SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Download to read offline
ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
                                                         ฉบับ
 แสงธรรม
    วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา



 Saeng Dhamma                                       ๕ ธันวามหาราช
ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔๔๐ ประจำาเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
     Vol.37 No.440 December 2011                      ๒๕๕๔
สื่อส่องทาง สว่างอ�าไพ
                                                      แสงธรรม
                                                 ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
                                               วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา
  ปีที่ 37 ฉบับที่ 440 ประจ�าเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 Vol.37 No.440 December, 2011

Objectives :
�To promote Buddhist activities.                                                 สารบัญ
�To foster Thai culture and tradition.
�To inform the public of the temple’s activities.
                                                                                Contents
�To promide a public relations center for            		The Buddha’s Words............................................. 1
    Buddhists living in the United States.              ธ ทรงเป็นพ่อแห่งแผ่นดิน....................................... 2
เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.                    Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 3
ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี                          The Peace Beyond By Ven. Ajanh Chah........... 5
กองบรรณาธิการ :                                        The Lady who loves Dhamma By Ven. Laung Ta Chi.... 9
ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี                                 อาลัยรักด้วยศรัทธา พระเทพกิตติโสภณ ........................... 14
พระสมุห์ณัฐิวุฒิ ปภากโร                                บทความพิเศษ : กตัญญูกตเวทีคอความดีทคนดีทาตอบแทน 16
                                                                                      ื         ี่         �
พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ
พระสุริยา เตชวโร                                       ครังหนึงของลูกผูชาย..... โดย ธมฺมธโรภิกขุ ............................ 20
                                                          ้ ่          ้                      ฺ
พระมหาสราวุธ สราวุโธ                                   ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนธันวาคม.............................. 22
พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม                             เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 23
พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป                              ประมวลภาพกิจกรรมเดือนพฤศจิกายน.................. 30
พระมหาค�าตัล พุทฺธงฺกุโร                              เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32
พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต
                                                      ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ดร.พระมหาถนัด 39
และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.          สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 42
SAENG DHAMMA Magazine                                 อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 43
is published monthly by                               Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 44
Wat Thai Washington, D.C. Temple                      รายนามผูบริจาคเดือนพฤศจิกายน Ven.Pradoochai 47
                                                                ้
At 13440 Layhill Rd.,
Silver Spring, MD 20906                               รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�าปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า...53
Tel. (301) 871-8660, 871-8661                         รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch.............................54
Fax : 301-871-5007                                    ก�าหนดการจัดงานพิธีมหามงคลเฉลิมพระเกียรติฯ ๕ ธันวา 62
E-mail : watthaidc@hotmail.com
Homepage : www.watthaidc.org                                                Photos taken by
Radio Network : www.watthai.iirt.net                                 Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat,
                                                                           Mr. Kevin & Mr. Sam
2,500 Copies                                                                 Bank & Ms. Golf
ถ้อยแถลง
                                          แสงธรรม ฉบับนี้ เป็นฉบับส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ วันคืนล่วงไป ๆ
                                        บัดนีเ้ ราก�าลังท�าอะไรอยู่ ท่านผูรจงกล่าวไว้วา “วันไม่คอยท่า เวลาไม่คอย
                                                                           ้ ู้ ึ      ่
                                        คน บุญกุศลก็ไม่รอคอยใคร” เพื่อเตือนใจเราท่านทั้งหลายว่า ทาน ศีล
                                        ภาวนา เป็นเครืองพัฒนาชีวตให้บรรลุความสุขสันต์นรนดรได้อย่างแท้จริง
                                                          ่             ิ                     ิั
                                        ดังนั้นจึงควรตั้งสติและด�าเนินชีวิตด้วยปัญญา เพื่อท�าวันและเวลาให้มี
                                        คุณค่าด้วยความไม่ประมาทอย่างสม�่าเสมอ
                                          ส�าหรับในปีนี้ นับเป็นปีมหามงคลสมัยเนืองในวโรกาสทีพระบาทสมเด็จ
                                                                                     ่            ่
                                        พระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา
                                        สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา ร่วมกับวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
                                        ก�าหนดจัดงาน “พิธีมหามงคลเฉลิมพระเกียรติฯ ๘๔ พรรษา พระบาท
                                        สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ในวันศุกร์-เสาร์ที่ ๙-๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๔ ณ
                                        วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. เพื่อให้พสกนิกรชาวไทยในสหรัฐอเมริกา ได้
                                        แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีโดยการบ�าเพ็ญกุศลน้อมถวายเป็นพระราช
กุศลแด่พระองค์ทาน ผูเป็นทีเคารพรักยิงของปวงชนชาวไทย กรุณาติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ทวดไทยกรุง
                   ่ ้ ่                   ่                                                           ี่ ั
วอชิงตัน, ดี.ซี. โทร. 301-871-8660-1
        เดือนธันวาคม เป็นวันส�าคัญของวันพ่อ จึงขอน�าบทกลอนสอนธรรม “เลี้ยงดูบิดา” ที่พระเดชพระคุณ
พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ได้ประพันธ์ไว้ มาฝากท่านทั้งหลายเพื่อขวนขวายตอบแทนเลี้ยงดูพ่อว่า
                  คนเลี้ยงดูบิดาพระตรัสว่า                  มีคุณค่าควรนิยมชมสรรเสริญ
             เพราะเป็นทางสร้างสรรค์ความเจริญ เป็นการเดินตามครรลองของคนดี
                  คนเลี้ยงดูบิดาน่าชูเชิด                   เป็นการเปิดเส้นทางสร้างศักดิ์ศรี
             เป็นคนรู้กตัญญูกตเวที                          เป็นเครื่องหมายคนดีในสังคม
                  สังคมใดมีคนกตัญญู                         ก็พึงรู้กันเถิดเลิศอุดม
             ทั้งมนุษย์เทวดาพระอินทร์พรหม                   ต่างก็ชมเป็นคนดีมีกตัญญู
                  ลูกที่มั่นกตัญญูรับรู้คุณ                 ย่อมเป็นบุญมหาศาลการสืบต่อ
             สนองตอบบุญคุณได้เพียงพอ                        ให้สืบต่ออย่าขาดปราชญ์ชมเชย
       ขออ�านวยพรให้ผลบุญหนุนท่านและครอบครัวทุกวารวัน อีกทั้งกุศลนั้นช่วยเสริมสุขทุกคนเทอญ
                                                 คณะผู้จัดท�า
แสงธรรม 1   Saeng Dhamma




                 The Buddha’s Words
                          พุทธสุภาษิต
          เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ             จิตฺตํ ราชรถูปมํ
          ยตฺถ พาลา วิสีทนฺติ           นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ. (๑๗๑)
    สูเจ้าทั้งหลาย จงมาเถิด มาดูโลกนี้ อันวิจิตรพิสดาร เหมือนกับราชรถทรง
    ณ ที่นี่แหละ เหล่าคนโง่พากันหมกอยู่ แต่ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่
	   Come you all and behold this world like an ornamented royal
    chariot, wherein the fools are deeply sunk. But for those who
    know there is no bond.
แสงธรรม 2   Saeng Dhamma

                  ธ ทรงเป็น พ่อแห่งแผ่นดิน
                     ทีฆายุโก โหตุ ลุแปดสิบสี่
               ชาววัดไทยฯ ดี.ซี. พร้อม น้อมสุขศานต์
                ขอพระองค์ ทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนาน
                    ตลอดกาล คู่ไทย ไปนิรันดร์
              ธ          คือยอดกษัตริย์รัตนะ
              คือ        ผู้มีธรรมะสร้างสุขสันต์
              ผู้        ครองราชย์ด้วยทศพิธค่าอนันต์
              ครอง ชีวันครองดวงใจไทยทั่วแดน
              แผ่น       ดินทองแผ่นดินธรรมนำาชีวิต
              ดิน        ทุกทิศชุ่มฉ่ำานำาถึงแก่น
              โดย        สืบสานโครงการเกื้อเอื้อทดแทน
              ธรรม       แนบแน่นล้นเกล้าผองเผ่าไทย
              เพื่อ      เพิ่มสินบนพื้นดินให้สิ้นทุกข์
              ประโยชน์ สุขเกื้อกูลบุญยิ่งใหญ่
              สุข        ทั่วหล้าด้วยบารมีภูวไนย
              แห่ง       จอมชัยจอมปราชญ์ชาติร่มเย็น
              มหาชน น้อมถวายพระพรชัย
              ชาวสยาม ร่วมเทิดไท้ ให้ได้เห็น
              พระนาม เกริกเกียรติความดีที่บำาเพ็ญ
              “ภูมิพล” ธ ทรงเป็น พ่อแห่งแผ่นดิน

              นางสาวยุพา มาตยะขันธ์ ครูอาสาฯ ปี ๒๕๕๓
                ประพันธ์ในนามวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
แสงธรรม 3     Saeng Dhamma




                                                        by Buddhadasa Bhikkhu
                                                      http://www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm

                                                      plicitly and in truth. To say “wild monks” is a bit
                                                      hard on the ears, because the word “wild” can
                                                      have bad connotations. Here, however, “wild”
                                                      means the opposite of cities. Town wats and

     T     oday, I’ll speak about “Forest Wat
           Wild Monks.” A topic like this is easy
to remember and understand. It’s straight-for-
                                                      city monks are the opposite of “forest wats and
                                                      wild monks.” Take the meaning of “wild monk”
                                                      merely to be the opposite of “city monk.”
ward and clear. Since you only have a month                  Consider Suan Mokkh a bit. We’ve in-
left as monks, I think you ought to live as “forest   tended for it to be a forest wat from the very
wat wild monks,” correctly and completely, for        start. Things I had studied led me to know more
at least a little while. Later, it will probably be   about how the Buddha lived. Understanding
beneficial, that is, it might make you fit and ad-    how he lived, I wanted to have a lifestyle like
equate after you have disrobed. Even ordinary         his. So I thought of supporting the forest style
householders should know something about              of living. Then, we went even further using the
“forest wat wild monks.”                              words “to promote vipassana-dhura.” We used
      These words may sound ugly, but the Bud-        the phrase that was common then. They called
dha and the Arahants (Worthy Ones, Perfected          the practice in solitary and quiet places, such as
Ones) lived in this way. Please realize that origi-   in forests, “vipassana-dhura.” We intended to
nally all of the wats, monasteries, and ashrams       promote vipassana-dhura, or the meditation-du-
were outside the cities and villages. None were       ty, to revive it, so we thought of having a place
within the city walls. They were forest wats im-      in the forest.
แสงธรรม 4     Saeng Dhamma
      Now, although the village is encroaching,     monks” like this.
we can probably maintain the condition of a for-          Please take only the essential meaning of
est wat. To do so, the monks must have a disci-     these words. If we take the essence of “forest
pline or system of living which is most intimate    wat,” it means “the most simply way of living”
with nature. This means being comrades with         and “wild monks” means “to live most simply.”
nature, to sit and talk, to sit and watch, to sit   You can blend the two together, they mean the
and listen, together with nature. The meaning of    same thing.
“wild monk” is to live naturally.                         So, would all of you please live in the
      In the past, the elders and old teachers      most simple way. So far, you’re not yet living
called the monks who live in the forest “na-        most simply, although you may be close. Try to
ture monks,” while the monks in the towns and       readjust things yourself, through the end of the
cities, especially Bangkok, were called “science    Rains. From now on, make your living even more
monks.” This is a rural way of speaking, we need    easy. The more simple, the more natural it is.
not judge whether it is right or wrong: “science    The more natural it is, the less opportunity for
monks” and “nature monks.” Here, we are na-         “I” and “mine” to be born. Thus, it automati-
ture monks, living in harmony with nature, close    cally becomes correct and beautiful according
to nature, studying nature, until realizing Nib-    to our monks’ way.
bana, which is the pinnacle of nature. Please                      To be continued
understand the words “forest wat” and “wild




Ven. Prodoochai during a Dhamma talk and meditation session to Sherwood High School
       in the Great Buddha Hall at the Wat Thai Washington, D.C. on November 18th, 2011.
แสงธรรม 5     Saeng Dhamma
                                        A Taste of Freedom
                                       The Peace Beyond
                                          A Dhammatalk By Ajahn Chah
                                     http://www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html

 ...Continued from last issue...
                                                      body in the body.” Having seen the outer body

     S    o the Buddha taught that the way
          leading to the end of suffering is to
make the Dhamma arise as a reality within our
                                                      is not enough, we must know the body within
                                                      the body. Then, having investigated the mind,
                                                      we should know the mind within the mind.
own minds. We become one who witnesses the                  Why should we investigate the body?
Dhamma for himself. If someone says we are            What is this “body in the body”? When we say
good we don’t get lost in it; they say we are         to know the mind, what is this “mind”? If we
no good we don’t get lost in it; they say we          don’t know the mind then we don’t know the
are no good and we don’t forget ourselves. This       things within the mind. This is to be someone
way we can be free. “Good” and “evil” are just        who doesn’t know suffering, doesn’t know the
worldly dhammas, they are just states of mind.        cause, doesn’t know the end and doesn’t know
If we follow them our mind becomes the world,         the way. The things which should help to ex-
we just grope in the darkness and don’t know          tinguish suffering don’t help, because we get
the way out. If it’s like this then we have not       distracted by the things which aggravate it. It’s
yet mastered ourselves. We try to defeat others,      just as if we have an itch on our head and we
but in doing so we only defeat ourselves; but if      scratch our leg! If it’s our head that’s itchy then
we have mastery over ourselves then we have           we’re obviously not going to get much relief. In
mastery over all — over all mental formations,        the same way, when suffering arises we don’t
sights, sounds, smells, tastes and bodily feelings.   know how to handle it, we don’t know the prac-
Now I’m talking about externals, they’re like         tice leading to the end of suffering.
that, but the outside is reflected inside also.             For instance, take this body, this body that
Some people only know the outside, they don’t         each of us has brought along to this meeting. If
know the inside. Like when we say to “see the         we just see the form of the body there’s no way
แสงธรรม 6      Saeng Dhamma
we can escape suffering. Why not? Because we                It’s as if we visit some relatives at their
still don’t see the inside of the body, we only       house and they give us a present. We take it and
see the outside. We only see it as something          put it in our bag and then leave without opening
beautiful, something substantial. The Buddha          it to see what is inside. When at last we open it
said that only this is not enough. We see the         — full of poisonous snakes! Our body is like this.
outside with our eyes; a child can see it, animals    If we just see the shell of it we say it’s fine and
can see it, it’s not difficult. The outside of the    beautiful. We forget ourselves. We forget imper-
body is easily seen, but having seen it we stick      manence, unsatisfactoriness and not-self. If we
to it, we don’t know the truth of it. Having seen     look within this body it’s really repulsive. If we
it we grab onto it and it bites us!                   look according to reality, without trying to sugar
       So we should investigate the body within       things over, we’ll see that it’s really pitiful and
the body. Whatever’s in the body, go ahead            wearisome. Dispassion will arise. This feeling of
and look at it. If we just see the outside it’s not   “disinterest” is not that we feel aversion for the
clear. We see hair, nails and so on and they are      world or anything; it’s simply our mind clear-
just pretty things which entice us, so the Bud-       ing up, our mind letting go. We see things are
dha taught to see the inside of the body, to see      naturally established just as they are. However
the body within the body. What is in the body?        we want them to be, they just go their own way
Look closely within! We will see many things in-      regardless. Whether we laugh or cry, they simply
side to surprise us, because even though they         are the way they are. Things which are unstable
are within us, we’ve never seen them. Wherever        are unstable; things which are not beautiful are
we walk we carry them with us, sitting in a car       not beautiful.
we carry them with us, but we still don’t know              So the Buddha said that when we experi-
them at all!                                          ence sights, sounds, tastes, smells, bodily feel-




