SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
248


เรื่องที่ 2 โมเมนต์
         โมเมนต์ (Moment) หมายถึง ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุหมุนไปรอบจุดคงที่ ซึ่ งเรี ยกว่าจุด
ฟัลคัม (Fulcrum)
         ค่าของโมเมนต์ หาได้จากผลคูณของแรงที่มากระทากับระยะที่วดจากจุดฟัลครัมมาตั้งฉากกับ
                                                               ั
แนวแรง ดังสู ตร M = F x S หรื อ




ทิศทางของโมเมนต์ มี 2 ทิศทาง คือ
1. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
        คาน A B มีจุดหมุนที่ F มีแรงมากระทาที่ปลายคาน A จะเกิดโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา




                                             F
2. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
       คาน A B มีจุดหมุนที่ F มีแรงมากระทาที่ปลายคาน B จะเกิดโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา




                                                                                       F

รู ปแสดงทิศทางของโมเมนต์




        จากภาพ F เป็ นจุดหมุน เอาวัตถุ W วางไว้ที่ปลายคานข้างหนึ่ง ออกแรงกดที่ปลายคานอีกข้าง
                            ่
        หนึ่ง เพื่อให้ไม้อยูในแนวระดับพอดี
249


                โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = WxL2 (นิวตัน-เมตร)
                โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ExL1 (นิวตัน-เมตร)


        กฎของโมเมนต์
                                                                 ั ั ่
                 เมื่อวัตถุหนึ่งถูกกระทาด้วยแรงหลายแรง แล้วทาให้วตถุน้ นอยูในสภาวะสมดุล (ไม่
        เคลื่อนที่และไม่หมุน) จะได้วา ่
                  ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา

คาน
                                     ั
หลักการของโมเมนต์ เรานามาใช้กบอุปกรณ์ที่เรี ยกว่า คาน (lever) หรื อคานดีดคานงัด คานเป็ น
เครื่ องกลชนิดหนึ่งที่ใช้ดีดงัดวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมด (fulcrum) มีลกษณะเป็ นแท่งยาว หลักการ
                                                                        ั
ทางานของคานใช้หลักของโมเมนต์




รู ปแสดงลักษณะของคาน

        ถ้าโจทย์ไม่กาหนดน้ าหนักคานมาให้แสดงว่าคานไม่มีน้ าหนัก จากรู ป กาหนดให้
                W = แรงความต้านทาน หรื อน้ าหนักของวัตถุ
                       E = แรงความพยายาม หรื อแรงที่กระทาต่อคาน
                               a = ระยะตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแรงต้านทาน
                                     b = ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแรงพยายาม

        โดยมี F (Fulcrum) เป็ นจุดหมุนหรื อจุดฟัลกรัม
           ่
เมื่อคานอยูในภาวะสมดุล โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
                        Wxa=Exb
250


การจาแนกคาน คานจาแนกได้ 3 ประเภทหรื อ 3 อันดับดังนี้
                                          ่
1. คานอันดับที่ 1 เป็ นคานที่มีจุด (F) อยูระหว่างแรงความพยายาม (E) และแรงความต้านทาน (W) เช่น
กรรไกรตัดผ้า กรรไกรตัดเล็บ คีมตัดลวด เรื อแจว ไม้กระดก เป็ นต้น




                                     รู ปแสดงคานอันดับ 1

                                                      ่
2. คานอันดับ 2 เป็ นคานที่มีแรงความต้านทาน (W) อยูระหว่างแรงความพยายาม (E) และจุดหมุน (F)
เช่น ที่เปิ ดขวดน้ าอัดลม รถเข็นทราย ที่ตดกระดาษ เป็ นต้น
                                         ั




                                     รู ปแสดงคานอันดับ 2
251


                                                    ่
3. คานอันดับที่ 3 เป็ นคานที่มีแรงความพยายาม (E) อยูระหว่างแรงความต้านทาน (W) และจุดหมุน (F)
เช่น ตะเกียบ คีมคีบถ่าน แหนบ เป็ นต้น




                                    รู ปแสดงคานอันดับ 3

การผ่อนแรงของคาน จะมีค่ามากหรื อน้อยโดยดูจากระยะ E ถึง F และ W ว่าถ้าระยะ EF ยาวหรื อสั้น
                                                                   ่
กว่าระยะ WF ถ้าในกรณี ที่ยาวกว่าก็จะช่วยผ่อนแรง ถ้าสั้นกว่าก็จะไม่ผอนแรง

