Information Visualization Technology




                                       41
การแสดงผลข้อม้ลและการเข้าถึงข้อม้ล
                     Photo Gallery




e-Card Service                            Video/Audio
                                          Archive

                     คลังข้อม้ลดิจิทัล




        e-Learning                        Digital
                                         Museum

                                                        42
43
44
45
46
47
48
์
ประโยชนของการใช้เทคโนโลยีในงานพิพธภัณฑ์และห้องสมุด
                                 ิ

                                ์
               ช่วยในการอนุรักษข้อม้ลสำาคัญ โดยลดการ
               ใช้งานข้อม้ลต้นฉบับทีอ่อนไหวต่อการถ้ก
                                    ่
    อนุรักษ์   ทำาลาย เสียงต่อการเสียหาย หรือส้ญหาย
                         ่
               จากการเข้าถึงได้โดยตรงจากผ้้ใช้


               ช่วยให้เจ้าของข้อม้ล มีเคร่ ืองมือช่วยในการ
               บริหารจัดการข้อม้ลจำานวนมากอย่างเปน     ็
    จัดการ     ระบบ ช่วยในการแลกเปลียนหรือเผยแพร่
                                         ่
               ข้อม้ลผ่านระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
               อินเทอร์เน็ต

               เปนแหล่งเรียนร้้ด้วยตนเองตลอดชีวิต 7 วัน
                 ็
               24 ชัวโมง สำาหรับทุกคน โดยบรรจุองค์
                    ่
    เรียนร้้   ความร้้ทีสำาคัญทางประวัตศาสตร์ ศิลปะ
                        ่              ิ
               วัฒนธรรม และภ้มิปัญญาของบรรพบุรุษ
                                                             49
เน้ ือหาการบรรยาย
•   เทคโนโลยีอะไร? ทำาไม? อย่างไร?
•   ปั ญหาของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำาหรับ

    พิพิธภัณฑ์และห้องสมุด
•   แนวโนมเทคโนโลยีสำาหรับพิพธภัณฑ์และห้องสมุด
         ้                   ิ

    ในอนาคต
•   ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในงานพิพิธภัณฑ์และห้อง

    สมุดในปั จจุบัน
                                                    50
พิพิธภัณฑ์และห้องสมุดไทยในปั จจุบัน
• หลายๆ ท่ยังไม่มีการใช้งานเทคโนโลยี
          ี
• หลายๆ ท่มีการใช้งานเทคโนโลยี แต่…
          ี
  • เข้าถึงเจ้าของข้อม้ลได้ แต่เข้าถึงองค์ความร้้
    ไม่ได้ หรือไม่สามารถสืบค้นองค์ความร้้ได้
  • ส่ ือสารทางเดียว ไม่เข้าใจผ้เข้าชม
                                ้
  • ไม่มีการแลกเปล่ยนเช่ ือมโยง ท้ังระหว่าง
                   ี
    เจ้าของข้อม้ลด้วยกัน และเจ้าของข้อม้ลกับผ้้ใช้

                                                     51
ต้นเหตุของปั ญหา

• เพราะหลายๆ ท่ี เข้าใจว่า…
  • เทคโนโลยี…ไกลตัว

  • เทคโนโลยี…เป็ นเร่ องยาก
                       ื
  • เทคโนโลยี… ไม่ใช่คำาตอบ

  • เทคโนโลยี…ต้องแพง

  • เทคโนโลยี…ต้องด้ไฮเทค
                               52
เน้ ือหาการบรรยาย
•   เทคโนโลยีอะไร? ทำาไม? อย่างไร?
•   ปั ญหาของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำาหรับ

    พิพิธภัณฑ์และห้องสมุด
•   แนวโนมเทคโนโลยีสำาหรับพิพิธภัณฑ์และ
         ้

    ห้องสมุดในอนาคต
•   ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในงานพิพิธภัณฑ์และห้อง

    สมุดในปั จจุบัน
                                                    53
เทคโนโลยีสำาคัญสำาหรับการขับเคล่ ือนพิพธภัณฑ์
                                       ิ
หรือห้องสมุดในอนาคต

 - New Media
 - Virtual Reality and Human Computer
  Interaction
 - Internet-based Technology
  (Online Museum, Online Collection)
 - Collaboration and Sharing
  (Social Network, RSS, Podcast, Mobile)
                                            54
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเครือข่ายสังคม
(Social Network) กับการบันทึกส่วนบุคคล
        Rachabodin Update
  http://www.twitter.com/rachabodin