  คุณสาธิยา ศิลาเกษ และครอบครัว ท�าบุญอุทิศ 100 วันให้คุณแม่เพ็ญพรรณ โนแวค วันที่ 13 พ.ย. 54
แสงธรรม 7     Saeng Dhamma
ings or mental states, we should release them.        in these things we say that it clings to or takes
When the ear hears sounds, let them go. When          that happiness and unhappiness to be worthy of
the nose smells an odor, let it go... just leave it   holding. That clinging is an action of mind, that
at the nose! When the bodily feelings arise, let      happiness or unhappiness is feeling.
go of the like or dislike that follow, let them go          When we say the Buddha told us to sepa-
back to their birth-place. The same for mental        rate the mind from the feeling, he didn’t liter-
states. All these things, just let them go their      ally mean to throw them to different places. He
way. This is knowing. Whether it’s happiness          meant that the mind must know happiness and
or unhappiness, it’s all the same. This is called     know unhappiness. When sitting in samadhi, for
meditation.                                           example, and peace fills the mind, then happi-
      Meditation means to make the mind               ness comes but it doesn’t reach us, unhappiness
peaceful in order to let wisdom arise. This re-       comes but doesn’t reach us. This is to separate
quires that we practice with body and mind in         the feeling from the mind. We can compare it to
order to see and know the sense impressions           oil and water in a bottle. They don’t combine.
of form, sound, taste, smell, touch and men-          Even if you try to mix them, the oil remains oil
tal formations. To put it shortly, it’s just a mat-   and the water remains water. Why is this so?
ter of happiness and unhappiness. Happiness           Because they are of different density.
is pleasant feeling in the mind, unhappiness is             The natural state of the mind is neither
just unpleasant feeling. The Buddha taught to         happiness nor unhappiness. When feeling enters
separate this happiness and unhappiness from          the mind then happiness or unhappiness is born.
the mind. The mind is that which knows. Feeling       If we have mindfulness then we know pleas-
[10] is the characteristic of happiness or unhap-     ant feeling as pleasant feeling. The mind which
piness, like or dislike. When the mind indulges       knows will not pick it up. Happiness is there but




 ครอบครัวหาญศุภิชน จัดพิธีสวดพระอภิธรรมให้คุณพ่อธ�ารง หาญศุภิชน และท�าบุญเลี้ยงพระ วันที่ 12 พ.ย. 54
แสงธรรม 8      Saeng Dhamma
it’s “outside” the mind, not buried within the         own minds as a poison, so they swept them
mind. The mind simply knows it clearly.                out. They swept out the things which caused
      If we separate unhappiness from the mind,        them to suffer, they didn’t kill them. One who
does that mean there is no suffering, that we          doesn’t know this will see some things, such as
don’t experience it? Yes, we experience it, but        happiness, as good, and then grab them, but
we know mind as mind, feeling as feeling. We           the Buddha just knew them and simply brushed
don’t cling to that feeling or carry it around. The    them away.
Buddha separated these things through knowl-                  But when feeling arises for us we indulge
edge. Did he have suffering? He knew the state         in it, that is, the mind carries that happiness and
of suffering but he didn’t cling to it, so we say      unhappiness around. In fact they are two dif-
that he cut suffering off. And there was happi-        ferent things. The activities of mind, pleasant
ness too, but he knew that happiness, if it’s not      feeling, unpleasant feeling and so on, are men-
known, is like a poison. He didn’t hold it to be       tal impressions, they are the world. If the mind
himself. Happiness was there through knowl-            knows this it can equally do work involving hap-
edge, but it didn’t exist in his mind. Thus we say     piness or unhappiness. Why? Because it knows
that he separated happiness and unhappiness            the truth of these things. Someone who doesn’t
from his mind.                                         know them sees them as equal. If you cling to
      When we say that the Buddha and the En-          happiness it will be the birth-place of unhap-
lightened Ones killed defilements, [11] it’s not       piness later on, because happiness is unstable,
that they really killed them. If they had killed all   it changes all the time. When happiness disap-
defilements then we probably wouldn’t have             pears, unhappiness arises.
any! They didn’t kill defilements; when they
knew them for what they are, they let them go.                         To be continued
Someone who’s stupid will grab them, but the
Enlightened Ones knew the defilements in their




 คุณถวิล อ�าพันทอง ท�าบุญเลี้ยงพระ เนื่องในวันคล้ายวันเกิด วันที่ 13 พ.ย. 54 ขอให้มีสุขภาพแข็งแรงตลอดกาล
แสงธรรม 9    Saeng Dhamma

   The LADY WHO
  LOVES DHAMMA
     Essays On The Dhamma
        By Luang Ta Chi
    Edited by Du Wayne Engelhart

  ...Continued from last issue...                  Dhamma and thereby lived in peace and har-
                                                   mony. After a month of rest at the million-

  A     s for her grandfather, after seeing that
        Visakha had returned from welcom-
ing the Master, Mendaka went to receive the
                                                   aire’s home in Bhaddiya, the Lord decided it
                                                   was time for him to journey on to other parts
                                                   of the kingdom to spread the words of com-
Buddha and listen to the sermon himself.           passion to end suffering.
Afterwards, with a heart filled with devotion,          In the Scriptures the Buddha teaches that
he dedicated himself forever to the Buddha,        everything is impermanent (anicca), nothing
the Dhamma, and the Sangha. He invited             stands still, and everything keeps flowing. Our
the Lord and his disciples to eat with him, his    human lives thereby remain in this condition of
family, and the members of his household.          change as well. Visakha’s story is also one of
All welcomed the Buddha with the greatest          change according to this cycle of anicca. She
respect and served him the best food they          was born in the city of Bhaddiya, which was
had available. Everybody was happy to have         under the rule of the Magadha state. King Bim-
the opportunity to offer their food to the         bisara was the supreme ruler of the Sindhu re-
Lord. Most of all they were happy to listen        gion (present-day India), whose land extended
to his sermons and to observe the precepts.        far and wide. Governments thereby had to
All the people, including the children, were       be subdivided into states with their individu-
happy to have received the teaching. They          al rulers in charge according to administrative
continued to keep an attitude of loving the        policies at the time. Many small towns were
แสงธรรม 10    Saeng Dhamma
subject to the rule of larger states. King Bim-Doing the right things in terms of the Buddhist
bisara was the ruler of the Magadha state. KingScriptures does not require a big investment,
Pasenadi was the ruler of the Kosala state.    and doing good deeds is enough to maintain
King Bimbisara married the younger sister of   the practice of the good. So keep on do-
King Pasenadi, and the latter married the sister
                                               ing good things. People who do good things
of King Bimbisara, so the kings were brothers-in-
                                               will not likely be harmed by anything danger-
law. Since the brothers were so related, their ous. This is like having an umbrella in your
states, ruled in a brotherly way, brought them hand that protects you from the sun or rain.
peace of mind. If any problems arose, the      People who do good, no matter where they
kings could consult one another . . . .        are and no matter what they do, will be free
                                               from danger. It is, therefore, correct to say
      Dhammo Havay Rakkati Dhammacari that the good is like a great amulet, a power
      Shuttang Mahantang Viyay Vassakalay. that can make things happen . . . .
      Only the Dhamma will protect those
who do good, like a protective shelter dur-          Pharya Parama Sakha
ing a monsoon rain.                                  Phatta Panyana Mitthiya.
      The Dhamma is the good, the right, and         A wife is a best friend.
the true. For those who show these three             A husband is a woman’s pride.
qualities in their actions, they are likely to       The life of married people can be
have a shield, a protective and safe refuge. filled with problems because spouses can
So people should be interested in learning come upon many obstacles after the wed-
the Dhamma and should practice the Dham- ding. The husband becomes the head of
ma and not reject it. Since we are human be- the household. The wife becomes the one
ings, we should seek to do good, to do right, responsible for maintaining the household
and to speak what is true, for this is the way and is involved with many members of the
to leave an invaluable inheritance for our family. The husband has to love and re-
children. By doing good things for the sake spect his wife. The wife, likewise, must show
of our children and doing right things for the respect to the husband and to his family.
sake our grandchildren, we leave what young- Neither can carry on any more as before.
er generations will look up to and carry on. Whatever actions are taken, they must be
แสงธรรม 11     Saeng Dhamma
done with care and consideration. In the                 Dhamma in Buddhist Discourses
days of old people who loved their children                    All sensuous desires, whether sweet or
would train and advise them to hold firmly               bitter, will likely harm the heart in different
to their responsibilities. Once the children             ways. Those who see the results of sensual
set up households of their own, they would               desires and then let them go are traveling
understand that a strong family founda-                  alone like a rhinoceros.
tion is as important as a strong foundation                    Those who detach themselves from
for a house. The family’s well-being and                 anger and give up pride are those who step
prosperity depend upon the heads of the                  away from all attachment. All determining
household (husband and wife). Those who                  conditions and resulting suffering will not fol-
are strong in their beliefs, have a good un-             low those who are free from these attach-
derstanding of what is moral, and live by                ments and worries.
the Dhamma will be rewarded with a life of                     Those who do not worry about things
peace and happiness. It is therefore impor-              that have not yet happened will not be sad
tant that the heads of a household maintain              about things that have already passed. Those
the greatest discipline in carrying out their            who see peace whenever they deal with peo-
tasks. They must always remember that, as                ple will not judge others in terms of their own
heads of a household and parents of chil-                opinions.
dren, they should do their very best to per-                   Strength of mind and heart in facing dif-
form their duties.......                                 ficulties is the quality of scholars, the perse-




คุณลองรัก-คุณไก่ วราลี ภูศรี และญาติพนอง ร่วมกันท�าบุญเนืองในวันคล้ายวันเกิด เพือเสริมสิรมงคลให้ชวต 27 พ.ย. 54
                                     ี่ ้                ่                      ่        ิ       ีิ
แสงธรรม 12     Saeng Dhamma
verance of truth seekers, and the strength of        peace by letting go of all earthly attachments.
those who are holy. Strength of mind and                  Those who are calm, avoid bad deeds,
heart in facing difficulties will bring happiness.   and focus their thoughts on what is right can
     Those who do not give up and do not             be rid of all evils, just as the wind rids the
despair but continue to practice the Dhamma          branches of a tree of all leaves.
through ascetic peacefulness will reach En-               People who practice generosity, who
lightenment, thereby ending all worldly at-          behave justly, who remain humble, and who
tachments.                                           lead their lives as examples to others will live
     Those who do not feel sad about things          in happiness, for they will reap the benefits of
that have passed and do not long for things          their good deeds.
that have not yet arrived but focus on things             Those who have inner peace, intelli-
in the present are those with the right point        gence as a protection, a good understanding
of view.                                             of what is moral, insight, and unattachment
     Life is short, as old age gradually ap-         to desires will rightfully see the Dhamma.
proaches. When any living being reaches this
                                                                       The End
state, nothing can prevent life from coming to
an end. Those who see this truth will seek to find




        Students from River High School มาศึกษาพระพุทธศาสนาที่วัดไทยฯ ดี.ซี. 18 พ.ย. 54
                         ธรรมบรรยาย โดย...พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ
แสงธรรม 13 Saeng Dhamma




ประธานกฐินสามัคคี ประจ�าปี 2554 ขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่มาร่วมทอดกฐินในปีนี้ ขอให้มีความสุขทุกท่าน




นพ.อรุณ-คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ รับเป็นประธานทอดผ้ากฐินพระราชทาน ปี 2555 ขอเชิญทุกท่านมาร่วมบุญด้วยกัน
แสงธรรม 14         Saeng Dhamma




รัตติกาล “เจ็ดกันยา” ฟ้ามืดมิด ดวงดาวปิดเงียบเหงาเศร้าโศกศัลย์ อาลักรักพระดีสุดจาบัลย์ “พระเทพกิตติโสภณ” ท่านนั้นจากไป




สินเสาหลักพระผูนาพระธรรมทูต ท่านพิสจน์ดวยผลงานอันยิงใหญ่ องค์ประธานสมัชชาพระสงฆ์ไทย อยูแดนไกลอเมริกาคุณค่างาม
  ้            ้ ำ                 ู ้             ่                                   ่




ท่านดั่งแสง “วชิรธรรมปทีป” ส่อง ตามครรลองใช้ปัญญาพาก้าวข้าม นิวยอร์กคือแหล่งเรียนรู้อยู่ติดตาม ศิษย์ล้นหลามด้วยศรัทธาพระสงฆ์ดี
แสงธรรม 15 Saeng Dhamma




ท่ า นทำ า งานด้ ว ยใจไม่ เ คยท้ อ สื บ สานต่ อ พุ ท ธศาสน์ ส มศั ก ดิ์ ศ รี เป็ น ผู้ นำา ทำ า ให้ เ ห็ น เป็ น วิ ธี ยี่ สิ บ สี่ ปี บ ริ ห ารงานสมั ช ชา




กลิ่นความดีที่หอมหล่อหลอมรัก แจ้งประจักษ์ฝากไว้ให้ศึกษา ด้วยผลงานเจ็ดสิบเก้าปีที่ผ่านมา อนัตตาคำาสอนก่อนสิ้นใจ




อาลัยรักด้วยศรัทธาพระสินแล้ว ร่มไทรแก้วของปวงศิษย์เคยชิดใกล้ จิตสะอาดสว่างสงบจบโรคภัย ดวงวิญญาณสูสวรรคาลัยนิรนดร์เทอญ
                       ้                                                                         ่           ั
แสงธรรม 16        Saeng Dhamma
                                     บทความพิเศษ ... เพื่อทดแทนพระคุณพ่อ
                                                 กตัญญูกตเวที คือ
                                           ความดีที่คนดีทำาตอบแทน


