SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
หนวยการเรียนรูที่ 1
รูจักรูปแบบไฟลภาพ เสียงและวีดีโอ
การเลือกใชรูปแบบไฟลภาพ เสียงและวิดีโอที่ไมเหมาะสมกับลักษณะงาน โดยไมรูจักความแตกตาง
ของงานแตละชนิดนั้น สงผลใหไดงานที่มีลักษณะไมสมบูรณและมีไฟลใหญเกินความจําเปน มีผลตอการใช
ทรัพยากรเชน ปญหาเครื่องรับไมได โปรแกรมไมรูจักไฟล ทําใหงานไมประสบความสําเร็จ
1. รูปแบบไฟลภาพ
1.1 BMP (Bitmap)
ไฟลภาพประเภทที่เก็บจุดของภาพแบบจุดตอจุดตรงๆ เรียกวา
ไฟลแบบ บิตแมพ( Bitmap ) ไฟลประเภทนี้จะมีขนาดใหญแตสามารถ
เก็บรายละเอียดของภาพไดอยางสมบูรณ แตเนื่องจากการเก็บแบบ
Bitmap ใชเนื้อที่ในการเก็บจํานวนมาก จึงไดมีการคิดคนวิธีการเก็บ
ภาพใหมีขนาดเล็กลงโดยยังคงสามารถเก็บภาพไดเชนเดิม ขึ้นมา
หลายวิธีการ เชน JPEG และ GIF
1.2 JPEG ( Joint Graphics Expert Group )
เปนการเก็บไฟลภาพแบบที่บีบอัด สามารถทําภาพ ใหมีขนาด
ของไฟลภาพเล็กกวาแบบ Bitmap หลายสิบเทา แตเหมาะจะใชกับ
ภาพที่ถายจากธรรมชาติเทานั้น ไมเหมาะกับการเก็บภาพเหมือนจริง
เชน ภาพการตูน เปนตน
1.3 GIF ( Graphics Interchange Format )
เปนวิธีการเก็บไฟลภาพแบบบีบอัดคลายกับ JPEG โดยทั่วไป
แลวไมสามารถเก็บภาพที่ถายจากธรรมชาติไดมีขนาดเล็กเทากับ
แบบ JPEG แตสามารถเก็บภาพที่ไมใชภาพถายจากธรรมชาติเชน
ภาพการตูน ไดเปนอยางดี นากจากนี้ GIF ยังสามารถเก็บภาพไว
ไดหลายๆภาพ ในไฟลเดียว จึงถูกนําไปใชสรางภาพเคลื่อนไหวงายๆ
เชน ในอินเตอรเน็ต
1.4 TIFF ( Tagged Image File Format )
คือการเก็บไฟลภาพในลักษณะเดียวกับไฟลแบบ BMP แตในไฟลมี Tagged File ซึ่งเปนสัญลักษณที่ชวย
โปรแกรมควบคุมการแสดงภาพ เชน การแสดงหรือไมแสดงภาพบางสวนได ภาพที่เก็บไวในลักษณะของ TIFF
จึงมีความพิเศษกวาการเก็บแบบอื่นที่กลาวมา นอกจากนี้ยังมีไฟลภาพแบบตางๆ อีกหลายแบบ โดยแตละแบบ
จะมีจุดเดนแตกตางกันไป มักนิยมใชในงานกราฟกการพิมพ
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
หนา 2
2. รูปแบบของไฟลวิดีโอ
Video file format เปนรูปแบบที่ใชบันทึกภาพ และเสียงที่สามารถทํางานกับคอมพิวเตอรไดเลย มี
หลายรูปแบบไดแก
2.1 .AVI (Audio / Video Interleave)
เปนฟอรแมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต เรียกวา Video for Windows มีนามสกุลเปน .avi
ปจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมาพรอมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player เปน
รูปแบบของไฟลมัลติมีเดียบน Windows สําหรับเสียงและภาพเคลื่อนไหวที่ใชคุณสมบัติของ RIFF (Resource
Interchange File Format) ของ Windows เปนไฟลวิดีโอที่มีความละเอียดสูง เหมาะสมกับการนํามาใชในงาน
ตัดตอวิดีโอ แตไมนิยมนํามาใชในสื่อดิจิตอลอื่น ๆ เพราะไฟลมีขนาดใหญมาก
2.2 MPEG - Moving Pictures Experts Group
รูปแบบของไฟลที่มีการบีบอัดไฟล เพื่อใหมีขนาดเล็กลง โดยใชเทคนิคการบีบขอมูลแบบ Inter Frame
หมายถึง การนําความแตกตางของขอมูลในแตละภาพมาบีบ และเก็บ โดยสามารถบีบขอมูลไดถึง 200 : 1 หรือ
เหลือขอมูลเพียง 100 kb/sec โดยคุณภาพยังดีอยู มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดย MPEG-1 มีนามสกุล คือ