       หลักการและขั้นตอนการคานวณเรื่องคานและโมเมนต์
       1. วาดรู ปคาน พร้อมกับแสดงตาแหน่งของแรงที่กระทาบนคานทั้งหมด
       2. หาตาแหน่งของจุดหมุนหรื อจุดฟัลครัม ถ้าไม่มีให้สมมติข้ ึน
        3. ถ้าโจทย์ไม่บอกน้ าหนักของคานมาให้ เราไม่ตองคิดน้ าหนักของคานและ ถือว่า คานมี
                                                     ้
       ขนาดสม่าเสมอกันตลอด
       4. ถ้าโจทย์บอกน้ าหนักคานมาให้ตองคิดน้ าหนักคานด้วย โดยถือว่าน้ าหนักของคานจะอยูจุด
                                       ้                                                  ่
       กึ่งกลางคานเสมอ
                     ่
       5. เมื่อคานอยูในสภาวะสมดุล โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
       6. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา หรื อโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกามีค่าเท่ากับ ผลบวกของโมเมนต์ยอยแต่
                                                                                        ่
       ละชนิด
252


ตัวอย่างการคานวณเรื่องโมเมนตํ์
ตัวอย่างที่ 1 คานอันหนึ่งเบามากมีน้ าหนัก 300 นิวตันแขวนที่ปลายคานข้างหนึ่ง และอยูห่างจุดหมุน 1
                                                                                  ่
เมตร จงหาว่าจะต้องแขวนน้ าหนัก 150 นิวตัน ทางด้านตรงกันข้ามที่ใดคานจึงจะสมดุล

   วิธีทา สมมุติให้แขวนน้ าหนัก 150 นิวตัน ห่างจากจุดหมุนF = x เมตร( คิดโมเมนต์ที่จุด F)

       1. วาดรู ปแสดงแนวทางของแรงที่กระทาบนคานทั้งหมด


                  A                                                         B
                           1                    X
                                                        150 N

       2. ให้ F เป็ นจุดหมุน หาค่าโมเมนต์ตามและโมเมนต์ทวน
                 โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = 150 x (X) = 150 X นิวตัน-เมตร
                โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = 1 x (300) = 300 นิวตัน-เมตร

       3. ใช้กฎของโมเมนต์
               โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
                             150 X = 300
                             X = 300/150 = 2 เมตร
                     ตอบ ต้องแขวนน้ าหนัก 150 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน 2 เมตร
253


ตัวอย่างที่ 2 คานยาว 6 เมตร หนัก 150 นิวตัน ใช้งดก้อนหิ นซึ่ งหนัก 3000 นิวตัน โดยวางให้จุดหมุนอยู่
                                                ั
ห่างจากก้อนหิ น 1 เมตร จงหาว่า จะต้องออกแรงที่ปลายคานเพื่องัดก้อนหิ นเท่าไร

                                  F
         A
                    1N                         2                              3           B


                                                             200 N




วิธีทา สมมติให้ออกแรงที่จุด B = X นิวตัน และคิดโมเมนต์ที่จุด F
        โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
                  (X x 5) + (200 x 2) = 1 x 3000
                            5X + 400 = 3000
                             5X       = 3000 – 400 = 2600
                             X        = 3600/5 = 720
ตอบ        ต้องออกแรงพยายาม = 720 นิวตัน

                                                                 ่
ตัวอย่างที่ 3 ไม้กระดานหกยาว 5 เมตร นาย ก. หนัก 400 นิวตัน ยืนอยูที่ปลาย A ส่ วนนาย ข. หนัก 600
              ่
นิวตัน ยืนอยูท่ีปลาย B อยากทราบว่าจะต้องวางจุดหมุนไว้ที่ใด คานจึงจะสมดุล

วิธีทา

สมมุติให้จุดหมุนอยูห่างจากนาย ก. X เมตร
                   ่
                โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
                          600 (5- X) = 400 x X
                          6(5-X)     = 4X
                          30 – 6X = 4X
                              30     = 10X
                               X     =3
254


ตอบ     จุดหมุนอยูห่างจาก นาย ก. 3 เมตร
                  ่

การใช้ โมเมนต์ ในชีวตประจาวัน
                    ิ
                 ความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องของโมเมนต์ สามารถนาไปใช้ในชีวตประจาวันในด้านต่างๆ
                                                                      ิ
มากมาย เช่น การเล่นกระดานหก การหาบของ ตราชังจีน การแขวนโมบาย ที่เปิ ดขวด รถเข็น คีม ที่ตด
                                                      ่                                    ั
กระดาษ เป็ นต้น หรื อในการใช้เชือกหรื อสลิงยึดคานเพื่อวางคานยืนออกมาจากกาแพง
                                                               ่