                             Rachabodin’s Blog                Articles
                          http://www.rachabodin.com

                             Rachabodin’s Photo
                                                              Digital Images
                   http://www.flickr.com/photos/rachabodin/

                             Rachabodin’s Video
                                                              Digital Video
                   http://www.youtube.com/user/rachabodin

                     Rachabodin’s Presentation Media
                                                              PPT, PDF, Poster
                     http://www.slideshare.net/rachabodin
                                                                               55
เน้ ือหาการบรรยาย
•   เทคโนโลยีอะไร? ทำาไม? อย่างไร?
•   ปั ญหาของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำาหรับ

    พิพิธภัณฑ์และห้องสมุด
•   แนวโนมเทคโนโลยีสำาหรับพิพธภัณฑ์และห้องสมุด
         ้                   ิ

    ในอนาคต
•   ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในงานพิพิธภัณฑ์

    และห้องสมุดในปั จจุบัน
                                                 56
ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์ดิจทัล
                     ิ
  British Museum
         England
   http://www.britishmuseum.org/




                                   57
58
59
60
61
62
ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์ดิจทัล
                     ิ
 Louvre Museum
     France
      http://www.louvre.fr/




                              63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์
Brooklyn Museum
 http://www.twitter.com/BrooklynMuseum




                                         73
74
75
76
77
78
79
80
ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์
The Women’s Museum
  http://www.twitter.com/TheWomensMuseum




                                           81
82
83
84
85
ตัวอย่างคลังภาพดิจทัล
                  ิ
  British Library
   http://www.imagesonline.bl.uk/




                                    86
87
88
89
90
ตัวอย่างคลังเสียง
British Library
    http://www.bl.uk/




                        91
92
93
94
ตัวอย่างห้องสมุดกับเครือข่ายสังคม

Libraries with Social Network




                                     95
96
97
98
99
100
ตัวอย่างคลังเอกสารโบราณ
Southeast Asia Digital Library
       http://sea.lib.niu.edu/manuscript.html




                                                101
102
103
104
105
106
ตัวอย่างคลังจดหมายเหตุ
คลังจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญ
           http://www.bia.or.th/




                                   107
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญ ณ สวนวชิรเบญจทัศ
                                                  108
สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) กรุงเทพฯ

                       อย่้ไม่ไกลจากแหล่งชุมชน




                     เข้าถึงได้ง่ายทังทางรถยนต์ รถ
                                     ้
                    ประจำาทาง และรถไฟลอยฟ้ า และ
                                รถไฟใต้ดิน



                         มีบรรยากาศสงบ ร่มร่ ืน
                         ควรแก่การศึกษาธรรม




                     ได้รับความเอ้ อเฟอจากกรุงเทพฯ
                                   ื  ้ื
                              ในการใช้พ้นที่
                                         ื




                                                     109
วัตถุประสงค์ของโครงการ


 ๑   เพ่ ือเปนแหล่งรวบรวม ด้แล รักษา และอนุรักษผลงานการศึกษา ค้นคว้า และ
             ็
                       ่
                                               ์
     เผยแผ่พุทธธรรม ทีท่านพุทธทาสทำาไว้ ให้สามารถใช้งานได้อย่างยังยืน
                                                                 ่




 ๒   เพ่ ือสืบสานปณิ ธาน ๓ ประการของท่านพุทธทาส ในการเข้าถึงหัวใจของศาสนา
     ของตน มีความเข้าใจระหว่างศาสนา และพ้นจากอำานาจวัตถุนิยม




 ๓   เพ่ ือให้การบริการและสนับสนุน ในการศึกษา ค้นคว้า วิจัยพัฒนา เผยแผ่
     และแลกเปลียนเรียนร้้ ด้านศาสนธรรม
                  ่




                                                                            110
ผลงานต้นฉบับอยู่ในสภาพทีมีความเสียงตูอการชำารุดเสียหาย
                        ่        ่




                                                         111
ขอบเขตของข้อม้ลในหอจดหมายเหตุฯ

              แหลูงรวบรวม และอนุรักษ์ผลงานต้นฉบับของทูานพุทธทาส


                    
                    ภาพ                      เสียงและโสตทัศน์
               ๔,๐๘๓ รายการ                      ๒๓๔ แผ่น
                (๕๑,๓๐๐ ช้ิน)                   ๑,๙๐๐ GB