      จ       ากอดีตจนมาสู่ปัจจุบัน        พระบาทสมเด็จ
              พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พ่อหลวงของ
ปวงชนชาวไทย ทรงปฏิบัติภาระกิจเพื่อราษฎร ทรงสละ
                                                                       ดังนั้น เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีต่อพ่อแห่งแผ่น
                                                                ดินหรือผู้มีพระคุณต่อชาวไทยทุกท่าน จึงได้น�าวิธีการ
                                                                แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีที่จะพึงกระท�าตอบแทน
สุขส่วนพระองค์เสด็จทรงเยี่ยมเยียนราษฎรทั่วทุกภาค                จึงได้น�าเอาลักษณะแห่งการกระท�าที่ถูกต้อง เหมาะสม
ทุกจังหวัด แม้ในถิ่นทุรกันดาร บ�าบัดทุกข์บ�ารุงสุขแก่           ตามหลักธรรมแห่งกตัญญูกตเวทีในพระพุทธศาสนามา
ราษฎรของพระองค์                                                 แสดงให้ท่านทั้งหลายได้ทราบดังนี้
       แม้วันนี้พระราชกิจเสด็จฯ ทรงเยี่ยมเยียนราษฎร
จะไม่มีมากเหมือนก่อน ด้วยพระชนมายุและด้วยพระ                    ลั ก ษณะของความกตั ญ ญู ก ตเวที ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์
พลานามัย ด้วยพระราชกิจต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้นแต่                 พระพุทธศาสนา
หากดูว่าการเสด็จฯ ทุกจังหวัดเมื่อครั้น ๔๐-๕๐ กว่าปี                     ตั ว อย่ า งเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ความกตั ญ ญู ก ตเวที ที่
ก่อน ทรงพบความยากล�าบากในการเดินทางมากกว่า                      ยกมาศึกษาจะเน้นเฉพาะที่ส�าคัญๆ ได้แก่ ความกตัญญู
สมัยนี้ กระนั้นมิทรงย่อท้อ แม้เป็นการเดินทางไปในถิ่น            กตเวทีระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับเทวดา มนุษย์
ทุรกันดารก็ตามแต่ ทรงบากบั่นเสด็จฯ ให้พสกนิกรไทย                กับอมนุษย์ มนุษย์กับสัตว์เดรัจฉาน สัตว์เดรัจฉานกับ
ได้ชื่นชมพระบารมีโดยทั่วกัน สร้างขวัญและก�าลังใจแก่             สัตว์เดรัจฉาน การแสดงความกตัญญูกตเวทีของมนุษย์
ปวงชน ที่ส�าคัญทรงวางพื้นฐานอาชีพแก่ราษฎรผู้ยากไร้              ต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และจะศึกษาวิเคราะห์
ในท้องถิ่นห่างไกลความเจริญ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอ                  ว่าการแสดงความกตัญญูกตเวที ว่ามีลักษณะอย่างไร ใน
เพียงที่พระองค์ท่านทรงด�าริ                                     ที่นี้จะได้เฉพาะประเด็นความกตัญญูต่อมนุษย์ ดังนี้
       “น้ำ � พระทั ย อั น ดี ข องพระองค์ ท� า ให้ พ สกนิ ก ร
ไทยทั่วทุกหนทุกแห่งถวายความจงรักพักดีแด่พระองค์                 ความกตัญญูกตเวทีที่มีต่อเพื่อนมนุษย์
ท่าน อย่างหมดใจ”                                                    ในหัวข้อว่าด้วยความกตัญญูกตเวทีระหว่างมนุษย์
แสงธรรม 17 Saeng Dhamma
กับมนุษย์นี้         จะได้กล่าวถึงลักษณะของความกตัญญู พระองค์ ค�าสอนที่พระโพธิสัตว์แสดงแก่ยักษ์ความว่า
กตเวทีระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ลักษณะของความกตัญญู                         บุ ค คลใดยอมตายเพื่ อ ปลดเปลื้ อ งบิ ด าของตน
ระหว่ า งมนุ ษ ย์ กั บ มนุ ษ ย์ ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ พ ระพุ ท ธ หรือเพราะเหตุแห่งมารดาบุคคลนั้นไปสู่ปรโลกแล้ว
ศาสนาพอประมวลกล่าวเป็นตัวอย่าง ดังนี้                             เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยความสุขและอารมณ์อันเลิศ
                                                                         ชาดกนี้แสดงให้เห็นว่า บุตรธิดาผู้ตั้งอยู่ในคุณธรรม
ความกตัญญูกตเวทีที่บุตรมีต่อมารดาบิดา                             คือความกตัญญูกตเวที ด้วยการยอมสละชีวิตของตน
       ในตักกลชาดก               ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์เสวย เพื่อปกป้องคุ้มครองมารดาบิดาของตนไว้ ย่อมประสบ
พระชาติเป็นบัณฑิตกุมาร ได้ยินเรื่องที่มารดาบอกให้ แต่ ค วามสุ ข ความเจริ ญ ทั้ ง ในขณะที่ มี ชี วิ ต อยู่ แ ละหลั ง
บิดาฆ่าปู่ จึงช่วยปู่ให้รอดตายและออกอุบายให้บิดาขับ จากล่ ว งลั บ จากโลกนี้ ไ ปแล้ ว ลั ก ษณะการแสดงความ
ไล่มารดาออกจากบ้านเพื่อให้ได้ส�านึก และพระโพธิสัตว์ กตัญญูกตเวทีของพระโพธิสัตว์ต่อบุพการีในชาดกเรื่องนี้
ได้ปรารภธรรมว่า ผูใดมีความชัวช้า เบียดเบียนพ่อแม่ ก็คือการยอมสละชีวิตของตนเองเพื่อปกป้องชีวิตบิดาให้
                        ้                 ่
ผูไม่ประทุษร้ายตน เมือตายไปชาติหน้า ผูนนจะตกนรก รอดพ้นจากการถูกยักษ์กิน
  ้                         ่                       ้ ้ั
อย่างไม่ตองสงสัย ส่วนผูใดบ�ารุงพ่อแม่ดวยข้าวและน้�
          ้                    ้                  ้             ำ        ในสุตนชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์สมัยเสวยพ
เมือตายไปชาติหน้า ผูนนจะขึนสวรรค์อย่างไม่ตองสงสัย ระชาติเป็นคนยากจน เลี้ยงดูมารดา รับอาสาพระเจ้ากรุง
    ่                     ้ ้ั       ้                   ้
       จากการศึกษาชาดกเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า พระ พาราณสีน�าอาหารไปให้ยักษ์กินได้ทรมานยักษ์ให้เลิก
โพธิสัตว์ได้แสดงความกตัญญูกตเวทีทั้งต่อปู่ มารดาและ พยศร้ายและให้ตั้งอยู่ในศีลตลอดไป เนื้อความแห่งชาดก
บิดา กล่าวคือ การแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อปู่โดยใช้ สรุปได้ว่า
ปัญญาออกกุสโลบายช่วยให้ปู่ไม่ถูกบิดาฆ่าตาย และได้                        ในอดีตกาล พระเจ้าพาราณสีได้เสด็จไปล่าเนื้อใน
แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อมารดาบิดาด้วยการป้องกัน ป่ากับพวกทหาร ขณะที่ก�าลังล้อมจับเนื้ออยู่นั้น เนื้อได้
ไม่ให้มารดาบิดาท�าปิตุฆาต ซึ่งเป็นอนันตริยกรรมโดย วิ่งหนีไปทางพระเจ้าพาราณสี พระองค์จึงทรงวิ่งไล่ตาม
การแสดงธรรมเตือนสติท่านทั้งสองว่า การเบียดเบียน เนื้อไปและฟันจนขาดเป็นสองท่อนแล้วเอาเนื้อนั้นกลับ
มารดาบิดาเป็นความอกตัญญูมีผลเป็นความชั่วร้าย ต้อง มา ระหว่างทางพระองค์ได้ทรงแวะพักและเผลอหลับไป
เดือดร้อนประสบแต่ความทุกข์ แต่การประพฤติเป็นคน ที่ใต้ต้นไทรแห่งหนึ่ง เมื่อตื่นบรรทมแล้วจะเสด็จกลับได้
กตัญญูกตเวทีคือบ�ารุงเลี้ยงดูมารดาบิดาด้วยวัตถุสิ่งของ มียักษ์ที่อาศัยอยู่ที่ต้นไทรนั้นลงมาจับข้อพระหัตถ์ของ
แม้เป็นเพียงข้าวและน้ำ�                มีผลเป็นความดีงามกตัญญู พระองค์ไว้พร้อมกับขู่ว่า ผู้ที่มาอยู่ใต้ต้นไทรนี้ จะต้อง
กตเวทีชนจะพบแต่ความสุขความเจริญทั้งในโลกนี้และ ถูกกินเป็นอาหาร พระเจ้าพาราณสี ได้ขอให้ยักษ์กินเนื้อ
โลกหน้า                                                           แทนพระองค์พร้อมกับสัญญาว่า ถ้าปล่อยกลับไป จะส่ง
       ในชยัททิสชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์สมัย คนพร้อมกับอาหารมาให้กินทุกวัน เมื่อพระเจ้าพาราณสี
เมื่อเสวยพระชาติเป็นพระโอรสของพระเจ้าชัยทิศทรง เสด็จกลับไปถึงพระนคร ก็ทรงให้เบิกนักโทษจากเรือนจ�า
พระนามว่า อลีนสัตตุกุมาร ทรงแสดงความกตัญญูยอม ให้แบกภาชนะอาหารไปให้ยักษ์กินวันละคน ต่อมาเมื่อ
สละพระชนม์ชีพของพระองค์ให้ยักษ์กินแทนบิดา แต่ นักโทษในเรือนจ�าหมด พระเจ้าพาราณสี จึงได้ให้คนน�า
ยักษ์เกิดเลื่อมใสจึงยอมปล่อยไปและตั้งอยู่ในโอวาทของ ถุงทรัพย์พันต�าลึงขึ้นวางบนหลังช้าง ให้ตีกลองประกาศ
แสงธรรม 18        Saeng Dhamma
ว่า ถ้าคนใดสามารถน�าภาชนะอาหารไปให้ยักษ์ได้พระ                 สมัยเสวยพระชาติเป็นโสณบัณฑิต เมื่อเจริญวัยและเรียน
ราชาจะพระราชทานทรัพย์ให้หนึ่งพันต�าลึง ขณะนั้น                 จบพระเวทแล้วได้ออกบวชเป็นดาบสพร้อมด้วยมารดา
สุตมาณพได้ยินการประกาศ จึงคิดว่า เรายากจนเลี้ยงดู              บิดาและน้องชายอยู่ที่ป่าหิมพานต์ ต่อมา โสณบัณฑิตได้
มารดาต้องล�าบากเป็นอย่างมาก เราจะไปรับเอาถุงทอง                ห้ามนันทบัณฑิตผู้เป็นน้องชายมิให้ปรนนิบัติมารดาบิดา
นั้นมาให้มารดาและจะอาสาน�าอาหารไปให้ยักษ์แม้จะ                 เพราะมักจะแสวงหาผลไม้ดิบมาให้มารดาบิดาบริโภคอยู่
ตายก็ยอม จากนั้นจึงได้ไปบอกให้ราชบุรุษทราบ รับเอา              เสมอ ๆ แต่นันทบัณฑิตไม่เชื่อฟัง จึงถูกขับไล่กลับไปอยูท่ี     ่
ถุงทรัพย์ไปให้มารดาเข้าไปรับอาสาจากพระเจ้าพาราณสี              บรรณศาลาของตน และได้เจริญกสิณจนได้อภิญญาห้า และ
เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว ได้ทูลขอฉลองพระบาท เศวตฉัตร              สมาบัตแปด จากนัน จึงเหาะไปเฝ้าพระเจ้ามโนชะแห่งกรุง
                                                                        ิ            ้
และพระขรรค์รวมถึงภาชนะทองค�าไปด้วย เมื่อเดินทาง                พรหมวัฒนะ พร้อมทั้งรับอาสาน�ากองทัพไปยึดหัวเมือง
ไปถึงใกล้ที่อยู่ของยักษ์ สุตมาณพได้สวมฉลองพระบาท               ทั่วชมพูทวีปมาเป็นเมืองขึ้นได้เป็นผลส�าเร็จแล้วพาพระ
ทองค�า กั้นเศวตฉัตร ถือพระขรรค์ด้วยมือข้างขวา แบก              ราชาเหล่านั้นมาขอขมาโทษโสณบัณฑิตผู้เป็นพี่ชาย โสณ
ภาชนะอาหารด้ ว ยมื อ ข้ า งซ้ า ยเดิ น เข้ า ไปใกล้ ต้ น ไทร   บั ณ ฑิ ต ได้ แ สดงกตั ญ ญู ก ตเวทิ ต าธรรมแก่ นั น ทบั ณ ฑิ ต
จากนั้ น ยื่ น ภาชนะอาหารให้ ยั ก ษ์ ด้ ว ยปลายพระขรรค์        และพระราชาเหล่านั้น และอนุญาตให้นันทบัณฑิตผู้เป็น
และเรียกให้ยักษ์ลงมากิน ฝ่ายยักษ์คิดว่า บุรุษคนนี้น�า          น้องชายได้ปรนนิบัติมารดาบิดาต่อไป ในเรื่องนี้มีเนื้อหา
อาหารมาให้ด้วยอาการแปลก ๆ จึงเชื้อเชิญมาณพกิน                  แสดงความกตัญญูกตเวทีไว้ความว่า
อาหารด้วยกัน สุตมาณพตอบปฏิเสธ ยักษ์จึงกล่าวว่า ผู้                     บัณฑิต พึงนอบน้อมและพึงสักการะมารดาและ
ที่น�าอาหารมาให้จะต้องถูกจับกินเป็นอาหาร สุตมาณพ               บิดาทั้งสองนั้นด้วยข้าวและน้�าด้วยผ้านุ่งผ้าห่มและ
ไม่แสดงอาการกลัวแต่อย่างใด และกล่าวกับยักษ์ว่า เวลา            ที่นอนด้วยการอบตัวและอาบน้ำ�ให้และด้วยการล้าง
นี้เราไม่ได้เหยียบพื้นดินของท่าน เราเหยียบรองเท้าของ           เท้าทั้งสองให้ท่านเพราะการบ�ารุงมารดาและบิดาทั้ง
เรา เราไม่ได้อยู่ใต้ร่มไม้ของท่าน เราอยู่ใต้ร่มเศวตฉัตร        สองนั้นบัณฑิตทั้งหลายจึงสรรเสริญเขาในโลกนี้ทีเดียว
ของเรา เรามีพระขรรค์อยู่ในมืออาจฟันท่านได้ทันทีดัง             เขาตายไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์
นั้นท่านจึงไม่มีสิทธิ์ที่จะจับเรากินเป็นอาหาร เมื่อยักษ์ได้            ชาดกนี้ชี้ให้เห็นว่า บุคคลที่ยึดมั่นและประพฤติ
ฟังดังนั้นแล้วก็มีความเห็นด้วย จึงยอมนับถือ สุตมาณพ            คุณธรรมคือความกตัญญูกตเวทีต่อมารดาบิดาด้วยการก
จึงสอนยักษ์ให้รับศีลห้าและให้ตามกลับไปที่กรุงพาราณสี           ระท�าที่เป็นกุศลกรรม ตอบแทนบุญคุณด้วยมุ่งหมายให้
เมือพระเจ้าพาราณสี ทรงทราบก็ทรงโปรดปรานตังให้สต
    ่                                                ้ ุ       เกิดความสุขสบายด้วยปัจจัยสี่ คือด้านอาหาร บ�ารุงด้วย
มาณพเป็นเสนาบดี                                                ข้าวและน้ำ� ด้านเครื่องนุ่งห่มบ�ารุงด้วยผ้านุ่งห่มเครื่อง
       ชาดกเรืองนี้ เป็นอีกเรืองหนึงทีแสดงถึงลักษณะการ
                ่               ่ ่ ่                          ใช้สอยต่าง ๆ ด้านที่อยู่อาศัย บ�ารุงด้วยผ้าห่ม ที่นอน
แสดงความกตัญญูกตเวทีของพระโพธิสัตว์ท่ีมีต่อมารดา               วัตถุสิ่งของอื่น ๆ และด้านสุขภาพอนามัย บ�ารุงด้วยการ
อย่างแรงกล้า ด้วยการสละชีวตตนเองเพือให้มารดาได้อยู่
                                 ิ          ่                  ปรนนิบัติ พัดวีล้างเท้าให้ท่านทั้งสอง เป็นการกตัญญู
อย่างสุขสบาย ด้วยผลแห่งความตังมันในกตัญญูกตเวทิตา
                                     ้ ่                       ในด้านมุ่งหมายให้เกิดความสุขทางกายภาพ การกระ
ธรรมจึงส่งผลให้เกิดสิงทีดแก่ชวตในทีสด
                         ่ ่ี ีิ ุ่                            ท�าดังที่กล่าวข้างต้นจัดเป็นสิ่งที่น่าสรรเสริญ บุตรธิดา
       ในโสณนันทชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์เมื่อ             ที่ประพฤติเช่นนี้ย่อมประสบแต่สิ่งที่ดีงามทั้งในปัจจุบัน
แสงธรรม 19 Saeng Dhamma
และในโลกหน้า                                                     นิบตเิ ลียงดูดวยปัจจัยสี่ ดังตัวอย่างเรือง โสณันทชาดก
                                                                      ั ้ ้                                ่
        ในสุวัณณสามชาดก            ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์              ๒. การแสดงความกตัญญูกตเวทีด้วยการยอม
เสวยพระชาติเป็นสุวรรณสามดาบสเลี้ยงดูมารดาบิดา                    สละชีวิตตนเองเพื่อปกป้องชีวิตมารดาบิดา ดังตัวอย่าง
ผู้เป็นดาบสตาบอดอยู่ในป่า ต่อมาวันหนึ่งสุวรรณสาม                 เรื่อง ชยัททิสชาดก และสุตนชาดก
ดาบสไปตักน้�าและถูกพระเจ้าปิลยักษ์ยิงด้วยลูกศร ด้วย                      ๓. การแสดงความกตัญญูกตเวทีด้วยการให้ตั้ง
ความเข้าใจผิดคิดว่าสุวรรณสามเป็นคนไล่เนื้อให้หนีไป               มั่นในธรรม ดังตัวอย่างเรื่องตักกลชาดก และสุวรรณ
ก่อนจะสลบล้มลงไป สุวรรณสามได้ทูลขอร้องว่า ให้พระ                 สามชาดก
เจ้ากปิลยักษ์ช่วยเลี้ยงดูมารดาบิดาแทนท่าน พระเจ้าปิล                     อนึ่ง พระบรมศาสดาได้แสดงหลักการตอบแทน
ยักษ์เข้าพระทัยว่าสุวรรณสามดาบสตายแล้วจึงเสด็จไป                 คุณของมารดาบิดาที่แท้จริงกับการที่ท่านให้ก�าเนิดเรา
น�ามารดาบิดาของสุวรรณสามดาบสมาดูศพ เมื่อดาบส                     มาและอุปการะเลี้ยงดูเราให้เติบใหญ่ดังนี้
ทั้งสองสัมผัสร่างของบุตรจึงพากันร้องไห้คร่�าครวญอย่าง                    “...พระพุทธเจ้าตรัสว่า ถึงแม้ว่าลูกจะรักพ่อแม่
น่าเวทนา จากนั้นจึงได้ท�าสัจกิริยาขอให้พิษร้ายออก                มาก ตั้งใจทะนุถนอมเลี้ยงท่านด้วยทรัพย์สินเงินทองวัตถุ
จากร่างกายของสุวรรณสาม นอกจากนี้ เทพธิดาซึ่งเคย                  บ�ารุงบ�าเรอให้พรั่งพร้อมสะดวกสบายอย่างบริบูรณ์ที่สุด
เป็นมารดาของสุวรรณสามก็มาช่วยท�าสัจกิริยาด้วย เมื่อ              ไม่ให้ท่านต้องล�าบากเหน็ดเหนื่อยกระทบกระเทือนเลย
สุวรรณสามฟื้นขึ้นจึงแสดงธรรมแก่พระเจ้าปิลยักษ์และ                แม้แต่นิดเดียว ก็ยังไม่ชื่อว่าตอบแทนคุณพ่อแม่ได้จริง
ให้ตั้งอยู่ในศีลห้า และแสดงหลักความกตัญญูกตเวที                  แต่เมื่อใดลูกหาทางท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีศรัทธา ให้มีศรัทธา
ความว่า                                                          ท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีศีล ให้มีศีล ท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีจาคะ ให้
        บุคคลใดเลี้ยงดูมารดาและบิดาโดยธรรม แม้                   มีจาคะ ท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีปัญญา ให้มีปัญญาได้ เมื่อนั้น
เทวดาก็เยียวยารักษาบุคคลผู้เลี้ยงดูมารดาและบิดา                  แหละ ลูกจึงจะชื่อว่าตอบแทนคุณพ่อแม่ได้แท้จริง
นั้น บุคคลใดเลี้ยงดูมารดาและบิดาโดยธรรม แม้นัก                           เพราะฉะนัน  ้       ลูกจึงควรหาทางช่วยให้พอแม่ได้
                                                                                                                        ่
ปราชญ์ ทั้ ง หลายย่ อ มสรรเสริ ญ บุ ค คลนั้ น ในโลกนี้           เจริญพัฒนาชีวตจิตใจของท่านมาก ๆ ขึน ช่วยจัดแจง
                                                                                  ิ                          ้
บุคคลนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์                      ขวนขวายเพือให้ทานเจริญด้วยศรัทธา ด้วยศีล ด้วยสุตะ
                                                                               ่ ่
        เนื้อความแห่งชาดกนี้ชี้ให้เห็นว่าบุคคลที่ประพฤติ         คือความรู้ ด้วยจาคะคือความเสียสละท�าประโยชน์ และ
คุณธรรมคือความกตัญญูกตเวที ดูแลเลี้ยงดูมารดาบิดา                 ด้วยปัญญา พูดง่าย ๆ ว่าเจริญด้วยบุญกุศล ช่วยท�า
โดยธรรม ด้วยวิธีการต่าง ๆ ย่อมแสดงให้เห็นว่าลูกที่               ทางข้างหน้าของท่านให้เป็นทางแห่งสวรรค์ และอมฤต
ปรนนิบัติมารดาบิดา ย่อมพ้นจากความทุกข์ได้รับความ                 นิพพาน ให้ท่านมีจิตใจดีงาม ไม่ขุ่นมัว เศร้าหมอง มีแต่
สุข แม้แต่เทวดาทั้งหลายก็ยังให้การนิยมยกย่องและ                  ความสดชื่น ร่าเริง เบิกบาน ผ่องใส ถ้าลูกท�าได้ถึงขั้นนี้
สรรเสริญทั้งในขณะที่มีชีวิตอยู่และหลังจากที่ละโลกนี้ไป           ก็เรียกว่าเป็นบุตรธิดาที่ประเสริฐเลิศล้ำ� เพราะได้ช่วยให้
        จากการศึกษาวิจัยพบว่า การแสดงความกตัญญู                  พ่อแม่ได้สิ่งที่มีคุณค่าแท้จริงแก่ชีวิตของท่าน…”
กตเวที ที่ ลู ก กระท� า ต่ อ มารดาบิ ด าที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์
พระพุทธศาสนา สรุปแล้วจะมีอยู่ ๓ ลักษณะ คือ
        ๑.การแสดงความกตั ญ ญู ก ตเวที ด้ว ยการปรน
แสงธรรม 20        Saeng Dhamma