แบบฝึ กหัด

   1. จงตอบคาถามต่อไปนี้
      1.1 แรง หมายถึงอะไร
      1.2 ผลที่เกิดจากการกระทาของแรงมีอะไรบ้าง
      1.3 แรงมีหน่วยเป็ นอะไร
      1.4 แรงเสี ยดทานคืออะไร
      1.5 ยานพาหนะที่ใช้ในปัจจุบนทุกชนิดต้องมีลอเพื่ออะไร
                                    ั                 ้
      1.6 ล้อรถมีตลับลูกปื น ล้อ และใส่ น้ ามันหล่อลื่น เพื่ออะไร
      1.7 แรงเสี ยดทานมีค่ามากหรื อน้อยขึ้นอยูกบอะไร
                                                ่ ั
                                                                            ่
      1.8 นักเทนนิสตีลูกเทนนิสอย่างแรง ขณะที่ลูกเทนนิสกาลังเคลื่อนที่อยูในอากาศ มีแรงใดบ้าง
      มากระทาต่อลูกเทนนิส
      1.9 ถ้าเรายืนชังน้ าหนักใกล้ๆ กับโต๊ะ แล้วใช้มือกดบนโต๊ะไว้ ค่าที่อ่านได้จากเครื่ องชังน้ าหนัก
                      ่                                                                     ่
      จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง เพราะเหตุใด
      1.10 โมเมนต์ คือ อะไร มีกี่ชนิด
   2. คานยาว 3 เมตร ใช้งดวัตถุหนัก 400 นิวตัน โดยวางให้จุดหมุนอยูห่างวัตถุ 0.5 เมตร จงหาว่า
                           ั                                         ่
      จะต้องออกแรงที่ปลายคานอีกข้างหนึ่งเท่าไร คานจึงจะสมดุล (แสดงวิธีทา)

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลkrusarawut
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 

La actualidad más candente (20)

แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 

Destacado

คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 

Destacado (8)

5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 

Similar a โมเมนต์

D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
Practice newton's law v1
Practice   newton's law v1Practice   newton's law v1
Practice newton's law v1himham_029
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726pumarin20012
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 

Similar a โมเมนต์ (20)

D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
Practice newton's law v1
Practice   newton's law v1Practice   newton's law v1
Practice newton's law v1
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 
P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
3
33
3
 
3
33
3
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 

Más de สายฝน ต๊ะวันนา

ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553สายฝน ต๊ะวันนา
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นสายฝน ต๊ะวันนา
 

Más de สายฝน ต๊ะวันนา (20)

Hb5
Hb5Hb5
Hb5
 
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
 
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
 
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
 
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
 
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
 
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
 
อัตราว่าง
อัตราว่างอัตราว่าง
อัตราว่าง
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
 
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัมการเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
 
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัมการเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
Sb2
Sb2Sb2
Sb2
 
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด dวิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
 