.mpg
ไฟล MPEG เปนไฟลมาตรฐานในการบีบอัดไฟลวิดีโอ ซึ่งเปนรูปแบบของวิดีโอที่มีคุณภาพสูงและนิยม
นํามาใชกับงานวิดีโอหลายประเภท ไฟล MPEG ยังสามารถแบงออกตามคุณสมบัติตางๆ ไดดังนี้
MPEG-1 เปนรูปแบบไฟลที่เขารหัสดวยการบีบอัดไฟลใหมีขนาดเล็ก เพื่อสรางไฟลวิดีโอในรูปแบบ VCD ซึ่ง
จะมีขนาดสูงสุดอยูที่ 352 X 288 และมีการบีบอัดที่สูง มีคาบิตเรทอยูที่ 1.5 Mb/s 2 ชองสัญญาณเสียง
MPEG-2 เปนรูปแบบการเขารหัสไฟลที่สรางมาเพื่อภาพยนตรโดยเฉพาะ โดยจะสรางเปน SVCD หรือ DVD
ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยูที่ 1920X1080 ซึ่งอัตราการบีบอัดจะนอยกวารูปแบบ MPEG-1 ไฟลที่ไดจึงมีขนาดใหญ
กวาและมีคุณภาพที่ดีกวา ซึ่งรูปแบบ MPEG-2 สามารถที่จะบีบอัดขอมูลตามที่ตองการเองได
MPEG-4 เปนรูปแบบการเขารหัสไฟลที่ดีกวา MPEG-1 และ MPEG-2 เปนไฟลวิดีโอบีบอัดที่มีคุณภาพสูง
ซึ่งมีขนาดสูงสุดอยูที่ 720X576 รองรับสื่อวิดีโอดิจิตอลในปจจุบัน เชน Mobile Phone, PSP, PDA และ iPod
2.3 .DAT
เปนระบบของไฟลภาพยนตรหรือไฟลคาราโอเกะจากแผน VCD ที่อยูในรูปแบบไฟล MPEG-1 สามารถ
เปดเลนดวยโปรแกรมดูหนัง เชน Power DVD หรือ โปรแกรม Windows Media Player มีการเขารหัสบีบอัด
ไฟลคลายกับไฟล MPEG สามารถเลนไดบนเครื่องเลน VCD หรือ DVD ทั่วไป
2.4 .WMV (Windows Media Video)
เปนไฟลวิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท สรางขึ้นมาจากโปรแกรม Windows Movie Maker เปนไฟลที่
ไดรับความนิยมในปจจุบันจากสื่ออินเทอรเน็ต มีจุดประสงคที่สรางขึ้นมาเพื่อการชมวิดีโอแบบ Movie on
Demand ดวยคุณภาพที่ดีและมีขนาดไฟลที่เล็ก สามารถที่จะ Upload ขึ้นเว็บไซตไดงายและสะดวกรวดเร็ว
2.5 Quick Time
เปนฟอรแมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple ซึ่งมีความนิยมสูงในเครื่องตระกูล Macintosh สามารถใชไดกับ
เครื่องที่ใชระบบ Windows แตจําเปนตองติดตั้งโปรแกรม QuickTime กอน นิยมใชนําเสนอขอมูลไฟลผาน
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
หนา 3
อินเทอรเน็ต มีนามสกุลเปน .mov หรือ qt
2.6 Real Player
เปนรูปแบบของแฟมที่พัฒนาโดยบริษัท เรียลเน็ตเวิรก (Real Network) รูปแบบแฟมชนิดนี้มีสวนขยาย
เปน rm ra และ ram โปรแกรมใชในการอานขอมูลของแฟมประเภทนี้ไดแก เรียล เพลเยอร เรียลเพลเยอร
จีทู (Real Player G2 ) และ เรียลวัน เพลเยอร (Real One Player)
2.7 .VOB (Voice of Barbados)
เปนไฟลของ ซึ่งใชการเขารหัสหรือการบีบอัดในรูปแบบ ซึ่งมีคุณภาพสูงทั้งระบบภาพและเสียง สามารถ
เลนไดจากเครื่องเลน DVD หรือไดรว DVD ในเครื่องคอมพิวเตอร
2.8 Flash Video (.FLV)
เปนไฟลวิดีโอในรูปแบบของ Flash ซึ่งมีขอดีคือ สามารถนํามาใชงานรวมกับ Component ของ Flash
รวมทั้งไฟลที่บีบอัดแลวมีขนาดเล็กแตยังคงรายละเอียดของไฟลตนฉบับไดเปนอยางดี แตมีขอเสียคือไฟลวิดีโอที่
ทําการบีบอัดแลวจะไมมีเสียง อันนี้ก็ขึ้นอยูกับการนําไฟลไปประยุกตใชงานของแตละคนนะครับ
2.9. มาตรฐานของวิดีโอแบบตาง ๆ
มาตรฐานของวิดีโอมีอยูดวยกัน 3 รูปแบบ คือ VCD , SVCD และ DVD ซึ่งคุณภาพของวิดีโอก็มีความ