                                         โดย ธมฺมธโรภิกฺขุ (วิชัย หานศุภิชน)

	ก        ารที่ผมคิดจะบวชนั้นเพราะอยากพักจากงานซัก
          ระยะ	และเป็นการตอบแทนบุญคุณของคุณพ่อและ
คุณแม่	 ผมเคยได้ยินคนเขาบอกว่า	คนที่จะบวช	ย่อมจะมี
                                                           ศีลให้มั่น	เราจะมี	สมาธิ	และ	สติ	จึงท�าให้ใจเราสงบ	ซึ่ง
                                                           จะน�าไปสู่ข้อที่	๓
                                                           	 ๓. อธิปัญญาสิกขา	คือการศึกษาทางปัญญา	คือการ
มารมาผจญ	 เหมือนดั่งคืนที่เจ้าชายสิทธัตถะจะออกบวช	         รอบรู้ในกองสังขาร	 ซึ่งจะท�าให้เราไม่เครียดต่อเรื่องที่เกิด
การบวชของผมก็มีอุปสรรคเช่นเดียวกัน	 นั่นคือการที่คุณ       ในชีวิต
พ่อธ�ารง	หานศุภชน	ซึงเป็นพ่อผม	ได้เสียชีวตลงก่อนวันงาน
                   ิ ่                    ิ                     ค. อริยสัจ ๔	 แปลว่า	 ความจริงอันประเสริฐ	 เป็น
เพียงแค่	๑๑	วัน	ผมเสียใจและเสียดายมากทีทานไม่มโอกาส
                                             ่ ่     ี     หลักค�าสอนของพระพุทธเจ้า	ซึ่งมีดังนี้
ได้อยูรวมงานในครังนี	 แต่อย่างไรก็ตาม	ผมก็หวังว่าผลบุญ
       ่่           ้ ้                                    	 ๑. ทุกข์	 คือ	ค�าที่ทุกคนน่าจะรู้จักเป็นอย่างดี	 หลาย
ในการบวชครังนีจะส่งไปถึงท่านเพือให้ทานได้ไปสูสคติ
               ้ ้              ่     ่          ่ ุ       อย่างในชีวิตประจ�าวันท�าให้เราทุกข์ได้
	 ถึงแม้ผมจะมีโอกาสบวชเป็นระยะเวลาแค่	 ๗	 วัน	 แต่         	 ๒. ทุกขสมุทัย	คือ	สาเหตุที่ท�าให้เกิดทุกข์
ก็ได้ศึกษาและเรียนรู้ในหลาย	ๆ	เรื่องเกี่ยวกับพระธรรมค�า    	 ๓. ทุกขนิโรธ	คือ	การดับทุกข์
สอนของพระพุทธเจ้า	ทีสามารถเอามาปฏิบตในชีวตประจ�า
                        ่                   ั ิ ิ          	 ๔. ทุกขนิโรธคามินปฏิปทา	 คือ	 แนวปฎิบตทนาไปถึง
                                                                                    ี                       ั ิ ี่ �
วันได้หลังจากลาสิกขาแล้ว	 ดังนั้นผมจะขอน�าเอาธรรมะที่      ความดับทุกข์	ได้แก่	มรรคมีองค์	๘	คือ	๑.	สัมมาทิฎฐิ-ความ
ได้เรียนมาพอเป็นตัวอย่าง	๔	เรื่อง	ที่จะสามารถเอาไปใช้      เห็นชอบ	๒.	สัมมาสังกัปปะ-ความด�าริชอบ	๓.	สัมมาวาจา-
ให้เกิดประโยชน์ในการด�ารงชีวิตได้                          เจรจาชอบ	 ๔.	 สัมมากัมมันตะ-ท�าการงานชอบ	 ๕.	 สัมมา
	 ก. ฆราวาสธรรม	 ที่หมายความว่า	 คุณสมบัติของผู้           อาชีวะ-เลียงชีพชอบ		๖.	สัมมาวายามะ-พยายามชอบ	๗.	สัมมา
                                                                     ้
ครองเรือน	หรือของชาวบ้านทั่วไป	มีอยู่ทั้งหมด	๔	ข้อ         สติ-ระลึกชอบ	๘.	สัมมาสมาธิ-ตังใจชอบ	ซึงเรียกอีกชือหนึง
                                                                                           ้          ่              ่ ่
	 ๑. สัจจะ แปลว่า ซือตรง สุจริต มีความจริงใจต่อกัน
                          ่                                ว่า	“มัชฌิมาปฏิปทา” หรือ ทางสายกลาง นันเอง   ่
     ๒. ทมะ แปลว่า ข่มจิต รักษาใจ พัฒนาคุณธรรม             	 อริยสัจ	๔	สามารถใช้ได้โดยง่ายในทุกสถานการณ์	เมือ            ่
ให้เข้าหากันได้                                            เรามีทุกข์เราควรจะหาสาเหตุที่ท�าให้เกิดความทุกข์นั้น	จึง
     ๓. ขันติ แปลว่า อดทน อดกลั้น ต่อความล�าบาก            จะสามารถหาทางปฏิบัติในสิ่งที่จะน�ามาซึ่งการดับความ
ความเจ็บทั้งกายและใจ                                       ทุกข์ได้
     ๔. จาคะ แปลว่า เสียสละ แบ่งปัน ให้กบคนรอบกาย
                                               ั           	 ง. การท�าบุญ	–	ผมเชื่อว่าหลาย	ๆ	คนคงรู้ว่า	บุญ	
	 ข. ไตรสิกขา	 ที่ความหมายว่า	 สิ่งที่ต้องศึกษา	 ๓	        นั้นคืออะไร	 แล้วท�ากันยังไง	 ส่วนใหญ่คงตอบง่าย	 ๆ	 คือ
ประการ                                                     การให้ทาน	ให้สงของ	บริจาคเงิน	แล้วมีทางอืนทีจะท�าแล้ว
                                                                            ิ่                            ่ ่
	 ๑. อธิสีลสิกขา	 คือการศึกษาเรื่องศีล	 ให้ใช้ในการ        ได้บุญหรือเปล่าถ้าเราไม่มีก�าลังทรัพย์?	จริง	ๆ	แล้วบุญนั้น
รักษากาย	วาจา	ให้เรียบร้อย	แต่การรักษาใจนั้น	ต้องใช้       ท�าได้หลายทาง	ท�าได้บอย	และท�าได้ทกทีทกเวลา	แค่ปฏิบติ
                                                                                  ่             ุ ่ ุ                  ั
ข้อที่	๒	เป็นหลัก                                          อยู่ในศีลธรรมนั้นก็ได้บุญแล้ว	 หรือถ้าท่านใดที่อ่านเรียง
	 ๒. อธิจตตสิกขา	คือการศึกษาเรืองสมาธิ	ถ้าเรารักษา
             ิ                      ่                      ความนี้	 ท่านและผมก็ได้บุญเช่นเดียวกัน	เป็นเพราะว่าบุญ
แสงธรรม 21 Saeng Dhamma
นี	เกิดมาจากทีผมแสดงความรูในธรรม	และท่านได้บญจาก
   ้              ่            ้                    ุ        ในวัดหรือต่อหน้าเพือนฝูง	สมาคม	เท่านันเลย	ท่านไม่ตอง
                                                                                       ่               ้              ้
ที่ท่านได้อ่านความรู้นี้เอง	 บางท่านอาจจะคิดว่ารอให้ถึง      รอถึงชาติหน้าหรอกทีจะได้เสวยสุขในผลบุญทีทาไว้	ผลบุญ
                                                                                         ่                    ่ �
วันพระหรือวันส�าคัญถึงจะท�าบุญ	บางท่านอาจจะคิดว่าต้อง        นั้นสามารถเห็นผลเร็ว	อาทิ	 ถ้าท่านมีใจท�าบุญเต็มที่ไม่ว่า
ท�าแบบใหญ่	 ๆ	เท่านั้น	แต่แท้ที่จริงแล้วเราควรที่จะสะสม      จะเป็นสิ่งของหรือให้ธรรม	 ผลบุญจะท�าให้ท่านมีความสุข	
บุญทุกโอกาส	ถึงแม้จะน้อยนิดก็ตาม	เปรียบเสมือนการสะ           มีจิตใจงาม	 ท่านก็จะปฏิบัติดีงามกับคนรอบข้าง	 และจะ
สมเงินใว้ใช้ในอนาคต	ถึงแม้เราจะเก็บได้นอยแต่ถาท�าบ่อย	ๆ	
                                           ้   ้             ท�าให้พวกเขาท�าดีต่อท่านกลับ	ผลบุญนั้นก็จะส่งต่อ	ๆ	กัน
เข้า	ผลที่จะได้รับก็คือเงินสะสมจะงอกงามมาได้เหมือนกัน	       ไป	หรือถ้าเราท�าบุญด้วยการออกแรง	ผลบุญทีได้รบก็คอการ
                                                                                                           ่ ั ื
ตามหลักธรรมแล้วเราสามารถสร้างบุญได้	๑๐	ทาง                   ทีรางกายของเราได้ออกก�าลังกายและจะมีสขภาพทีแข็งแรง
                                                               ่่                                        ุ        ่
	 ๑. ทานมัย คือ	การให้	บริจาค	ทรัพย์	สิงของ	อาหาร	
                                             ่               	 หัวข้อที่ผมกล่าวมาทั้งหมดนั้น	เป็นแค่บางส่วนที่ผมได้
ให้แก่ผู้ควรให้                                              เรียนมาและทียงไม่ได้เรียนอีกมากมาย	ในความเห็นของผม
                                                                                 ่ ั
	 ๒. ศีลมัย	คือ	การอยู่ในศีล	และ	ไม่สร้างความเดือด           นัน	ทุกชีวตทีเกิดมาบนโลกอันแสนจะวุนวายนี้	ย่อมมีความ
                                                                ้        ิ ่                        ่
ร้อนให้กับผู้อื่น                                            ทุกข์มากกกว่าสุขทีตดตามตัวมาอยูตลอดเวลา	บางคนอาจ
                                                                                     ่ ิ          ่
	 ๓. ภาวนามัย	คือ	การท�าสมาธิ	สวดมนต์	ฟังธรรม	               จะเกิดมาในความร�่ารวยและมีพร้อม	 แต่ถ้าไม่มีความรู้ใน
อ่านหนังสือธรรมะ                                             การดับทุกข์	หรือความรู้ที่จะท�าให้เราปล่อยให้ความทุกข์ที่
	 ๔. อปจายนมั ย 	 คื อ 	 การเคารพอ่ อ นน้ อ มต่ อ ผู ้ มี    เข้ามานั้นออกไป	จิตใจเราก็จะมีแต่ความทุกข์	 เศร้าหมอง	
คุณธรรม                                                      และเครียด	 ผลที่ได้รับก็จะขยายไปถึงคนใกล้ชิดและสภาพ
	 ๕. เวยยาวัจจมัย	คือ	การช่วยเหลือในกิจที่ชอบ	เช่น	          แวดล้อมของเราเองด้วย
ท�าความสะอาดวัด	ช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยาก                     	 สุดท้ายนี	ผมหวังว่าข้อความในเรียงความของผมนี้	อาจ
                                                                             ้
      ๖. ปัตติทานมัย	คือ	การให้ส่วนบุญ                       จะเพิมความรูเปลียนความคิดของท่านให้ปรับพฤติกรรมใน
                                                                  ่             ้ ่
	 ๗.	 ปัตตานุโมทนามัย	 คือ	 การอนุโมทนาในบุญที่ผู้           กาย	วาจา	และ	ใจ	ให้ดียิ่งขึ้น	บางท่านอาจจะรู้อยู่แล้วก็
อื่นท�า	                                                     สามารถเอาข้อความในเรียงความนี้ไปบอกต่อกับคนรอบ
	 ๘. ธัมมัสสวนมัย	คือ	การฟังธรรม                             ข้าง	 เพื่อที่จะท�าให้สังคมเรานี้มีความน่าอยู่มากขึ้น	 ท่าน
	 ๙. ธัมมเทสนามัย	คือ	การแสดงธรรม                            เองก็ได้บุญด้วยเช่นกัน	ขอให้ท่านอยู่ในศีล	๕	ข้อ	ชีวิตท่าน
	 ๑๐. ทิฏฐุชกมม์ คือ	การปรับปรุงชีวตของตนเองให้ถกต้อง
                 ุ ั                  ิ               ู      ก็จะไม่รู้สึกล�าบาก
	 อย่างทีผมกล่าวมาข้างต้นแล้ว	บุญนันสามารถท�าได้ทก
             ่                           ้              ุ    	 ผมขอขอบคุณพระทุกรูปในวัดไทยกรุงวอชิงตัน	ดีซี	ที่
เมื่อทุกเวลา	ถึงแม้ท่านจะไม่มีเงิน	ปัจจัย	หรือ	สิ่งของ	แต่   ให้โอกาส	ความรู้	และประสบการณ์ใหม่ในชีวิตของผม	ผม
ถ้าท่านออกแรงช่วยแบบอืน	ผมคิดว่าท่านจะได้บญมากกว่า
                           ่                     ุ           จะใช้ความรูนให้เกิดประโยชแก่ตวผมและคนทีเข้ามาในชีวต
                                                                           ้ ี้                ั            ่           ิ
ที่มาถวายแต่ทรัพย์เสียอีก	 อย่าจ้องแต่จะท�าบุญเมื่ออยู่แต่   ของผมทั้งปัจจุบันและในอนาคต




 พระวิชัย ธมฺมธโร และครอบครัวท�าบุญวัดไทยฯ ดี.ซี. $499 พระอดิศร และคณะ Pittsburgh ท�าบุญบูชาผ้าไตร วัดไทยฯ ดี.ซ.ี $1,339
แสงธรรม 22   Saeng Dhamma
                ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี.
                                                ิ




                Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and
                members of the general public are cordially invited to Wat
                Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the
                Buddha relics on display in the chanting hall.