โมเมนต์

  • 1. 248 เรื่องที่ 2 โมเมนต์ โมเมนต์ (Moment) หมายถึง ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุหมุนไปรอบจุดคงที่ ซึ่ งเรี ยกว่าจุด ฟัลคัม (Fulcrum) ค่าของโมเมนต์ หาได้จากผลคูณของแรงที่มากระทากับระยะที่วดจากจุดฟัลครัมมาตั้งฉากกับ ั แนวแรง ดังสู ตร M = F x S หรื อ ทิศทางของโมเมนต์ มี 2 ทิศทาง คือ 1. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา คาน A B มีจุดหมุนที่ F มีแรงมากระทาที่ปลายคาน A จะเกิดโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา F 2. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา คาน A B มีจุดหมุนที่ F มีแรงมากระทาที่ปลายคาน B จะเกิดโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา F รู ปแสดงทิศทางของโมเมนต์ จากภาพ F เป็ นจุดหมุน เอาวัตถุ W วางไว้ที่ปลายคานข้างหนึ่ง ออกแรงกดที่ปลายคานอีกข้าง ่ หนึ่ง เพื่อให้ไม้อยูในแนวระดับพอดี
  • 2. 249 โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = WxL2 (นิวตัน-เมตร) โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ExL1 (นิวตัน-เมตร) กฎของโมเมนต์ ั ั ่ เมื่อวัตถุหนึ่งถูกกระทาด้วยแรงหลายแรง แล้วทาให้วตถุน้ นอยูในสภาวะสมดุล (ไม่ เคลื่อนที่และไม่หมุน) จะได้วา ่ ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา คาน ั หลักการของโมเมนต์ เรานามาใช้กบอุปกรณ์ที่เรี ยกว่า คาน (lever) หรื อคานดีดคานงัด คานเป็ น เครื่ องกลชนิดหนึ่งที่ใช้ดีดงัดวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมด (fulcrum) มีลกษณะเป็ นแท่งยาว หลักการ ั ทางานของคานใช้หลักของโมเมนต์ รู ปแสดงลักษณะของคาน ถ้าโจทย์ไม่กาหนดน้ าหนักคานมาให้แสดงว่าคานไม่มีน้ าหนัก จากรู ป กาหนดให้ W = แรงความต้านทาน หรื อน้ าหนักของวัตถุ E = แรงความพยายาม หรื อแรงที่กระทาต่อคาน a = ระยะตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแรงต้านทาน b = ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแรงพยายาม โดยมี F (Fulcrum) เป็ นจุดหมุนหรื อจุดฟัลกรัม ่ เมื่อคานอยูในภาวะสมดุล โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา Wxa=Exb
  • 3. 250 การจาแนกคาน คานจาแนกได้ 3 ประเภทหรื อ 3 อันดับดังนี้ ่ 1. คานอันดับที่ 1 เป็ นคานที่มีจุด (F) อยูระหว่างแรงความพยายาม (E) และแรงความต้านทาน (W) เช่น กรรไกรตัดผ้า กรรไกรตัดเล็บ คีมตัดลวด เรื อแจว ไม้กระดก เป็ นต้น รู ปแสดงคานอันดับ 1 ่ 2. คานอันดับ 2 เป็ นคานที่มีแรงความต้านทาน (W) อยูระหว่างแรงความพยายาม (E) และจุดหมุน (F) เช่น ที่เปิ ดขวดน้ าอัดลม รถเข็นทราย ที่ตดกระดาษ เป็ นต้น ั รู ปแสดงคานอันดับ 2
  • 4. 251 ่ 3. คานอันดับที่ 3 เป็ นคานที่มีแรงความพยายาม (E) อยูระหว่างแรงความต้านทาน (W) และจุดหมุน (F) เช่น ตะเกียบ คีมคีบถ่าน แหนบ เป็ นต้น รู ปแสดงคานอันดับ 3 การผ่อนแรงของคาน จะมีค่ามากหรื อน้อยโดยดูจากระยะ E ถึง F และ W ว่าถ้าระยะ EF ยาวหรื อสั้น ่ กว่าระยะ WF ถ้าในกรณี ที่ยาวกว่าก็จะช่วยผ่อนแรง ถ้าสั้นกว่าก็จะไม่ผอนแรง หลักการและขั้นตอนการคานวณเรื่องคานและโมเมนต์ 1. วาดรู ปคาน พร้อมกับแสดงตาแหน่งของแรงที่กระทาบนคานทั้งหมด 2. หาตาแหน่งของจุดหมุนหรื อจุดฟัลครัม ถ้าไม่มีให้สมมติข้ ึน 3. ถ้าโจทย์ไม่บอกน้ าหนักของคานมาให้ เราไม่ตองคิดน้ าหนักของคานและ ถือว่า คานมี ้ ขนาดสม่าเสมอกันตลอด 4. ถ้าโจทย์บอกน้ าหนักคานมาให้ตองคิดน้ าหนักคานด้วย โดยถือว่าน้ าหนักของคานจะอยูจุด ้ ่ กึ่งกลางคานเสมอ ่ 5. เมื่อคานอยูในสภาวะสมดุล โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา 6. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา หรื อโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกามีค่าเท่ากับ ผลบวกของโมเมนต์ยอยแต่ ่ ละชนิด