แตกตางกันไปตามแตละประเภท โดยแตละรูปแบบก็มีคุณสมบัติดังนี้
VCD ( Video Compact Disc )
VCD เปนรูปแบบของวิดีโอที่ไดรับความนิยมกันโดยทั่วไปประกอบดวยภาพและเสียงแบบ
ดิจิตอล ความจุของแผน VCDโดยปกติจะอยูที่ 74/80 นาทีหรือประมาณ 650/700 เมกกะไบต โดย
ไดรับการเขารหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 1 มีความละเอียดของภาพอยูที่ 352 x 288 พิกเซลใน
ระบบ PAL และ 352 x 240 พิกเซลในระบบ NTSC คุณภาพของวิดีโอใกลเคียงกับเทป VHS ซึ่งสามารถ
เลนไดกับเครื่องเลนวีซีดีโดยทั่วไปหรือจากไดรฟซีดีรอมของเครื่องคอมพิวเตอร และแผนซีดีที่ใช
เขียน VCD ไดก็จะมีอยู 2 แบบคือแผน CD-R ซึ่งเปนชนิดที่เขียนขอมูลไดครั้งเดียว และแผน CD-RW ที่
สามารถเขียนและลบเพื่อเขียนขอมูลลงไปใหมได แตแผน CD-RW มักจะอานไมไดจากเครื่อง
เลน VCD หลายๆ รุน
SVCD ( Super Video Compact Disc )
SVCD เปนรูปแบบของวิดีโอที่คลายกับ VCD แตจะใหคุณภาพของวิดีโอทั้งในดานภาพและเสียงที่
ดีกวา โดยเขารหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 2 จะมีความละเอียดของภาพอยูที่ 482 x 576 พิกเซลใน
ระบบ PAL และ 480 x 480 พิกเซลในระบบ NTSC ซึ่งแผนประเภทนี้ยังมีเครื่องเลน VCD หลาย ๆ รุน
ที่อานไมได โดยจําเปนตองอานจากเครื่องเลน DVD หรือ VCD บางรุนที่สนับสนุนหรือเลนจาก CD –
ROM จากเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น
DVD ( Digital Versatile Disc )
DVD เปนรูปแบบการเก็บขอมูลแบบใหมที่ใหคุณภาพของวิดีโอสูงทั้งดานภาพและเสียงซึ่งมากกวา
รูปแบบของ VCD หลายเทาตัว โดยใหความละเอียดของภาพอยูที่ 720 x 480 พิกเซลใน
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
หนา 4
ระบบ PAL และ 720 x 576 พิกเซลในระบบ NTSC โดยมาตรฐานของแผน DVD ก็มีหลาย
ประเภท เชน DVD + R/RW , DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซึ่งความจุของ
แผน DVD ก็มีใหเลือกใชตามชนิดของแผน โดยมีตั้งแต 4.7 กิกะไบตไปจนถึง 17 กิกะไบต ทําให
สามารถบันทึกภาพยนตรทั้งเรื่องไดอยางสบาย ซึ่งคาดการณกันวาสื่อประเภท DVD คงจะเขามา
แทนที่ VCD ไดในไมชา
3. รูปแบบของไฟลเสียงชนิดตาง ๆ
ไฟลดนตรีที่ใชกับคอมพิวเตอรมีอยูดวยกันหลายประเภท ซึ่งแตละประเภทเหมาะกับงานที่ตางกัน ไฟลรูปแบบ
หลักๆที่ใชกับพีซี ไดแก Wave, CD Audio, MP3, WMA, RA ซึ่งทั้งหมดนี้ขอเรียกรวมกันวาเปนไฟลรูปแบบ
คลื่นเสียง (waveform) สวนไฟลดนตรีอีกประเภทหนึ่งก็คือไฟล MIDI เรามาดูรายละเอียดของไฟลดนตรีแตละ
ประเภทกันวามีลักษณะอยางไร
3.1 Wave
ไฟล Wave (เวฟ) ที่มีนามสกุล .wav เปนไฟลขอมูลคลื่นเสียงที่บันทึกจากเสียงอนาล็อกเปนรูปแบบดิจิตอล เก็บ
เอาไวในระบบคอมพิวเตอร คลายกับการบันทึกเทปแตเปนการบันทึกไวในดิสกของคอมพิวเตอรแทน Wave
เปนรูปแบบไพลพื้นฐานของระบบพีซี มีขนาดไฟลใหญ สามารถกําหนดคุณภาพเสียงไดหลากหลาย เชน เสียงโม
โนหรือสเตอริโอ มีระดับความละเอียดนอยมาก
3.2 CD Audio
เปนแทร็กเสียงดิจิตอลที่รูปแบบเหมือนกับไฟล Wave บรรจุไวในแผนซีดีเพลงดวยรูปแบบพิเศษเฉพาะ ถาใส
แผนซีดีเพลงเขาไปในไดรฟซีดีรอมแลวเปด My Computer คุณจะเห็นชื่อไฟลในแผนซีดีมีนามสกุลเปน . cda