ปฏิบัติธรรมประจำาเดือนธันวาคม
ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 24 ธันวาคม 2554
ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามแนวพระไตรปิฎก
          � สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี
          � ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากัจฉา
          � เจริญจิตภาวนา - แผ่เมตตา
           พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011

More Related Content

What's hot

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

What's hot (18)

Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

Similar to Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011

รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาWat Pasantidhamma
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555Chawalit Jit
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาTongsamut Vorasarn
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 

Similar to Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011 (17)

Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
 
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 

More from Wat Thai Washington, D.C.

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"Wat Thai Washington, D.C.
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 

More from Wat Thai Washington, D.C. (9)

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C. Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
 
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDCLoykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
 
คนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมาคนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมา
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
 

Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011

  • 1. ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ ฉบับ แสงธรรม วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา Saeng Dhamma ๕ ธันวามหาราช ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔๔๐ ประจำาเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ Vol.37 No.440 December 2011 ๒๕๕๔
  • 2. สื่อส่องทาง สว่างอ�าไพ แสงธรรม ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา ปีที่ 37 ฉบับที่ 440 ประจ�าเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 Vol.37 No.440 December, 2011 Objectives : �To promote Buddhist activities. สารบัญ �To foster Thai culture and tradition. �To inform the public of the temple’s activities. Contents �To promide a public relations center for The Buddha’s Words............................................. 1 Buddhists living in the United States. ธ ทรงเป็นพ่อแห่งแผ่นดิน....................................... 2 เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 3 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี The Peace Beyond By Ven. Ajanh Chah........... 5 กองบรรณาธิการ : The Lady who loves Dhamma By Ven. Laung Ta Chi.... 9 ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี อาลัยรักด้วยศรัทธา พระเทพกิตติโสภณ ........................... 14 พระสมุห์ณัฐิวุฒิ ปภากโร บทความพิเศษ : กตัญญูกตเวทีคอความดีทคนดีทาตอบแทน 16 ื ี่ � พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ พระสุริยา เตชวโร ครังหนึงของลูกผูชาย..... โดย ธมฺมธโรภิกขุ ............................ 20 ้ ่ ้ ฺ พระมหาสราวุธ สราวุโธ ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนธันวาคม.............................. 22 พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 23 พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป ประมวลภาพกิจกรรมเดือนพฤศจิกายน.................. 30 พระมหาค�าตัล พุทฺธงฺกุโร เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32 พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ดร.พระมหาถนัด 39 และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 42 SAENG DHAMMA Magazine อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 43 is published monthly by Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 44 Wat Thai Washington, D.C. Temple รายนามผูบริจาคเดือนพฤศจิกายน Ven.Pradoochai 47 ้ At 13440 Layhill Rd., Silver Spring, MD 20906 รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�าปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า...53 Tel. (301) 871-8660, 871-8661 รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch.............................54 Fax : 301-871-5007 ก�าหนดการจัดงานพิธีมหามงคลเฉลิมพระเกียรติฯ ๕ ธันวา 62 E-mail : watthaidc@hotmail.com Homepage : www.watthaidc.org Photos taken by Radio Network : www.watthai.iirt.net Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat, Mr. Kevin & Mr. Sam 2,500 Copies Bank & Ms. Golf
  • 3. ถ้อยแถลง แสงธรรม ฉบับนี้ เป็นฉบับส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ วันคืนล่วงไป ๆ บัดนีเ้ ราก�าลังท�าอะไรอยู่ ท่านผูรจงกล่าวไว้วา “วันไม่คอยท่า เวลาไม่คอย ้ ู้ ึ ่ คน บุญกุศลก็ไม่รอคอยใคร” เพื่อเตือนใจเราท่านทั้งหลายว่า ทาน ศีล ภาวนา เป็นเครืองพัฒนาชีวตให้บรรลุความสุขสันต์นรนดรได้อย่างแท้จริง ่ ิ ิั ดังนั้นจึงควรตั้งสติและด�าเนินชีวิตด้วยปัญญา เพื่อท�าวันและเวลาให้มี คุณค่าด้วยความไม่ประมาทอย่างสม�่าเสมอ ส�าหรับในปีนี้ นับเป็นปีมหามงคลสมัยเนืองในวโรกาสทีพระบาทสมเด็จ ่ ่ พระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา ร่วมกับวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ก�าหนดจัดงาน “พิธีมหามงคลเฉลิมพระเกียรติฯ ๘๔ พรรษา พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ในวันศุกร์-เสาร์ที่ ๙-๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๔ ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. เพื่อให้พสกนิกรชาวไทยในสหรัฐอเมริกา ได้ แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีโดยการบ�าเพ็ญกุศลน้อมถวายเป็นพระราช กุศลแด่พระองค์ทาน ผูเป็นทีเคารพรักยิงของปวงชนชาวไทย กรุณาติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ทวดไทยกรุง ่ ้ ่ ่ ี่ ั วอชิงตัน, ดี.ซี. โทร. 301-871-8660-1 เดือนธันวาคม เป็นวันส�าคัญของวันพ่อ จึงขอน�าบทกลอนสอนธรรม “เลี้ยงดูบิดา” ที่พระเดชพระคุณ พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ได้ประพันธ์ไว้ มาฝากท่านทั้งหลายเพื่อขวนขวายตอบแทนเลี้ยงดูพ่อว่า คนเลี้ยงดูบิดาพระตรัสว่า มีคุณค่าควรนิยมชมสรรเสริญ เพราะเป็นทางสร้างสรรค์ความเจริญ เป็นการเดินตามครรลองของคนดี คนเลี้ยงดูบิดาน่าชูเชิด เป็นการเปิดเส้นทางสร้างศักดิ์ศรี เป็นคนรู้กตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายคนดีในสังคม สังคมใดมีคนกตัญญู ก็พึงรู้กันเถิดเลิศอุดม ทั้งมนุษย์เทวดาพระอินทร์พรหม ต่างก็ชมเป็นคนดีมีกตัญญู ลูกที่มั่นกตัญญูรับรู้คุณ ย่อมเป็นบุญมหาศาลการสืบต่อ สนองตอบบุญคุณได้เพียงพอ ให้สืบต่ออย่าขาดปราชญ์ชมเชย ขออ�านวยพรให้ผลบุญหนุนท่านและครอบครัวทุกวารวัน อีกทั้งกุศลนั้นช่วยเสริมสุขทุกคนเทอญ คณะผู้จัดท�า
  • 4. แสงธรรม 1 Saeng Dhamma The Buddha’s Words พุทธสุภาษิต เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ จิตฺตํ ราชรถูปมํ ยตฺถ พาลา วิสีทนฺติ นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ. (๑๗๑) สูเจ้าทั้งหลาย จงมาเถิด มาดูโลกนี้ อันวิจิตรพิสดาร เหมือนกับราชรถทรง ณ ที่นี่แหละ เหล่าคนโง่พากันหมกอยู่ แต่ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ Come you all and behold this world like an ornamented royal chariot, wherein the fools are deeply sunk. But for those who know there is no bond.
  • 5. แสงธรรม 2 Saeng Dhamma ธ ทรงเป็น พ่อแห่งแผ่นดิน ทีฆายุโก โหตุ ลุแปดสิบสี่ ชาววัดไทยฯ ดี.ซี. พร้อม น้อมสุขศานต์ ขอพระองค์ ทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนาน ตลอดกาล คู่ไทย ไปนิรันดร์ ธ คือยอดกษัตริย์รัตนะ คือ ผู้มีธรรมะสร้างสุขสันต์ ผู้ ครองราชย์ด้วยทศพิธค่าอนันต์ ครอง ชีวันครองดวงใจไทยทั่วแดน แผ่น ดินทองแผ่นดินธรรมนำาชีวิต ดิน ทุกทิศชุ่มฉ่ำานำาถึงแก่น โดย สืบสานโครงการเกื้อเอื้อทดแทน ธรรม แนบแน่นล้นเกล้าผองเผ่าไทย เพื่อ เพิ่มสินบนพื้นดินให้สิ้นทุกข์ ประโยชน์ สุขเกื้อกูลบุญยิ่งใหญ่ สุข ทั่วหล้าด้วยบารมีภูวไนย แห่ง จอมชัยจอมปราชญ์ชาติร่มเย็น มหาชน น้อมถวายพระพรชัย ชาวสยาม ร่วมเทิดไท้ ให้ได้เห็น พระนาม เกริกเกียรติความดีที่บำาเพ็ญ “ภูมิพล” ธ ทรงเป็น พ่อแห่งแผ่นดิน นางสาวยุพา มาตยะขันธ์ ครูอาสาฯ ปี ๒๕๕๓ ประพันธ์ในนามวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
  • 6. แสงธรรม 3 Saeng Dhamma by Buddhadasa Bhikkhu http://www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm plicitly and in truth. To say “wild monks” is a bit hard on the ears, because the word “wild” can have bad connotations. Here, however, “wild” means the opposite of cities. Town wats and T oday, I’ll speak about “Forest Wat Wild Monks.” A topic like this is easy to remember and understand. It’s straight-for- city monks are the opposite of “forest wats and wild monks.” Take the meaning of “wild monk” merely to be the opposite of “city monk.” ward and clear. Since you only have a month Consider Suan Mokkh a bit. We’ve in- left as monks, I think you ought to live as “forest tended for it to be a forest wat from the very wat wild monks,” correctly and completely, for start. Things I had studied led me to know more at least a little while. Later, it will probably be about how the Buddha lived. Understanding beneficial, that is, it might make you fit and ad- how he lived, I wanted to have a lifestyle like equate after you have disrobed. Even ordinary his. So I thought of supporting the forest style householders should know something about of living. Then, we went even further using the “forest wat wild monks.” words “to promote vipassana-dhura.” We used These words may sound ugly, but the Bud- the phrase that was common then. They called dha and the Arahants (Worthy Ones, Perfected the practice in solitary and quiet places, such as Ones) lived in this way. Please realize that origi- in forests, “vipassana-dhura.” We intended to nally all of the wats, monasteries, and ashrams promote vipassana-dhura, or the meditation-du- were outside the cities and villages. None were ty, to revive it, so we thought of having a place within the city walls. They were forest wats im- in the forest.
  • 7. แสงธรรม 4 Saeng Dhamma Now, although the village is encroaching, monks” like this. we can probably maintain the condition of a for- Please take only the essential meaning of est wat. To do so, the monks must have a disci- these words. If we take the essence of “forest pline or system of living which is most intimate wat,” it means “the most simply way of living” with nature. This means being comrades with and “wild monks” means “to live most simply.” nature, to sit and talk, to sit and watch, to sit You can blend the two together, they mean the and listen, together with nature. The meaning of same thing. “wild monk” is to live naturally. So, would all of you please live in the In the past, the elders and old teachers most simple way. So far, you’re not yet living called the monks who live in the forest “na- most simply, although you may be close. Try to ture monks,” while the monks in the towns and readjust things yourself, through the end of the cities, especially Bangkok, were called “science Rains. From now on, make your living even more monks.” This is a rural way of speaking, we need easy. The more simple, the more natural it is. not judge whether it is right or wrong: “science The more natural it is, the less opportunity for monks” and “nature monks.” Here, we are na- “I” and “mine” to be born. Thus, it automati- ture monks, living in harmony with nature, close cally becomes correct and beautiful according to nature, studying nature, until realizing Nib- to our monks’ way. bana, which is the pinnacle of nature. Please To be continued understand the words “forest wat” and “wild Ven. Prodoochai during a Dhamma talk and meditation session to Sherwood High School in the Great Buddha Hall at the Wat Thai Washington, D.C. on November 18th, 2011.