  • 5. 252 ตัวอย่างการคานวณเรื่องโมเมนตํ์ ตัวอย่างที่ 1 คานอันหนึ่งเบามากมีน้ าหนัก 300 นิวตันแขวนที่ปลายคานข้างหนึ่ง และอยูห่างจุดหมุน 1 ่ เมตร จงหาว่าจะต้องแขวนน้ าหนัก 150 นิวตัน ทางด้านตรงกันข้ามที่ใดคานจึงจะสมดุล วิธีทา สมมุติให้แขวนน้ าหนัก 150 นิวตัน ห่างจากจุดหมุนF = x เมตร( คิดโมเมนต์ที่จุด F) 1. วาดรู ปแสดงแนวทางของแรงที่กระทาบนคานทั้งหมด A B 1 X 150 N 2. ให้ F เป็ นจุดหมุน หาค่าโมเมนต์ตามและโมเมนต์ทวน โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = 150 x (X) = 150 X นิวตัน-เมตร โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = 1 x (300) = 300 นิวตัน-เมตร 3. ใช้กฎของโมเมนต์ โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา 150 X = 300 X = 300/150 = 2 เมตร ตอบ ต้องแขวนน้ าหนัก 150 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน 2 เมตร
  • 6. 253 ตัวอย่างที่ 2 คานยาว 6 เมตร หนัก 150 นิวตัน ใช้งดก้อนหิ นซึ่ งหนัก 3000 นิวตัน โดยวางให้จุดหมุนอยู่ ั ห่างจากก้อนหิ น 1 เมตร จงหาว่า จะต้องออกแรงที่ปลายคานเพื่องัดก้อนหิ นเท่าไร F A 1N 2 3 B 200 N วิธีทา สมมติให้ออกแรงที่จุด B = X นิวตัน และคิดโมเมนต์ที่จุด F โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา (X x 5) + (200 x 2) = 1 x 3000 5X + 400 = 3000 5X = 3000 – 400 = 2600 X = 3600/5 = 720 ตอบ ต้องออกแรงพยายาม = 720 นิวตัน ่ ตัวอย่างที่ 3 ไม้กระดานหกยาว 5 เมตร นาย ก. หนัก 400 นิวตัน ยืนอยูที่ปลาย A ส่ วนนาย ข. หนัก 600 ่ นิวตัน ยืนอยูท่ีปลาย B อยากทราบว่าจะต้องวางจุดหมุนไว้ที่ใด คานจึงจะสมดุล วิธีทา สมมุติให้จุดหมุนอยูห่างจากนาย ก. X เมตร ่ โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา 600 (5- X) = 400 x X 6(5-X) = 4X 30 – 6X = 4X 30 = 10X X =3
  • 7. 254 ตอบ จุดหมุนอยูห่างจาก นาย ก. 3 เมตร ่ การใช้ โมเมนต์ ในชีวตประจาวัน ิ ความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องของโมเมนต์ สามารถนาไปใช้ในชีวตประจาวันในด้านต่างๆ ิ มากมาย เช่น การเล่นกระดานหก การหาบของ ตราชังจีน การแขวนโมบาย ที่เปิ ดขวด รถเข็น คีม ที่ตด ่ ั กระดาษ เป็ นต้น หรื อในการใช้เชือกหรื อสลิงยึดคานเพื่อวางคานยืนออกมาจากกาแพง ่ แบบฝึ กหัด 1. จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1.1 แรง หมายถึงอะไร 1.2 ผลที่เกิดจากการกระทาของแรงมีอะไรบ้าง 1.3 แรงมีหน่วยเป็ นอะไร 1.4 แรงเสี ยดทานคืออะไร 1.5 ยานพาหนะที่ใช้ในปัจจุบนทุกชนิดต้องมีลอเพื่ออะไร ั ้ 1.6 ล้อรถมีตลับลูกปื น ล้อ และใส่ น้ ามันหล่อลื่น เพื่ออะไร 1.7 แรงเสี ยดทานมีค่ามากหรื อน้อยขึ้นอยูกบอะไร ่ ั ่ 1.8 นักเทนนิสตีลูกเทนนิสอย่างแรง ขณะที่ลูกเทนนิสกาลังเคลื่อนที่อยูในอากาศ มีแรงใดบ้าง มากระทาต่อลูกเทนนิส 1.9 ถ้าเรายืนชังน้ าหนักใกล้ๆ กับโต๊ะ แล้วใช้มือกดบนโต๊ะไว้ ค่าที่อ่านได้จากเครื่ องชังน้ าหนัก ่ ่ จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง เพราะเหตุใด 1.10 โมเมนต์ คือ อะไร มีกี่ชนิด 2. คานยาว 3 เมตร ใช้งดวัตถุหนัก 400 นิวตัน โดยวางให้จุดหมุนอยูห่างวัตถุ 0.5 เมตร จงหาว่า ั ่ จะต้องออกแรงที่ปลายคานอีกข้างหนึ่งเท่าไร คานจึงจะสมดุล (แสดงวิธีทา)