เชนไฟล trac1.cda ซึ่งมันไมใชไฟลขอมูลคอมพิวเตอรอยาง Wave หรือ MP3 คุณจึงไมสามารถกอบปแทร็ก
CD Audio เก็บไวในฮารดิสกได
3.3 MP3
MP3 (นามสกุล .mp3) เปนไฟลเสียงที่มีพื้นฐานจากไฟล Wave แตมีขนาดเล็กกวาประมาณ 8-10 เทา
เนื่องจากขอมูลในไฟลถูกบับอัดใหเล็กลงแตยังคงคุณภาพไวใกลเคียงตนฉบับ ไฟล MP3 ไดรับความนิยมมาก
สําหรับการบันทึกเพลง ไฟลประเภทนี้ความยาว 4 นาที มีขนาดประมาณ 5MB สามารถกอบปเก็บไวในฮารด
ดิสกไดเหมือนไฟลขอมูลขอมูลปกติทั่วไป แตการสรางและการแกไขไฟลคอนขางซับซอน กอนที่จะสรางไฟล
MP3 ได คุณตองใชคอมพิวเตอรบันทึกเสียงจากภายนอกใหเปนไฟล Wave แลว จากนั้นจึงเขารหัสบีบอัดให
กลายเปน MP3 หรือตองใชอุปกรณพิเศษที่สามารถบันทึกและเขารหัส MP3 ในทันทีได
3.4 WMA
WMA (Windows Media Audio) เปนไฟลเสียงดิจิตอลรูปแบบใหมกวา MP3 มีการบีบอัดดีกวา ทําใหไฟลมี
ขนาดเล็กกวา MP3 คุณสมบัติทั่วไปเหมือนกับ MP3
3.5 RA
RA (Real Audio) เปนไฟลเสียงสําหรับใชกับโปรแกรม Real Player โดยเฉพาะ มีพื้นฐานมาจากไฟล Wave
แตถูกบีบอัดใหเล็กลงดวยเทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อใชในการรับสงขอมูลเสียงทางอินเทอรเน็ตเปนหลัก
3.6 MIDI
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
หนา 5
MIDI (Musical Instrument Digital Interface) (อานวา “มิดี้”) ที่มีนามสกุล .mid เปนไฟลขอมูลดนตรีที่ถูก
บันทึกหรือโปรแกรมเอาไว เชน เสียงเครื่องดนตรีตางๆ ตัวโนต ความเร็วจังหวะ ฯลฯ สําหรับนําไปใชกับอุปกรณ
ดนตรี เชน ซาวนดการด หรือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกสเมื่อขอมูลถูกสงจากคอมพิวเตอรเขาสูอุปกรณดนตรีจะ
ทําให อุปกรณดนตรีจะเลนดนตรีตามขอมูลในไฟล เหมือนกับคนอื่นมาเลนดนตรีใหคุณฟงในวงการดนตรี MIDI
คือลักษณะการตอเชื่อมเครื่องดนตรีแบบดิจิตอล ใชอางถึงความสามารถในการสื่อสารระหวางเครื่องดนตรีผาน
ทางพอรต MIDI (ชองสําหรับเสียบสายสัญญาณ) โดยเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งสงขอมูลไปใหอีกเครื่องหนึ่ง เพื่อสั่ง
ใหทํางานหรือสงเสียงตามที่ตองการได ตัวอยางเชน คุณเชื่อมตอกีตารไฟฟากับคียบอรดเขาดวยกัน เมื่อคุณ
ดีดกีตารสมมุติวาเปนโนตเสียงโด คียบอรดก็จะสงเสียงโด ออกมาพรอมกันทันที เหมือนกับมีอีกคนมาชวยเลน
คียบอรดใหคุณ
4. ระบบการสงสัญญาณโทรทัศน
ในปจจุบันนี้มีระบบการสงสัญญาณโทรทัศนที่นิยมใชในแถบภูมิภาคตางๆ คือ
4.1 ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เปนระบบโทรทัศนสีระบบแรกที่ใช
งานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแตปค.ศ.1953 ประเทศที่ใชระบบนี้ตอ ๆ มาไดแก ญี่ปุน แคนาดา เปอเตอริโก
และเม็กซิโก เปนตน
4.2 ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เปนระบบโทรทัศนที่พัฒนามาจากระบบ NTSC ทําใหมีการ
เพี้ยนของสีนอยลง เริ่มใชงานมาตั้งแตปค.ศ.1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ
ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมารก นอรเวย สวีเดน สวิตเซอรแลนด และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่
ใชกันคือ สิงคโปร มาเลเซีย รวมไปถึงประเทศไทยก็ใชระบบนี้