  หนังสือ บันทึก
  ลายมือต้นฉบับ
 ๑๘,๕๖๕ รายการ                                                    วัสดุอ่ืนๆ
 (๕๗๕,๐๐๐ หนา) ้



                                  หอจดหมายเหตุ
                                พุทธทาส อินทปั ญโญ


                                                                               112
แนวทางในการดำาเนิ นงาน
                                                  ผลงานต้นฉบับ


                                             จัดทำาทะเบียนควบคุม


                                             กรรมวิธีอนุรักษต้นฉบับ
                                                            ์
                                            ตามหลักจดหมายเหตุสากล



                การจัดเก็บต้นฉบับ                             การจัดเก็บในร่ปแบบดิจิตอล

    การจัดเตรียมสถานทีเก็บทีได้รับการควบคุมอุณหภ่มิและ
                       ่     ่                               การจัดทำาสำาเนาดิจตอล, ฐานข้อม่ลดิจตอล และจัด
                                                                                ิ                ิ
     ความช้ืน                                                 เตรียมอุปกรณ์เก็บสำาเนาดิจตอล และ บุคลากรในการ
                                                                                        ิ
    การจัดเก็บรักษาด้วยอุปกรณ์มาตรฐานทีใช้ในการจัดเก็บ
                                        ่                     ด่แลรักษาและควบคุม
     จดหมายเหตุโดยเฉพาะ                                      เก็บรายละเอียดข้อม่ลตามมาตรฐานจดหมายเหตุ ISAD


    ควบคุมด่แลทุกขั้นตอนโดยผ้่เชียวชาญด้านจดหมายเหตุและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยจะ
                                 ่
                                     เป็ นหอจดหมายเหตุดิจิตอลทีสมบ่รณ์
                                                               ่
                   www.bia.or.th
                                                                                                               113
ร้ปแบบการให้บริการ
                                               ผลงานต้นฉบับ



                                               ฐานข้อม่ลดิจตอล
                                                           ิ

                            หอจดหมายเหตุ
                          พุทธทาส อินทปั ญโญ

                                                  นิ ทรรศการ
        ผลงานการศึกษา
     ค้นคว้า และเผยแผ่
           พุทธธรรม
     ทีทานพุทธทาสทำาไว้
       ่ ่
                                               กิจกรรมในการปฏิบัติ
                                                  ธรรมและเสวนา




                                ระบบ
                                               ฐานข้อม่ลดิจิตอล
                             อินเตอร์เน็ต




                              ส่ ือสิงพิมพ์
                                     ่           หนังสือ บทความ

                                   ต่างๆ       (ภาษาไทย/ตูางประเทศ)


                                                                      114
ตัวอย่างงานทีสำาเร็จในป พ.ศ. ๒๕๕๑
             ่         ี


                            สวนโมกข์
                            ๓๖๐ องศา




                                    115
ตัวอย่างงานทีสำาเร็จในป พ.ศ. ๒๕๕๑
             ่         ี




            สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา       116
ขอบคุณครับ




Follow my update at http://www.twitter.com/rachabodin

More Related Content

What's hot

Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationRachabodin Suwannakanthi
 
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsRachabodin Suwannakanthi
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesMaykin Likitboonyalit
 

What's hot (20)

Personal Digital Archives Development
Personal Digital Archives DevelopmentPersonal Digital Archives Development
Personal Digital Archives Development
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 
Personal Digital Library Development
Personal Digital Library DevelopmentPersonal Digital Library Development
Personal Digital Library Development
 
General Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package ToolGeneral Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package Tool
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document Preservation
 
Archives and Digital Archives
Archives and Digital ArchivesArchives and Digital Archives
Archives and Digital Archives
 
Electronic Museum
Electronic MuseumElectronic Museum
Electronic Museum
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
Technology For Botanical Garden
Technology For Botanical GardenTechnology For Botanical Garden
Technology For Botanical Garden
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
Rarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICTRarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICT
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School libraries
 

Viewers also liked

Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyRachabodin Suwannakanthi
 
9. Social 2.0 Massive Puts Your Brand In Play William Lai
9. Social 2.0   Massive Puts Your Brand In Play   William Lai9. Social 2.0   Massive Puts Your Brand In Play   William Lai
9. Social 2.0 Massive Puts Your Brand In Play William LaiHKAIM
 
VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08
VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08
VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08internationalvr
 
mCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile Business
mCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile BusinessmCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile Business
mCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile BusinessHKAIM
 
VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1
VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1
VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1internationalvr
 
Krystalite Products PVT Limited
Krystalite Products PVT LimitedKrystalite Products PVT Limited
Krystalite Products PVT Limitedaleemb
 
Collective- Nordic UX Challange Team
Collective- Nordic UX Challange TeamCollective- Nordic UX Challange Team
Collective- Nordic UX Challange TeamAynne Valencia
 
C:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disordersC:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disordersSteve Kashdan
 
VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05
VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05
VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05internationalvr
 
VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11
VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11
VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11internationalvr
 
Fondamenti di prosodia latina
Fondamenti di prosodia latinaFondamenti di prosodia latina
Fondamenti di prosodia latinanapolinelquore
 
VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08
VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08
VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08internationalvr
 

Viewers also liked (20)

Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
How to Create an Educational Media
How to Create an Educational MediaHow to Create an Educational Media
How to Create an Educational Media
 
C Questions
C QuestionsC Questions
C Questions
 
9. Social 2.0 Massive Puts Your Brand In Play William Lai
9. Social 2.0   Massive Puts Your Brand In Play   William Lai9. Social 2.0   Massive Puts Your Brand In Play   William Lai
9. Social 2.0 Massive Puts Your Brand In Play William Lai
 
Energy multiutility v3
Energy  multiutility v3Energy  multiutility v3
Energy multiutility v3
 
VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08
VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08
VietRees_Newsletter_42_Tuan1_Thang08
 
mCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile Business
mCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile BusinessmCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile Business
mCMO Conference 2013 - From Mobile App To Mobile Business
 
How IP address works
How IP address worksHow IP address works
How IP address works
 
R&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical GardenR&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical Garden
 
VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1
VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1
VietRees_Newsletter_64_Tuan1_Thang1
 
Krystalite Products PVT Limited
Krystalite Products PVT LimitedKrystalite Products PVT Limited
Krystalite Products PVT Limited
 
Collective- Nordic UX Challange Team
Collective- Nordic UX Challange TeamCollective- Nordic UX Challange Team
Collective- Nordic UX Challange Team
 
C:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disordersC:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disorders
 
Beekman5 std ppt_13
Beekman5 std ppt_13Beekman5 std ppt_13
Beekman5 std ppt_13
 
Why Run
Why RunWhy Run
Why Run
 
VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05
VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05
VietRees_Newsletter_30_Tuan2_Thang05
 
VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11
VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11
VietRees_Newsletter_56_Tuan1_Thang11
 
Fondamenti di prosodia latina
Fondamenti di prosodia latinaFondamenti di prosodia latina
Fondamenti di prosodia latina
 
VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08
VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08
VietRees_Newsletter_29_Week1_Month05_Year08
 

Similar to Technologies for Modern Museums and Libraries

Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectSummary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectRachabodin Suwannakanthi
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศYongyut Nintakan
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpchutikan
 

Similar to Technologies for Modern Museums and Libraries (20)

Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 
How to develop photo archives
How to develop photo archivesHow to develop photo archives
How to develop photo archives
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
oss-freeware-knowledge-collection
oss-freeware-knowledge-collectionoss-freeware-knowledge-collection
oss-freeware-knowledge-collection
 
ILS Course at Chula
ILS Course at ChulaILS Course at Chula
ILS Course at Chula
 
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบันห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
 
Digital Media Standard
Digital Media StandardDigital Media Standard
Digital Media Standard
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
IT Skill and social media tool
IT Skill and social media toolIT Skill and social media tool
IT Skill and social media tool
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectSummary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
Ch6 multimedia
Ch6 multimediaCh6 multimedia
Ch6 multimedia
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 

More from Rachabodin Suwannakanthi

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรRachabodin Suwannakanthi
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopRachabodin Suwannakanthi
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 

More from Rachabodin Suwannakanthi (18)

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing files
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing files
 
Camera RAW Workflow
Camera RAW WorkflowCamera RAW Workflow
Camera RAW Workflow
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
Digital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course OutlineDigital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course Outline
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
Introduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual TourIntroduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual Tour
 
Basic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic PhotographyBasic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic Photography
 
Multi-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic PhotographyMulti-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic Photography
 
Introduction to Image Digitization
Introduction to Image DigitizationIntroduction to Image Digitization
Introduction to Image Digitization
 

Technologies for Modern Museums and Libraries