  • 8. แสงธรรม 5 Saeng Dhamma A Taste of Freedom The Peace Beyond A Dhammatalk By Ajahn Chah http://www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html ...Continued from last issue... body in the body.” Having seen the outer body S o the Buddha taught that the way leading to the end of suffering is to make the Dhamma arise as a reality within our is not enough, we must know the body within the body. Then, having investigated the mind, we should know the mind within the mind. own minds. We become one who witnesses the Why should we investigate the body? Dhamma for himself. If someone says we are What is this “body in the body”? When we say good we don’t get lost in it; they say we are to know the mind, what is this “mind”? If we no good we don’t get lost in it; they say we don’t know the mind then we don’t know the are no good and we don’t forget ourselves. This things within the mind. This is to be someone way we can be free. “Good” and “evil” are just who doesn’t know suffering, doesn’t know the worldly dhammas, they are just states of mind. cause, doesn’t know the end and doesn’t know If we follow them our mind becomes the world, the way. The things which should help to ex- we just grope in the darkness and don’t know tinguish suffering don’t help, because we get the way out. If it’s like this then we have not distracted by the things which aggravate it. It’s yet mastered ourselves. We try to defeat others, just as if we have an itch on our head and we but in doing so we only defeat ourselves; but if scratch our leg! If it’s our head that’s itchy then we have mastery over ourselves then we have we’re obviously not going to get much relief. In mastery over all — over all mental formations, the same way, when suffering arises we don’t sights, sounds, smells, tastes and bodily feelings. know how to handle it, we don’t know the prac- Now I’m talking about externals, they’re like tice leading to the end of suffering. that, but the outside is reflected inside also. For instance, take this body, this body that Some people only know the outside, they don’t each of us has brought along to this meeting. If know the inside. Like when we say to “see the we just see the form of the body there’s no way
  • 9. แสงธรรม 6 Saeng Dhamma we can escape suffering. Why not? Because we It’s as if we visit some relatives at their still don’t see the inside of the body, we only house and they give us a present. We take it and see the outside. We only see it as something put it in our bag and then leave without opening beautiful, something substantial. The Buddha it to see what is inside. When at last we open it said that only this is not enough. We see the — full of poisonous snakes! Our body is like this. outside with our eyes; a child can see it, animals If we just see the shell of it we say it’s fine and can see it, it’s not difficult. The outside of the beautiful. We forget ourselves. We forget imper- body is easily seen, but having seen it we stick manence, unsatisfactoriness and not-self. If we to it, we don’t know the truth of it. Having seen look within this body it’s really repulsive. If we it we grab onto it and it bites us! look according to reality, without trying to sugar So we should investigate the body within things over, we’ll see that it’s really pitiful and the body. Whatever’s in the body, go ahead wearisome. Dispassion will arise. This feeling of and look at it. If we just see the outside it’s not “disinterest” is not that we feel aversion for the clear. We see hair, nails and so on and they are world or anything; it’s simply our mind clear- just pretty things which entice us, so the Bud- ing up, our mind letting go. We see things are dha taught to see the inside of the body, to see naturally established just as they are. However the body within the body. What is in the body? we want them to be, they just go their own way Look closely within! We will see many things in- regardless. Whether we laugh or cry, they simply side to surprise us, because even though they are the way they are. Things which are unstable are within us, we’ve never seen them. Wherever are unstable; things which are not beautiful are we walk we carry them with us, sitting in a car not beautiful. we carry them with us, but we still don’t know So the Buddha said that when we experi- them at all! ence sights, sounds, tastes, smells, bodily feel- คุณสาธิยา ศิลาเกษ และครอบครัว ท�าบุญอุทิศ 100 วันให้คุณแม่เพ็ญพรรณ โนแวค วันที่ 13 พ.ย. 54
  • 10. แสงธรรม 7 Saeng Dhamma ings or mental states, we should release them. in these things we say that it clings to or takes When the ear hears sounds, let them go. When that happiness and unhappiness to be worthy of the nose smells an odor, let it go... just leave it holding. That clinging is an action of mind, that at the nose! When the bodily feelings arise, let happiness or unhappiness is feeling. go of the like or dislike that follow, let them go When we say the Buddha told us to sepa- back to their birth-place. The same for mental rate the mind from the feeling, he didn’t liter- states. All these things, just let them go their ally mean to throw them to different places. He way. This is knowing. Whether it’s happiness meant that the mind must know happiness and or unhappiness, it’s all the same. This is called know unhappiness. When sitting in samadhi, for meditation. example, and peace fills the mind, then happi- Meditation means to make the mind ness comes but it doesn’t reach us, unhappiness peaceful in order to let wisdom arise. This re- comes but doesn’t reach us. This is to separate quires that we practice with body and mind in the feeling from the mind. We can compare it to order to see and know the sense impressions oil and water in a bottle. They don’t combine. of form, sound, taste, smell, touch and men- Even if you try to mix them, the oil remains oil tal formations. To put it shortly, it’s just a mat- and the water remains water. Why is this so? ter of happiness and unhappiness. Happiness Because they are of different density. is pleasant feeling in the mind, unhappiness is The natural state of the mind is neither just unpleasant feeling. The Buddha taught to happiness nor unhappiness. When feeling enters separate this happiness and unhappiness from the mind then happiness or unhappiness is born. the mind. The mind is that which knows. Feeling If we have mindfulness then we know pleas- [10] is the characteristic of happiness or unhap- ant feeling as pleasant feeling. The mind which piness, like or dislike. When the mind indulges knows will not pick it up. Happiness is there but ครอบครัวหาญศุภิชน จัดพิธีสวดพระอภิธรรมให้คุณพ่อธ�ารง หาญศุภิชน และท�าบุญเลี้ยงพระ วันที่ 12 พ.ย. 54
  • 11. แสงธรรม 8 Saeng Dhamma it’s “outside” the mind, not buried within the own minds as a poison, so they swept them mind. The mind simply knows it clearly. out. They swept out the things which caused If we separate unhappiness from the mind, them to suffer, they didn’t kill them. One who does that mean there is no suffering, that we doesn’t know this will see some things, such as don’t experience it? Yes, we experience it, but happiness, as good, and then grab them, but we know mind as mind, feeling as feeling. We the Buddha just knew them and simply brushed don’t cling to that feeling or carry it around. The them away. Buddha separated these things through knowl- But when feeling arises for us we indulge edge. Did he have suffering? He knew the state in it, that is, the mind carries that happiness and of suffering but he didn’t cling to it, so we say unhappiness around. In fact they are two dif- that he cut suffering off. And there was happi- ferent things. The activities of mind, pleasant ness too, but he knew that happiness, if it’s not feeling, unpleasant feeling and so on, are men- known, is like a poison. He didn’t hold it to be tal impressions, they are the world. If the mind himself. Happiness was there through knowl- knows this it can equally do work involving hap- edge, but it didn’t exist in his mind. Thus we say piness or unhappiness. Why? Because it knows that he separated happiness and unhappiness the truth of these things. Someone who doesn’t from his mind. know them sees them as equal. If you cling to When we say that the Buddha and the En- happiness it will be the birth-place of unhap- lightened Ones killed defilements, [11] it’s not piness later on, because happiness is unstable, that they really killed them. If they had killed all it changes all the time. When happiness disap- defilements then we probably wouldn’t have pears, unhappiness arises. any! They didn’t kill defilements; when they knew them for what they are, they let them go. To be continued Someone who’s stupid will grab them, but the Enlightened Ones knew the defilements in their คุณถวิล อ�าพันทอง ท�าบุญเลี้ยงพระ เนื่องในวันคล้ายวันเกิด วันที่ 13 พ.ย. 54 ขอให้มีสุขภาพแข็งแรงตลอดกาล
  • 12. แสงธรรม 9 Saeng Dhamma The LADY WHO LOVES DHAMMA Essays On The Dhamma By Luang Ta Chi Edited by Du Wayne Engelhart ...Continued from last issue... Dhamma and thereby lived in peace and har- mony. After a month of rest at the million- A s for her grandfather, after seeing that Visakha had returned from welcom- ing the Master, Mendaka went to receive the aire’s home in Bhaddiya, the Lord decided it was time for him to journey on to other parts of the kingdom to spread the words of com- Buddha and listen to the sermon himself. passion to end suffering. Afterwards, with a heart filled with devotion, In the Scriptures the Buddha teaches that he dedicated himself forever to the Buddha, everything is impermanent (anicca), nothing the Dhamma, and the Sangha. He invited stands still, and everything keeps flowing. Our the Lord and his disciples to eat with him, his human lives thereby remain in this condition of family, and the members of his household. change as well. Visakha’s story is also one of All welcomed the Buddha with the greatest change according to this cycle of anicca. She respect and served him the best food they was born in the city of Bhaddiya, which was had available. Everybody was happy to have under the rule of the Magadha state. King Bim- the opportunity to offer their food to the bisara was the supreme ruler of the Sindhu re- Lord. Most of all they were happy to listen gion (present-day India), whose land extended to his sermons and to observe the precepts. far and wide. Governments thereby had to All the people, including the children, were be subdivided into states with their individu- happy to have received the teaching. They al rulers in charge according to administrative continued to keep an attitude of loving the policies at the time. Many small towns were
  • 13. แสงธรรม 10 Saeng Dhamma subject to the rule of larger states. King Bim-Doing the right things in terms of the Buddhist bisara was the ruler of the Magadha state. KingScriptures does not require a big investment, Pasenadi was the ruler of the Kosala state. and doing good deeds is enough to maintain King Bimbisara married the younger sister of the practice of the good. So keep on do- King Pasenadi, and the latter married the sister ing good things. People who do good things of King Bimbisara, so the kings were brothers-in- will not likely be harmed by anything danger- law. Since the brothers were so related, their ous. This is like having an umbrella in your states, ruled in a brotherly way, brought them hand that protects you from the sun or rain. peace of mind. If any problems arose, the People who do good, no matter where they kings could consult one another . . . . are and no matter what they do, will be free from danger. It is, therefore, correct to say Dhammo Havay Rakkati Dhammacari that the good is like a great amulet, a power Shuttang Mahantang Viyay Vassakalay. that can make things happen . . . . Only the Dhamma will protect those who do good, like a protective shelter dur- Pharya Parama Sakha ing a monsoon rain. Phatta Panyana Mitthiya. The Dhamma is the good, the right, and A wife is a best friend. the true. For those who show these three A husband is a woman’s pride. qualities in their actions, they are likely to The life of married people can be have a shield, a protective and safe refuge. filled with problems because spouses can So people should be interested in learning come upon many obstacles after the wed- the Dhamma and should practice the Dham- ding. The husband becomes the head of ma and not reject it. Since we are human be- the household. The wife becomes the one ings, we should seek to do good, to do right, responsible for maintaining the household and to speak what is true, for this is the way and is involved with many members of the to leave an invaluable inheritance for our family. The husband has to love and re- children. By doing good things for the sake spect his wife. The wife, likewise, must show of our children and doing right things for the respect to the husband and to his family. sake our grandchildren, we leave what young- Neither can carry on any more as before. er generations will look up to and carry on. Whatever actions are taken, they must be