4.3 ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire("memory sequential")) เปนระบบโทรทัศนอีกระบบ
หนึ่งคิดคนขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใชมาตั้งแตปค.ศ.1967 นิยมใชกันอยูหลายประเทศแถบยุโรป
ตะวันออก ไดแก ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตูนีเซีย รูมาเนีย และรัสเซีย* เปนตน
อางอิงจาก
http://www.guycomputer.com/mean/picturefile.htm
http://www.yupparaj.ac.th/CAI/graphic/type.html
http://www.ceted.org/cet_media/detail.php?mode=Knowledge&pid=185
http://forum.thaidvd.net/lofiversion/index.php/t814-1100.html
http://www.thecommunicationsgroup.com/images/multimedia_large.jpg
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Más contenido relacionado

Destacado

How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellSaba Software
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageSimplilearn
 

Destacado (20)

How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming Language
 

หน่วยที่1รู้จักไฟล์ภาพและเสียง

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 1 รูจักรูปแบบไฟลภาพ เสียงและวีดีโอ การเลือกใชรูปแบบไฟลภาพ เสียงและวิดีโอที่ไมเหมาะสมกับลักษณะงาน โดยไมรูจักความแตกตาง ของงานแตละชนิดนั้น สงผลใหไดงานที่มีลักษณะไมสมบูรณและมีไฟลใหญเกินความจําเปน มีผลตอการใช ทรัพยากรเชน ปญหาเครื่องรับไมได โปรแกรมไมรูจักไฟล ทําใหงานไมประสบความสําเร็จ 1. รูปแบบไฟลภาพ 1.1 BMP (Bitmap) ไฟลภาพประเภทที่เก็บจุดของภาพแบบจุดตอจุดตรงๆ เรียกวา ไฟลแบบ บิตแมพ( Bitmap ) ไฟลประเภทนี้จะมีขนาดใหญแตสามารถ เก็บรายละเอียดของภาพไดอยางสมบูรณ แตเนื่องจากการเก็บแบบ Bitmap ใชเนื้อที่ในการเก็บจํานวนมาก จึงไดมีการคิดคนวิธีการเก็บ ภาพใหมีขนาดเล็กลงโดยยังคงสามารถเก็บภาพไดเชนเดิม ขึ้นมา หลายวิธีการ เชน JPEG และ GIF 1.2 JPEG ( Joint Graphics Expert Group ) เปนการเก็บไฟลภาพแบบที่บีบอัด สามารถทําภาพ ใหมีขนาด ของไฟลภาพเล็กกวาแบบ Bitmap หลายสิบเทา แตเหมาะจะใชกับ ภาพที่ถายจากธรรมชาติเทานั้น ไมเหมาะกับการเก็บภาพเหมือนจริง เชน ภาพการตูน เปนตน 1.3 GIF ( Graphics Interchange Format ) เปนวิธีการเก็บไฟลภาพแบบบีบอัดคลายกับ JPEG โดยทั่วไป แลวไมสามารถเก็บภาพที่ถายจากธรรมชาติไดมีขนาดเล็กเทากับ แบบ JPEG แตสามารถเก็บภาพที่ไมใชภาพถายจากธรรมชาติเชน ภาพการตูน ไดเปนอยางดี นากจากนี้ GIF ยังสามารถเก็บภาพไว ไดหลายๆภาพ ในไฟลเดียว จึงถูกนําไปใชสรางภาพเคลื่อนไหวงายๆ เชน ในอินเตอรเน็ต 1.4 TIFF ( Tagged Image File Format ) คือการเก็บไฟลภาพในลักษณะเดียวกับไฟลแบบ BMP แตในไฟลมี Tagged File ซึ่งเปนสัญลักษณที่ชวย โปรแกรมควบคุมการแสดงภาพ เชน การแสดงหรือไมแสดงภาพบางสวนได ภาพที่เก็บไวในลักษณะของ TIFF จึงมีความพิเศษกวาการเก็บแบบอื่นที่กลาวมา นอกจากนี้ยังมีไฟลภาพแบบตางๆ อีกหลายแบบ โดยแตละแบบ จะมีจุดเดนแตกตางกันไป มักนิยมใชในงานกราฟกการพิมพ PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 2. หนา 2 2. รูปแบบของไฟลวิดีโอ Video file format เปนรูปแบบที่ใชบันทึกภาพ และเสียงที่สามารถทํางานกับคอมพิวเตอรไดเลย มี หลายรูปแบบไดแก 2.1 .AVI (Audio / Video Interleave) เปนฟอรแมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต เรียกวา Video for Windows มีนามสกุลเปน .avi ปจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมาพรอมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player เปน รูปแบบของไฟลมัลติมีเดียบน Windows สําหรับเสียงและภาพเคลื่อนไหวที่ใชคุณสมบัติของ RIFF (Resource Interchange File Format) ของ Windows เปนไฟลวิดีโอที่มีความละเอียดสูง เหมาะสมกับการนํามาใชในงาน ตัดตอวิดีโอ แตไมนิยมนํามาใชในสื่อดิจิตอลอื่น ๆ เพราะไฟลมีขนาดใหญมาก 2.2 MPEG - Moving Pictures Experts Group รูปแบบของไฟลที่มีการบีบอัดไฟล เพื่อใหมีขนาดเล็กลง โดยใชเทคนิคการบีบขอมูลแบบ Inter Frame หมายถึง การนําความแตกตางของขอมูลในแตละภาพมาบีบ และเก็บ โดยสามารถบีบขอมูลไดถึง 200 : 1 หรือ เหลือขอมูลเพียง 100 kb/sec โดยคุณภาพยังดีอยู มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดย MPEG-1 มีนามสกุล คือ .mpg ไฟล MPEG เปนไฟลมาตรฐานในการบีบอัดไฟลวิดีโอ ซึ่งเปนรูปแบบของวิดีโอที่มีคุณภาพสูงและนิยม นํามาใชกับงานวิดีโอหลายประเภท ไฟล MPEG ยังสามารถแบงออกตามคุณสมบัติตางๆ ไดดังนี้ MPEG-1 เปนรูปแบบไฟลที่เขารหัสดวยการบีบอัดไฟลใหมีขนาดเล็ก เพื่อสรางไฟลวิดีโอในรูปแบบ VCD ซึ่ง จะมีขนาดสูงสุดอยูที่ 352 X 288 และมีการบีบอัดที่สูง มีคาบิตเรทอยูที่ 1.5 Mb/s 2 ชองสัญญาณเสียง MPEG-2 เปนรูปแบบการเขารหัสไฟลที่สรางมาเพื่อภาพยนตรโดยเฉพาะ โดยจะสรางเปน SVCD หรือ DVD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยูที่ 1920X1080 ซึ่งอัตราการบีบอัดจะนอยกวารูปแบบ MPEG-1 ไฟลที่ไดจึงมีขนาดใหญ กวาและมีคุณภาพที่ดีกวา ซึ่งรูปแบบ MPEG-2 สามารถที่จะบีบอัดขอมูลตามที่ตองการเองได MPEG-4 เปนรูปแบบการเขารหัสไฟลที่ดีกวา MPEG-1 และ MPEG-2 เปนไฟลวิดีโอบีบอัดที่มีคุณภาพสูง ซึ่งมีขนาดสูงสุดอยูที่ 720X576 รองรับสื่อวิดีโอดิจิตอลในปจจุบัน เชน Mobile Phone, PSP, PDA และ iPod 2.3 .DAT เปนระบบของไฟลภาพยนตรหรือไฟลคาราโอเกะจากแผน VCD ที่อยูในรูปแบบไฟล MPEG-1 สามารถ เปดเลนดวยโปรแกรมดูหนัง เชน Power DVD หรือ โปรแกรม Windows Media Player มีการเขารหัสบีบอัด ไฟลคลายกับไฟล MPEG สามารถเลนไดบนเครื่องเลน VCD หรือ DVD ทั่วไป 2.4 .WMV (Windows Media Video) เปนไฟลวิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท สรางขึ้นมาจากโปรแกรม Windows Movie Maker เปนไฟลที่ ไดรับความนิยมในปจจุบันจากสื่ออินเทอรเน็ต มีจุดประสงคที่สรางขึ้นมาเพื่อการชมวิดีโอแบบ Movie on Demand ดวยคุณภาพที่ดีและมีขนาดไฟลที่เล็ก สามารถที่จะ Upload ขึ้นเว็บไซตไดงายและสะดวกรวดเร็ว 2.5 Quick Time เปนฟอรแมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple ซึ่งมีความนิยมสูงในเครื่องตระกูล Macintosh สามารถใชไดกับ เครื่องที่ใชระบบ Windows แตจําเปนตองติดตั้งโปรแกรม