  • 14. แสงธรรม 11 Saeng Dhamma done with care and consideration. In the Dhamma in Buddhist Discourses days of old people who loved their children All sensuous desires, whether sweet or would train and advise them to hold firmly bitter, will likely harm the heart in different to their responsibilities. Once the children ways. Those who see the results of sensual set up households of their own, they would desires and then let them go are traveling understand that a strong family founda- alone like a rhinoceros. tion is as important as a strong foundation Those who detach themselves from for a house. The family’s well-being and anger and give up pride are those who step prosperity depend upon the heads of the away from all attachment. All determining household (husband and wife). Those who conditions and resulting suffering will not fol- are strong in their beliefs, have a good un- low those who are free from these attach- derstanding of what is moral, and live by ments and worries. the Dhamma will be rewarded with a life of Those who do not worry about things peace and happiness. It is therefore impor- that have not yet happened will not be sad tant that the heads of a household maintain about things that have already passed. Those the greatest discipline in carrying out their who see peace whenever they deal with peo- tasks. They must always remember that, as ple will not judge others in terms of their own heads of a household and parents of chil- opinions. dren, they should do their very best to per- Strength of mind and heart in facing dif- form their duties....... ficulties is the quality of scholars, the perse- คุณลองรัก-คุณไก่ วราลี ภูศรี และญาติพนอง ร่วมกันท�าบุญเนืองในวันคล้ายวันเกิด เพือเสริมสิรมงคลให้ชวต 27 พ.ย. 54 ี่ ้ ่ ่ ิ ีิ
  • 15. แสงธรรม 12 Saeng Dhamma verance of truth seekers, and the strength of peace by letting go of all earthly attachments. those who are holy. Strength of mind and Those who are calm, avoid bad deeds, heart in facing difficulties will bring happiness. and focus their thoughts on what is right can Those who do not give up and do not be rid of all evils, just as the wind rids the despair but continue to practice the Dhamma branches of a tree of all leaves. through ascetic peacefulness will reach En- People who practice generosity, who lightenment, thereby ending all worldly at- behave justly, who remain humble, and who tachments. lead their lives as examples to others will live Those who do not feel sad about things in happiness, for they will reap the benefits of that have passed and do not long for things their good deeds. that have not yet arrived but focus on things Those who have inner peace, intelli- in the present are those with the right point gence as a protection, a good understanding of view. of what is moral, insight, and unattachment Life is short, as old age gradually ap- to desires will rightfully see the Dhamma. proaches. When any living being reaches this The End state, nothing can prevent life from coming to an end. Those who see this truth will seek to find Students from River High School มาศึกษาพระพุทธศาสนาที่วัดไทยฯ ดี.ซี. 18 พ.ย. 54 ธรรมบรรยาย โดย...พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ
  • 16. แสงธรรม 13 Saeng Dhamma ประธานกฐินสามัคคี ประจ�าปี 2554 ขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่มาร่วมทอดกฐินในปีนี้ ขอให้มีความสุขทุกท่าน นพ.อรุณ-คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ รับเป็นประธานทอดผ้ากฐินพระราชทาน ปี 2555 ขอเชิญทุกท่านมาร่วมบุญด้วยกัน
  • 17. แสงธรรม 14 Saeng Dhamma รัตติกาล “เจ็ดกันยา” ฟ้ามืดมิด ดวงดาวปิดเงียบเหงาเศร้าโศกศัลย์ อาลักรักพระดีสุดจาบัลย์ “พระเทพกิตติโสภณ” ท่านนั้นจากไป สินเสาหลักพระผูนาพระธรรมทูต ท่านพิสจน์ดวยผลงานอันยิงใหญ่ องค์ประธานสมัชชาพระสงฆ์ไทย อยูแดนไกลอเมริกาคุณค่างาม ้ ้ ำ ู ้ ่ ่ ท่านดั่งแสง “วชิรธรรมปทีป” ส่อง ตามครรลองใช้ปัญญาพาก้าวข้าม นิวยอร์กคือแหล่งเรียนรู้อยู่ติดตาม ศิษย์ล้นหลามด้วยศรัทธาพระสงฆ์ดี
  • 18. แสงธรรม 15 Saeng Dhamma ท่ า นทำ า งานด้ ว ยใจไม่ เ คยท้ อ สื บ สานต่ อ พุ ท ธศาสน์ ส มศั ก ดิ์ ศ รี เป็ น ผู้ นำา ทำ า ให้ เ ห็ น เป็ น วิ ธี ยี่ สิ บ สี่ ปี บ ริ ห ารงานสมั ช ชา กลิ่นความดีที่หอมหล่อหลอมรัก แจ้งประจักษ์ฝากไว้ให้ศึกษา ด้วยผลงานเจ็ดสิบเก้าปีที่ผ่านมา อนัตตาคำาสอนก่อนสิ้นใจ อาลัยรักด้วยศรัทธาพระสินแล้ว ร่มไทรแก้วของปวงศิษย์เคยชิดใกล้ จิตสะอาดสว่างสงบจบโรคภัย ดวงวิญญาณสูสวรรคาลัยนิรนดร์เทอญ ้ ่ ั
  • 19. แสงธรรม 16 Saeng Dhamma บทความพิเศษ ... เพื่อทดแทนพระคุณพ่อ กตัญญูกตเวที คือ ความดีที่คนดีทำาตอบแทน จ ากอดีตจนมาสู่ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พ่อหลวงของ ปวงชนชาวไทย ทรงปฏิบัติภาระกิจเพื่อราษฎร ทรงสละ ดังนั้น เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีต่อพ่อแห่งแผ่น ดินหรือผู้มีพระคุณต่อชาวไทยทุกท่าน จึงได้น�าวิธีการ แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีที่จะพึงกระท�าตอบแทน สุขส่วนพระองค์เสด็จทรงเยี่ยมเยียนราษฎรทั่วทุกภาค จึงได้น�าเอาลักษณะแห่งการกระท�าที่ถูกต้อง เหมาะสม ทุกจังหวัด แม้ในถิ่นทุรกันดาร บ�าบัดทุกข์บ�ารุงสุขแก่ ตามหลักธรรมแห่งกตัญญูกตเวทีในพระพุทธศาสนามา ราษฎรของพระองค์ แสดงให้ท่านทั้งหลายได้ทราบดังนี้ แม้วันนี้พระราชกิจเสด็จฯ ทรงเยี่ยมเยียนราษฎร จะไม่มีมากเหมือนก่อน ด้วยพระชนมายุและด้วยพระ ลั ก ษณะของความกตั ญ ญู ก ตเวที ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ พลานามัย ด้วยพระราชกิจต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้นแต่ พระพุทธศาสนา หากดูว่าการเสด็จฯ ทุกจังหวัดเมื่อครั้น ๔๐-๕๐ กว่าปี ตั ว อย่ า งเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ความกตั ญ ญู ก ตเวที ที่ ก่อน ทรงพบความยากล�าบากในการเดินทางมากกว่า ยกมาศึกษาจะเน้นเฉพาะที่ส�าคัญๆ ได้แก่ ความกตัญญู สมัยนี้ กระนั้นมิทรงย่อท้อ แม้เป็นการเดินทางไปในถิ่น กตเวทีระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับเทวดา มนุษย์ ทุรกันดารก็ตามแต่ ทรงบากบั่นเสด็จฯ ให้พสกนิกรไทย กับอมนุษย์ มนุษย์กับสัตว์เดรัจฉาน สัตว์เดรัจฉานกับ ได้ชื่นชมพระบารมีโดยทั่วกัน สร้างขวัญและก�าลังใจแก่ สัตว์เดรัจฉาน การแสดงความกตัญญูกตเวทีของมนุษย์ ปวงชน ที่ส�าคัญทรงวางพื้นฐานอาชีพแก่ราษฎรผู้ยากไร้ ต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และจะศึกษาวิเคราะห์ ในท้องถิ่นห่างไกลความเจริญ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอ ว่าการแสดงความกตัญญูกตเวที ว่ามีลักษณะอย่างไร ใน เพียงที่พระองค์ท่านทรงด�าริ ที่นี้จะได้เฉพาะประเด็นความกตัญญูต่อมนุษย์ ดังนี้ “น้ำ � พระทั ย อั น ดี ข องพระองค์ ท� า ให้ พ สกนิ ก ร ไทยทั่วทุกหนทุกแห่งถวายความจงรักพักดีแด่พระองค์ ความกตัญญูกตเวทีที่มีต่อเพื่อนมนุษย์ ท่าน อย่างหมดใจ” ในหัวข้อว่าด้วยความกตัญญูกตเวทีระหว่างมนุษย์
  • 20. แสงธรรม 17 Saeng Dhamma กับมนุษย์นี้ จะได้กล่าวถึงลักษณะของความกตัญญู พระองค์ ค�าสอนที่พระโพธิสัตว์แสดงแก่ยักษ์ความว่า กตเวทีระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ลักษณะของความกตัญญู บุ ค คลใดยอมตายเพื่ อ ปลดเปลื้ อ งบิ ด าของตน ระหว่ า งมนุ ษ ย์ กั บ มนุ ษ ย์ ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ พ ระพุ ท ธ หรือเพราะเหตุแห่งมารดาบุคคลนั้นไปสู่ปรโลกแล้ว ศาสนาพอประมวลกล่าวเป็นตัวอย่าง ดังนี้ เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยความสุขและอารมณ์อันเลิศ ชาดกนี้แสดงให้เห็นว่า บุตรธิดาผู้ตั้งอยู่ในคุณธรรม ความกตัญญูกตเวทีที่บุตรมีต่อมารดาบิดา คือความกตัญญูกตเวที ด้วยการยอมสละชีวิตของตน ในตักกลชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์เสวย เพื่อปกป้องคุ้มครองมารดาบิดาของตนไว้ ย่อมประสบ พระชาติเป็นบัณฑิตกุมาร ได้ยินเรื่องที่มารดาบอกให้ แต่ ค วามสุ ข ความเจริ ญ ทั้ ง ในขณะที่ มี ชี วิ ต อยู่ แ ละหลั ง บิดาฆ่าปู่ จึงช่วยปู่ให้รอดตายและออกอุบายให้บิดาขับ จากล่ ว งลั บ จากโลกนี้ ไ ปแล้ ว ลั ก ษณะการแสดงความ ไล่มารดาออกจากบ้านเพื่อให้ได้ส�านึก และพระโพธิสัตว์ กตัญญูกตเวทีของพระโพธิสัตว์ต่อบุพการีในชาดกเรื่องนี้ ได้ปรารภธรรมว่า ผูใดมีความชัวช้า เบียดเบียนพ่อแม่ ก็คือการยอมสละชีวิตของตนเองเพื่อปกป้องชีวิตบิดาให้ ้ ่ ผูไม่ประทุษร้ายตน เมือตายไปชาติหน้า ผูนนจะตกนรก รอดพ้นจากการถูกยักษ์กิน ้ ่ ้ ้ั อย่างไม่ตองสงสัย ส่วนผูใดบ�ารุงพ่อแม่ดวยข้าวและน้� ้ ้ ้ ำ ในสุตนชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์สมัยเสวยพ เมือตายไปชาติหน้า ผูนนจะขึนสวรรค์อย่างไม่ตองสงสัย ระชาติเป็นคนยากจน เลี้ยงดูมารดา รับอาสาพระเจ้ากรุง ่ ้ ้ั ้ ้ จากการศึกษาชาดกเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า พระ พาราณสีน�าอาหารไปให้ยักษ์กินได้ทรมานยักษ์ให้เลิก โพธิสัตว์ได้แสดงความกตัญญูกตเวทีทั้งต่อปู่ มารดาและ พยศร้ายและให้ตั้งอยู่ในศีลตลอดไป เนื้อความแห่งชาดก บิดา กล่าวคือ การแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อปู่โดยใช้ สรุปได้ว่า ปัญญาออกกุสโลบายช่วยให้ปู่ไม่ถูกบิดาฆ่าตาย และได้ ในอดีตกาล พระเจ้าพาราณสีได้เสด็จไปล่าเนื้อใน แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อมารดาบิดาด้วยการป้องกัน ป่ากับพวกทหาร ขณะที่ก�าลังล้อมจับเนื้ออยู่นั้น เนื้อได้ ไม่ให้มารดาบิดาท�าปิตุฆาต ซึ่งเป็นอนันตริยกรรมโดย วิ่งหนีไปทางพระเจ้าพาราณสี พระองค์จึงทรงวิ่งไล่ตาม การแสดงธรรมเตือนสติท่านทั้งสองว่า การเบียดเบียน เนื้อไปและฟันจนขาดเป็นสองท่อนแล้วเอาเนื้อนั้นกลับ มารดาบิดาเป็นความอกตัญญูมีผลเป็นความชั่วร้าย ต้อง มา ระหว่างทางพระองค์ได้ทรงแวะพักและเผลอหลับไป เดือดร้อนประสบแต่ความทุกข์ แต่การประพฤติเป็นคน ที่ใต้ต้นไทรแห่งหนึ่ง เมื่อตื่นบรรทมแล้วจะเสด็จกลับได้ กตัญญูกตเวทีคือบ�ารุงเลี้ยงดูมารดาบิดาด้วยวัตถุสิ่งของ มียักษ์ที่อาศัยอยู่ที่ต้นไทรนั้นลงมาจับข้อพระหัตถ์ของ แม้เป็นเพียงข้าวและน้ำ� มีผลเป็นความดีงามกตัญญู พระองค์ไว้พร้อมกับขู่ว่า ผู้ที่มาอยู่ใต้ต้นไทรนี้ จะต้อง กตเวทีชนจะพบแต่ความสุขความเจริญทั้งในโลกนี้และ ถูกกินเป็นอาหาร พระเจ้าพาราณสี ได้ขอให้ยักษ์กินเนื้อ โลกหน้า แทนพระองค์พร้อมกับสัญญาว่า ถ้าปล่อยกลับไป จะส่ง ในชยัททิสชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์สมัย คนพร้อมกับอาหารมาให้กินทุกวัน เมื่อพระเจ้าพาราณสี เมื่อเสวยพระชาติเป็นพระโอรสของพระเจ้าชัยทิศทรง เสด็จกลับไปถึงพระนคร ก็ทรงให้เบิกนักโทษจากเรือนจ�า พระนามว่า อลีนสัตตุกุมาร ทรงแสดงความกตัญญูยอม ให้แบกภาชนะอาหารไปให้ยักษ์กินวันละคน ต่อมาเมื่อ สละพระชนม์ชีพของพระองค์ให้ยักษ์กินแทนบิดา แต่ นักโทษในเรือนจ�าหมด พระเจ้าพาราณสี จึงได้ให้คนน�า ยักษ์เกิดเลื่อมใสจึงยอมปล่อยไปและตั้งอยู่ในโอวาทของ ถุงทรัพย์พันต�าลึงขึ้นวางบนหลังช้าง ให้ตีกลองประกาศ