QuickTime กอน นิยมใชนําเสนอขอมูลไฟลผาน PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 3. หนา 3 อินเทอรเน็ต มีนามสกุลเปน .mov หรือ qt 2.6 Real Player เปนรูปแบบของแฟมที่พัฒนาโดยบริษัท เรียลเน็ตเวิรก (Real Network) รูปแบบแฟมชนิดนี้มีสวนขยาย เปน rm ra และ ram โปรแกรมใชในการอานขอมูลของแฟมประเภทนี้ไดแก เรียล เพลเยอร เรียลเพลเยอร จีทู (Real Player G2 ) และ เรียลวัน เพลเยอร (Real One Player) 2.7 .VOB (Voice of Barbados) เปนไฟลของ ซึ่งใชการเขารหัสหรือการบีบอัดในรูปแบบ ซึ่งมีคุณภาพสูงทั้งระบบภาพและเสียง สามารถ เลนไดจากเครื่องเลน DVD หรือไดรว DVD ในเครื่องคอมพิวเตอร 2.8 Flash Video (.FLV) เปนไฟลวิดีโอในรูปแบบของ Flash ซึ่งมีขอดีคือ สามารถนํามาใชงานรวมกับ Component ของ Flash รวมทั้งไฟลที่บีบอัดแลวมีขนาดเล็กแตยังคงรายละเอียดของไฟลตนฉบับไดเปนอยางดี แตมีขอเสียคือไฟลวิดีโอที่ ทําการบีบอัดแลวจะไมมีเสียง อันนี้ก็ขึ้นอยูกับการนําไฟลไปประยุกตใชงานของแตละคนนะครับ 2.9. มาตรฐานของวิดีโอแบบตาง ๆ มาตรฐานของวิดีโอมีอยูดวยกัน 3 รูปแบบ คือ VCD , SVCD และ DVD ซึ่งคุณภาพของวิดีโอก็มีความ แตกตางกันไปตามแตละประเภท โดยแตละรูปแบบก็มีคุณสมบัติดังนี้ VCD ( Video Compact Disc ) VCD เปนรูปแบบของวิดีโอที่ไดรับความนิยมกันโดยทั่วไปประกอบดวยภาพและเสียงแบบ ดิจิตอล ความจุของแผน VCDโดยปกติจะอยูที่ 74/80 นาทีหรือประมาณ 650/700 เมกกะไบต โดย ไดรับการเขารหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 1 มีความละเอียดของภาพอยูที่ 352 x 288 พิกเซลใน ระบบ PAL และ 352 x 240 พิกเซลในระบบ NTSC คุณภาพของวิดีโอใกลเคียงกับเทป VHS ซึ่งสามารถ เลนไดกับเครื่องเลนวีซีดีโดยทั่วไปหรือจากไดรฟซีดีรอมของเครื่องคอมพิวเตอร และแผนซีดีที่ใช เขียน VCD ไดก็จะมีอยู 2 แบบคือแผน CD-R ซึ่งเปนชนิดที่เขียนขอมูลไดครั้งเดียว และแผน CD-RW ที่ สามารถเขียนและลบเพื่อเขียนขอมูลลงไปใหมได แตแผน CD-RW มักจะอานไมไดจากเครื่อง เลน VCD หลายๆ รุน SVCD ( Super Video Compact Disc ) SVCD เปนรูปแบบของวิดีโอที่คลายกับ VCD แตจะใหคุณภาพของวิดีโอทั้งในดานภาพและเสียงที่ ดีกวา โดยเขารหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 2 จะมีความละเอียดของภาพอยูที่ 482 x 576 พิกเซลใน ระบบ PAL และ 480 x 480 พิกเซลในระบบ NTSC ซึ่งแผนประเภทนี้ยังมีเครื่องเลน VCD หลาย ๆ รุน ที่อานไมได โดยจําเปนตองอานจากเครื่องเลน DVD หรือ VCD บางรุนที่สนับสนุนหรือเลนจาก CD – ROM จากเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น DVD ( Digital Versatile Disc ) DVD เปนรูปแบบการเก็บขอมูลแบบใหมที่ใหคุณภาพของวิดีโอสูงทั้งดานภาพและเสียงซึ่งมากกวา รูปแบบของ VCD หลายเทาตัว โดยใหความละเอียดของภาพอยูที่ 720 x 480 พิกเซลใน PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 4. หนา 4 ระบบ PAL และ 720 x 576 พิกเซลในระบบ NTSC โดยมาตรฐานของแผน DVD ก็มีหลาย ประเภท เชน DVD + R/RW , DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซึ่งความจุของ แผน DVD ก็มีใหเลือกใชตามชนิดของแผน