  • 21. แสงธรรม 18 Saeng Dhamma ว่า ถ้าคนใดสามารถน�าภาชนะอาหารไปให้ยักษ์ได้พระ สมัยเสวยพระชาติเป็นโสณบัณฑิต เมื่อเจริญวัยและเรียน ราชาจะพระราชทานทรัพย์ให้หนึ่งพันต�าลึง ขณะนั้น จบพระเวทแล้วได้ออกบวชเป็นดาบสพร้อมด้วยมารดา สุตมาณพได้ยินการประกาศ จึงคิดว่า เรายากจนเลี้ยงดู บิดาและน้องชายอยู่ที่ป่าหิมพานต์ ต่อมา โสณบัณฑิตได้ มารดาต้องล�าบากเป็นอย่างมาก เราจะไปรับเอาถุงทอง ห้ามนันทบัณฑิตผู้เป็นน้องชายมิให้ปรนนิบัติมารดาบิดา นั้นมาให้มารดาและจะอาสาน�าอาหารไปให้ยักษ์แม้จะ เพราะมักจะแสวงหาผลไม้ดิบมาให้มารดาบิดาบริโภคอยู่ ตายก็ยอม จากนั้นจึงได้ไปบอกให้ราชบุรุษทราบ รับเอา เสมอ ๆ แต่นันทบัณฑิตไม่เชื่อฟัง จึงถูกขับไล่กลับไปอยูท่ี ่ ถุงทรัพย์ไปให้มารดาเข้าไปรับอาสาจากพระเจ้าพาราณสี บรรณศาลาของตน และได้เจริญกสิณจนได้อภิญญาห้า และ เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว ได้ทูลขอฉลองพระบาท เศวตฉัตร สมาบัตแปด จากนัน จึงเหาะไปเฝ้าพระเจ้ามโนชะแห่งกรุง ิ ้ และพระขรรค์รวมถึงภาชนะทองค�าไปด้วย เมื่อเดินทาง พรหมวัฒนะ พร้อมทั้งรับอาสาน�ากองทัพไปยึดหัวเมือง ไปถึงใกล้ที่อยู่ของยักษ์ สุตมาณพได้สวมฉลองพระบาท ทั่วชมพูทวีปมาเป็นเมืองขึ้นได้เป็นผลส�าเร็จแล้วพาพระ ทองค�า กั้นเศวตฉัตร ถือพระขรรค์ด้วยมือข้างขวา แบก ราชาเหล่านั้นมาขอขมาโทษโสณบัณฑิตผู้เป็นพี่ชาย โสณ ภาชนะอาหารด้ ว ยมื อ ข้ า งซ้ า ยเดิ น เข้ า ไปใกล้ ต้ น ไทร บั ณ ฑิ ต ได้ แ สดงกตั ญ ญู ก ตเวทิ ต าธรรมแก่ นั น ทบั ณ ฑิ ต จากนั้ น ยื่ น ภาชนะอาหารให้ ยั ก ษ์ ด้ ว ยปลายพระขรรค์ และพระราชาเหล่านั้น และอนุญาตให้นันทบัณฑิตผู้เป็น และเรียกให้ยักษ์ลงมากิน ฝ่ายยักษ์คิดว่า บุรุษคนนี้น�า น้องชายได้ปรนนิบัติมารดาบิดาต่อไป ในเรื่องนี้มีเนื้อหา อาหารมาให้ด้วยอาการแปลก ๆ จึงเชื้อเชิญมาณพกิน แสดงความกตัญญูกตเวทีไว้ความว่า อาหารด้วยกัน สุตมาณพตอบปฏิเสธ ยักษ์จึงกล่าวว่า ผู้ บัณฑิต พึงนอบน้อมและพึงสักการะมารดาและ ที่น�าอาหารมาให้จะต้องถูกจับกินเป็นอาหาร สุตมาณพ บิดาทั้งสองนั้นด้วยข้าวและน้�าด้วยผ้านุ่งผ้าห่มและ ไม่แสดงอาการกลัวแต่อย่างใด และกล่าวกับยักษ์ว่า เวลา ที่นอนด้วยการอบตัวและอาบน้ำ�ให้และด้วยการล้าง นี้เราไม่ได้เหยียบพื้นดินของท่าน เราเหยียบรองเท้าของ เท้าทั้งสองให้ท่านเพราะการบ�ารุงมารดาและบิดาทั้ง เรา เราไม่ได้อยู่ใต้ร่มไม้ของท่าน เราอยู่ใต้ร่มเศวตฉัตร สองนั้นบัณฑิตทั้งหลายจึงสรรเสริญเขาในโลกนี้ทีเดียว ของเรา เรามีพระขรรค์อยู่ในมืออาจฟันท่านได้ทันทีดัง เขาตายไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์ นั้นท่านจึงไม่มีสิทธิ์ที่จะจับเรากินเป็นอาหาร เมื่อยักษ์ได้ ชาดกนี้ชี้ให้เห็นว่า บุคคลที่ยึดมั่นและประพฤติ ฟังดังนั้นแล้วก็มีความเห็นด้วย จึงยอมนับถือ สุตมาณพ คุณธรรมคือความกตัญญูกตเวทีต่อมารดาบิดาด้วยการก จึงสอนยักษ์ให้รับศีลห้าและให้ตามกลับไปที่กรุงพาราณสี ระท�าที่เป็นกุศลกรรม ตอบแทนบุญคุณด้วยมุ่งหมายให้ เมือพระเจ้าพาราณสี ทรงทราบก็ทรงโปรดปรานตังให้สต ่ ้ ุ เกิดความสุขสบายด้วยปัจจัยสี่ คือด้านอาหาร บ�ารุงด้วย มาณพเป็นเสนาบดี ข้าวและน้ำ� ด้านเครื่องนุ่งห่มบ�ารุงด้วยผ้านุ่งห่มเครื่อง ชาดกเรืองนี้ เป็นอีกเรืองหนึงทีแสดงถึงลักษณะการ ่ ่ ่ ่ ใช้สอยต่าง ๆ ด้านที่อยู่อาศัย บ�ารุงด้วยผ้าห่ม ที่นอน แสดงความกตัญญูกตเวทีของพระโพธิสัตว์ท่ีมีต่อมารดา วัตถุสิ่งของอื่น ๆ และด้านสุขภาพอนามัย บ�ารุงด้วยการ อย่างแรงกล้า ด้วยการสละชีวตตนเองเพือให้มารดาได้อยู่ ิ ่ ปรนนิบัติ พัดวีล้างเท้าให้ท่านทั้งสอง เป็นการกตัญญู อย่างสุขสบาย ด้วยผลแห่งความตังมันในกตัญญูกตเวทิตา ้ ่ ในด้านมุ่งหมายให้เกิดความสุขทางกายภาพ การกระ ธรรมจึงส่งผลให้เกิดสิงทีดแก่ชวตในทีสด ่ ่ี ีิ ุ่ ท�าดังที่กล่าวข้างต้นจัดเป็นสิ่งที่น่าสรรเสริญ บุตรธิดา ในโสณนันทชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์เมื่อ ที่ประพฤติเช่นนี้ย่อมประสบแต่สิ่งที่ดีงามทั้งในปัจจุบัน
  • 22. แสงธรรม 19 Saeng Dhamma และในโลกหน้า นิบตเิ ลียงดูดวยปัจจัยสี่ ดังตัวอย่างเรือง โสณันทชาดก ั ้ ้ ่ ในสุวัณณสามชาดก ซึ่งกล่าวถึงพระโพธิสัตว์ ๒. การแสดงความกตัญญูกตเวทีด้วยการยอม เสวยพระชาติเป็นสุวรรณสามดาบสเลี้ยงดูมารดาบิดา สละชีวิตตนเองเพื่อปกป้องชีวิตมารดาบิดา ดังตัวอย่าง ผู้เป็นดาบสตาบอดอยู่ในป่า ต่อมาวันหนึ่งสุวรรณสาม เรื่อง ชยัททิสชาดก และสุตนชาดก ดาบสไปตักน้�าและถูกพระเจ้าปิลยักษ์ยิงด้วยลูกศร ด้วย ๓. การแสดงความกตัญญูกตเวทีด้วยการให้ตั้ง ความเข้าใจผิดคิดว่าสุวรรณสามเป็นคนไล่เนื้อให้หนีไป มั่นในธรรม ดังตัวอย่างเรื่องตักกลชาดก และสุวรรณ ก่อนจะสลบล้มลงไป สุวรรณสามได้ทูลขอร้องว่า ให้พระ สามชาดก เจ้ากปิลยักษ์ช่วยเลี้ยงดูมารดาบิดาแทนท่าน พระเจ้าปิล อนึ่ง พระบรมศาสดาได้แสดงหลักการตอบแทน ยักษ์เข้าพระทัยว่าสุวรรณสามดาบสตายแล้วจึงเสด็จไป คุณของมารดาบิดาที่แท้จริงกับการที่ท่านให้ก�าเนิดเรา น�ามารดาบิดาของสุวรรณสามดาบสมาดูศพ เมื่อดาบส มาและอุปการะเลี้ยงดูเราให้เติบใหญ่ดังนี้ ทั้งสองสัมผัสร่างของบุตรจึงพากันร้องไห้คร่�าครวญอย่าง “...พระพุทธเจ้าตรัสว่า ถึงแม้ว่าลูกจะรักพ่อแม่ น่าเวทนา จากนั้นจึงได้ท�าสัจกิริยาขอให้พิษร้ายออก มาก ตั้งใจทะนุถนอมเลี้ยงท่านด้วยทรัพย์สินเงินทองวัตถุ จากร่างกายของสุวรรณสาม นอกจากนี้ เทพธิดาซึ่งเคย บ�ารุงบ�าเรอให้พรั่งพร้อมสะดวกสบายอย่างบริบูรณ์ที่สุด เป็นมารดาของสุวรรณสามก็มาช่วยท�าสัจกิริยาด้วย เมื่อ ไม่ให้ท่านต้องล�าบากเหน็ดเหนื่อยกระทบกระเทือนเลย สุวรรณสามฟื้นขึ้นจึงแสดงธรรมแก่พระเจ้าปิลยักษ์และ แม้แต่นิดเดียว ก็ยังไม่ชื่อว่าตอบแทนคุณพ่อแม่ได้จริง ให้ตั้งอยู่ในศีลห้า และแสดงหลักความกตัญญูกตเวที แต่เมื่อใดลูกหาทางท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีศรัทธา ให้มีศรัทธา ความว่า ท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีศีล ให้มีศีล ท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีจาคะ ให้ บุคคลใดเลี้ยงดูมารดาและบิดาโดยธรรม แม้ มีจาคะ ท�าให้พ่อแม่ที่ไม่มีปัญญา ให้มีปัญญาได้ เมื่อนั้น เทวดาก็เยียวยารักษาบุคคลผู้เลี้ยงดูมารดาและบิดา แหละ ลูกจึงจะชื่อว่าตอบแทนคุณพ่อแม่ได้แท้จริง นั้น บุคคลใดเลี้ยงดูมารดาและบิดาโดยธรรม แม้นัก เพราะฉะนัน ้ ลูกจึงควรหาทางช่วยให้พอแม่ได้ ่ ปราชญ์ ทั้ ง หลายย่ อ มสรรเสริ ญ บุ ค คลนั้ น ในโลกนี้ เจริญพัฒนาชีวตจิตใจของท่านมาก ๆ ขึน ช่วยจัดแจง ิ ้ บุคคลนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์ ขวนขวายเพือให้ทานเจริญด้วยศรัทธา ด้วยศีล ด้วยสุตะ ่ ่ เนื้อความแห่งชาดกนี้ชี้ให้เห็นว่าบุคคลที่ประพฤติ คือความรู้ ด้วยจาคะคือความเสียสละท�าประโยชน์ และ คุณธรรมคือความกตัญญูกตเวที ดูแลเลี้ยงดูมารดาบิดา ด้วยปัญญา พูดง่าย ๆ ว่าเจริญด้วยบุญกุศล ช่วยท�า โดยธรรม ด้วยวิธีการต่าง ๆ ย่อมแสดงให้เห็นว่าลูกที่ ทางข้างหน้าของท่านให้เป็นทางแห่งสวรรค์ และอมฤต ปรนนิบัติมารดาบิดา ย่อมพ้นจากความทุกข์ได้รับความ นิพพาน ให้ท่านมีจิตใจดีงาม ไม่ขุ่นมัว เศร้าหมอง มีแต่ สุข แม้แต่เทวดาทั้งหลายก็ยังให้การนิยมยกย่องและ ความสดชื่น ร่าเริง เบิกบาน ผ่องใส ถ้าลูกท�าได้ถึงขั้นนี้ สรรเสริญทั้งในขณะที่มีชีวิตอยู่และหลังจากที่ละโลกนี้ไป ก็เรียกว่าเป็นบุตรธิดาที่ประเสริฐเลิศล้ำ� เพราะได้ช่วยให้ จากการศึกษาวิจัยพบว่า การแสดงความกตัญญู พ่อแม่ได้สิ่งที่มีคุณค่าแท้จริงแก่ชีวิตของท่าน…” กตเวที ที่ ลู ก กระท� า ต่ อ มารดาบิ ด าที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ พระพุทธศาสนา สรุปแล้วจะมีอยู่ ๓ ลักษณะ คือ ๑.การแสดงความกตั ญ ญู ก ตเวที ด้ว ยการปรน
  • 23. แสงธรรม 20 Saeng Dhamma โดย ธมฺมธโรภิกฺขุ (วิชัย หานศุภิชน) ก ารที่ผมคิดจะบวชนั้นเพราะอยากพักจากงานซัก ระยะ และเป็นการตอบแทนบุญคุณของคุณพ่อและ คุณแม่ ผมเคยได้ยินคนเขาบอกว่า คนที่จะบวช ย่อมจะมี ศีลให้มั่น เราจะมี สมาธิ และ สติ จึงท�าให้ใจเราสงบ ซึ่ง จะน�าไปสู่ข้อที่ ๓ ๓. อธิปัญญาสิกขา คือการศึกษาทางปัญญา คือการ มารมาผจญ เหมือนดั่งคืนที่เจ้าชายสิทธัตถะจะออกบวช รอบรู้ในกองสังขาร ซึ่งจะท�าให้เราไม่เครียดต่อเรื่องที่เกิด การบวชของผมก็มีอุปสรรคเช่นเดียวกัน นั่นคือการที่คุณ ในชีวิต พ่อธ�ารง หานศุภชน ซึงเป็นพ่อผม ได้เสียชีวตลงก่อนวันงาน ิ ่ ิ ค. อริยสัจ ๔ แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ เป็น เพียงแค่ ๑๑ วัน ผมเสียใจและเสียดายมากทีทานไม่มโอกาส ่ ่ ี หลักค�าสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีดังนี้ ได้อยูรวมงานในครังนี แต่อย่างไรก็ตาม ผมก็หวังว่าผลบุญ ่่ ้ ้ ๑. ทุกข์ คือ ค�าที่ทุกคนน่าจะรู้จักเป็นอย่างดี หลาย ในการบวชครังนีจะส่งไปถึงท่านเพือให้ทานได้ไปสูสคติ ้ ้ ่ ่ ่ ุ อย่างในชีวิตประจ�าวันท�าให้เราทุกข์ได้ ถึงแม้ผมจะมีโอกาสบวชเป็นระยะเวลาแค่ ๗ วัน แต่ ๒. ทุกขสมุทัย คือ สาเหตุที่ท�าให้เกิดทุกข์ ก็ได้ศึกษาและเรียนรู้ในหลาย ๆ เรื่องเกี่ยวกับพระธรรมค�า ๓. ทุกขนิโรธ คือ การดับทุกข์ สอนของพระพุทธเจ้า ทีสามารถเอามาปฏิบตในชีวตประจ�า ่ ั ิ ิ ๔. ทุกขนิโรธคามินปฏิปทา คือ แนวปฎิบตทนาไปถึง ี ั ิ ี่ � วันได้หลังจากลาสิกขาแล้ว ดังนั้นผมจะขอน�าเอาธรรมะที่ ความดับทุกข์ ได้แก่ มรรคมีองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฎฐิ-ความ ได้เรียนมาพอเป็นตัวอย่าง ๔ เรื่อง ที่จะสามารถเอาไปใช้ เห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ-ความด�าริชอบ ๓. สัมมาวาจา- ให้เกิดประโยชน์ในการด�ารงชีวิตได้ เจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ-ท�าการงานชอบ ๕. สัมมา ก. ฆราวาสธรรม ที่หมายความว่า คุณสมบัติของผู้ อาชีวะ-เลียงชีพชอบ ๖. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ ๗. สัมมา ้ ครองเรือน หรือของชาวบ้านทั่วไป มีอยู่ทั้งหมด ๔ ข้อ สติ-ระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ-ตังใจชอบ ซึงเรียกอีกชือหนึง ้ ่ ่ ่ ๑. สัจจะ แปลว่า ซือตรง สุจริต มีความจริงใจต่อกัน ่ ว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” หรือ ทางสายกลาง นันเอง ่ ๒. ทมะ แปลว่า ข่มจิต รักษาใจ พัฒนาคุณธรรม อริยสัจ ๔ สามารถใช้ได้โดยง่ายในทุกสถานการณ์ เมือ ่ ให้เข้าหากันได้ เรามีทุกข์เราควรจะหาสาเหตุที่ท�าให้เกิดความทุกข์นั้น จึง ๓. ขันติ แปลว่า อดทน อดกลั้น ต่อความล�าบาก จะสามารถหาทางปฏิบัติในสิ่งที่จะน�ามาซึ่งการดับความ ความเจ็บทั้งกายและใจ ทุกข์ได้ ๔. จาคะ แปลว่า เสียสละ แบ่งปัน ให้กบคนรอบกาย ั ง. การท�าบุญ – ผมเชื่อว่าหลาย ๆ คนคงรู้ว่า บุญ ข. ไตรสิกขา ที่ความหมายว่า สิ่งที่ต้องศึกษา ๓ นั้นคืออะไร แล้วท�ากันยังไง ส่วนใหญ่คงตอบง่าย ๆ คือ ประการ การให้ทาน ให้สงของ บริจาคเงิน แล้วมีทางอืนทีจะท�าแล้ว ิ่ ่ ่ ๑. อธิสีลสิกขา คือการศึกษาเรื่องศีล ให้ใช้ในการ ได้บุญหรือเปล่าถ้าเราไม่มีก�าลังทรัพย์? จริง ๆ แล้วบุญนั้น รักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย แต่การรักษาใจนั้น ต้องใช้ ท�าได้หลายทาง ท�าได้บอย และท�าได้ทกทีทกเวลา แค่ปฏิบติ ่ ุ ่ ุ ั ข้อที่ ๒ เป็นหลัก อยู่ในศีลธรรมนั้นก็ได้บุญแล้ว หรือถ้าท่านใดที่อ่านเรียง ๒. อธิจตตสิกขา คือการศึกษาเรืองสมาธิ ถ้าเรารักษา ิ ่ ความนี้ ท่านและผมก็ได้บุญเช่นเดียวกัน เป็นเพราะว่าบุญ
  • 24. แสงธรรม 21 Saeng Dhamma นี เกิดมาจากทีผมแสดงความรูในธรรม และท่านได้บญจาก ้ ่ ้ ุ ในวัดหรือต่อหน้าเพือนฝูง สมาคม เท่านันเลย ท่านไม่ตอง ่ ้ ้ ที่ท่านได้อ่านความรู้นี้เอง บางท่านอาจจะคิดว่ารอให้ถึง รอถึงชาติหน้าหรอกทีจะได้เสวยสุขในผลบุญทีทาไว้ ผลบุญ ่ ่ � วันพระหรือวันส�าคัญถึงจะท�าบุญ บางท่านอาจจะคิดว่าต้อง นั้นสามารถเห็นผลเร็ว อาทิ ถ้าท่านมีใจท�าบุญเต็มที่ไม่ว่า ท�าแบบใหญ่ ๆ เท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้วเราควรที่จะสะสม จะเป็นสิ่งของหรือให้ธรรม ผลบุญจะท�าให้ท่านมีความสุข บุญทุกโอกาส ถึงแม้จะน้อยนิดก็ตาม เปรียบเสมือนการสะ มีจิตใจงาม ท่านก็จะปฏิบัติดีงามกับคนรอบข้าง และจะ สมเงินใว้ใช้ในอนาคต ถึงแม้เราจะเก็บได้นอยแต่ถาท�าบ่อย ๆ ้ ้ ท�าให้พวกเขาท�าดีต่อท่านกลับ ผลบุญนั้นก็จะส่งต่อ ๆ กัน เข้า ผลที่จะได้รับก็คือเงินสะสมจะงอกงามมาได้เหมือนกัน ไป หรือถ้าเราท�าบุญด้วยการออกแรง ผลบุญทีได้รบก็คอการ ่ ั ื ตามหลักธรรมแล้วเราสามารถสร้างบุญได้ ๑๐ ทาง ทีรางกายของเราได้ออกก�าลังกายและจะมีสขภาพทีแข็งแรง ่่ ุ ่ ๑. ทานมัย คือ การให้ บริจาค ทรัพย์ สิงของ อาหาร ่ หัวข้อที่ผมกล่าวมาทั้งหมดนั้น เป็นแค่บางส่วนที่ผมได้ ให้แก่ผู้ควรให้ เรียนมาและทียงไม่ได้เรียนอีกมากมาย ในความเห็นของผม ่ ั ๒. ศีลมัย คือ การอยู่ในศีล และ ไม่สร้างความเดือด นัน ทุกชีวตทีเกิดมาบนโลกอันแสนจะวุนวายนี้ ย่อมมีความ ้ ิ ่ ่ ร้อนให้กับผู้อื่น ทุกข์มากกกว่าสุขทีตดตามตัวมาอยูตลอดเวลา บางคนอาจ ่ ิ ่ ๓. ภาวนามัย คือ การท�าสมาธิ สวดมนต์ ฟังธรรม จะเกิดมาในความร�่ารวยและมีพร้อม แต่ถ้าไม่มีความรู้ใน อ่านหนังสือธรรมะ การดับทุกข์ หรือความรู้ที่จะท�าให้เราปล่อยให้ความทุกข์ที่ ๔. อปจายนมั ย คื อ การเคารพอ่ อ นน้ อ มต่ อ ผู ้ มี เข้ามานั้นออกไป จิตใจเราก็จะมีแต่ความทุกข์ เศร้าหมอง คุณธรรม และเครียด ผลที่ได้รับก็จะขยายไปถึงคนใกล้ชิดและสภาพ ๕. เวยยาวัจจมัย คือ การช่วยเหลือในกิจที่ชอบ เช่น แวดล้อมของเราเองด้วย ท�าความสะอาดวัด ช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยาก สุดท้ายนี ผมหวังว่าข้อความในเรียงความของผมนี้ อาจ ้ ๖. ปัตติทานมัย คือ การให้ส่วนบุญ จะเพิมความรูเปลียนความคิดของท่านให้ปรับพฤติกรรมใน ่ ้ ่ ๗. ปัตตานุโมทนามัย คือ การอนุโมทนาในบุญที่ผู้ กาย วาจา และ ใจ ให้ดียิ่งขึ้น บางท่านอาจจะรู้อยู่แล้วก็ อื่นท�า สามารถเอาข้อความในเรียงความนี้ไปบอกต่อกับคนรอบ ๘. ธัมมัสสวนมัย คือ การฟังธรรม ข้าง เพื่อที่จะท�าให้สังคมเรานี้มีความน่าอยู่มากขึ้น ท่าน ๙. ธัมมเทสนามัย คือ การแสดงธรรม เองก็ได้บุญด้วยเช่นกัน ขอให้ท่านอยู่ในศีล ๕ ข้อ ชีวิตท่าน ๑๐. ทิฏฐุชกมม์ คือ การปรับปรุงชีวตของตนเองให้ถกต้อง ุ ั ิ ู ก็จะไม่รู้สึกล�าบาก อย่างทีผมกล่าวมาข้างต้นแล้ว บุญนันสามารถท�าได้ทก ่ ้ ุ ผมขอขอบคุณพระทุกรูปในวัดไทยกรุงวอชิงตัน ดีซี ที่ เมื่อทุกเวลา ถึงแม้ท่านจะไม่มีเงิน ปัจจัย หรือ สิ่งของ แต่ ให้โอกาส ความรู้ และประสบการณ์ใหม่ในชีวิตของผม ผม ถ้าท่านออกแรงช่วยแบบอืน ผมคิดว่าท่านจะได้บญมากกว่า ่ ุ จะใช้ความรูนให้เกิดประโยชแก่ตวผมและคนทีเข้ามาในชีวต ้ ี้ ั ่ ิ ที่มาถวายแต่ทรัพย์เสียอีก อย่าจ้องแต่จะท�าบุญเมื่ออยู่แต่ ของผมทั้งปัจจุบันและในอนาคต พระวิชัย ธมฺมธโร และครอบครัวท�าบุญวัดไทยฯ ดี.ซี. $499 พระอดิศร และคณะ Pittsburgh ท�าบุญบูชาผ้าไตร วัดไทยฯ ดี.ซ.ี $1,339
  • 25. แสงธรรม 22 Saeng Dhamma ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี. ิ Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and members of the general public are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the Buddha relics on display in the chanting hall. ปฏิบัติธรรมประจำาเดือนธันวาคม ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 24 ธันวาคม 2554 ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามแนวพระไตรปิฎก � สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี � ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากัจฉา � เจริญจิตภาวนา - แผ่เมตตา พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.