โดยมีตั้งแต 4.7 กิกะไบตไปจนถึง 17 กิกะไบต ทําให สามารถบันทึกภาพยนตรทั้งเรื่องไดอยางสบาย ซึ่งคาดการณกันวาสื่อประเภท DVD คงจะเขามา แทนที่ VCD ไดในไมชา 3. รูปแบบของไฟลเสียงชนิดตาง ๆ ไฟลดนตรีที่ใชกับคอมพิวเตอรมีอยูดวยกันหลายประเภท ซึ่งแตละประเภทเหมาะกับงานที่ตางกัน ไฟลรูปแบบ หลักๆที่ใชกับพีซี ไดแก Wave, CD Audio, MP3, WMA, RA ซึ่งทั้งหมดนี้ขอเรียกรวมกันวาเปนไฟลรูปแบบ คลื่นเสียง (waveform) สวนไฟลดนตรีอีกประเภทหนึ่งก็คือไฟล MIDI เรามาดูรายละเอียดของไฟลดนตรีแตละ ประเภทกันวามีลักษณะอยางไร 3.1 Wave ไฟล Wave (เวฟ) ที่มีนามสกุล .wav เปนไฟลขอมูลคลื่นเสียงที่บันทึกจากเสียงอนาล็อกเปนรูปแบบดิจิตอล เก็บ เอาไวในระบบคอมพิวเตอร คลายกับการบันทึกเทปแตเปนการบันทึกไวในดิสกของคอมพิวเตอรแทน Wave เปนรูปแบบไพลพื้นฐานของระบบพีซี มีขนาดไฟลใหญ สามารถกําหนดคุณภาพเสียงไดหลากหลาย เชน เสียงโม โนหรือสเตอริโอ มีระดับความละเอียดนอยมาก 3.2 CD Audio เปนแทร็กเสียงดิจิตอลที่รูปแบบเหมือนกับไฟล Wave บรรจุไวในแผนซีดีเพลงดวยรูปแบบพิเศษเฉพาะ ถาใส แผนซีดีเพลงเขาไปในไดรฟซีดีรอมแลวเปด My Computer คุณจะเห็นชื่อไฟลในแผนซีดีมีนามสกุลเปน . cda เชนไฟล trac1.cda ซึ่งมันไมใชไฟลขอมูลคอมพิวเตอรอยาง Wave หรือ MP3 คุณจึงไมสามารถกอบปแทร็ก CD Audio เก็บไวในฮารดิสกได 3.3 MP3 MP3 (นามสกุล .mp3) เปนไฟลเสียงที่มีพื้นฐานจากไฟล Wave แตมีขนาดเล็กกวาประมาณ 8-10 เทา เนื่องจากขอมูลในไฟลถูกบับอัดใหเล็กลงแตยังคงคุณภาพไวใกลเคียงตนฉบับ ไฟล MP3 ไดรับความนิยมมาก สําหรับการบันทึกเพลง ไฟลประเภทนี้ความยาว 4 นาที มีขนาดประมาณ 5MB สามารถกอบปเก็บไวในฮารด ดิสกไดเหมือนไฟลขอมูลขอมูลปกติทั่วไป แตการสรางและการแกไขไฟลคอนขางซับซอน กอนที่จะสรางไฟล MP3 ได คุณตองใชคอมพิวเตอรบันทึกเสียงจากภายนอกใหเปนไฟล Wave แลว จากนั้นจึงเขารหัสบีบอัดให กลายเปน MP3 หรือตองใชอุปกรณพิเศษที่สามารถบันทึกและเขารหัส MP3 ในทันทีได 3.4 WMA WMA (Windows Media Audio) เปนไฟลเสียงดิจิตอลรูปแบบใหมกวา MP3 มีการบีบอัดดีกวา ทําใหไฟลมี ขนาดเล็กกวา MP3 คุณสมบัติทั่วไปเหมือนกับ MP3 3.5 RA RA (Real Audio) เปนไฟลเสียงสําหรับใชกับโปรแกรม Real Player โดยเฉพาะ มีพื้นฐานมาจากไฟล Wave แตถูกบีบอัดใหเล็กลงดวยเทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อใชในการรับสงขอมูลเสียงทางอินเทอรเน็ตเปนหลัก 3.6 MIDI PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 5. หนา 5 MIDI (Musical Instrument Digital Interface) (อานวา “มิดี้”) ที่มีนามสกุล .mid เปนไฟลขอมูลดนตรีที่ถูก บันทึกหรือโปรแกรมเอาไว เชน เสียงเครื่องดนตรีตางๆ ตัวโนต ความเร็วจังหวะ ฯลฯ สําหรับนําไปใชกับอุปกรณ ดนตรี เชน ซาวนดการด หรือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกสเมื่อขอมูลถูกสงจากคอมพิวเตอรเขาสูอุปกรณดนตรีจะ ทําให อุปกรณดนตรีจะเลนดนตรีตามขอมูลในไฟล เหมือนกับคนอื่นมาเลนดนตรีใหคุณฟงในวงการดนตรี MIDI คือลักษณะการตอเชื่อมเครื่องดนตรีแบบดิจิตอล ใชอางถึงความสามารถในการสื่อสารระหวางเครื่องดนตรีผาน ทางพอรต MIDI (ชองสําหรับเสียบสายสัญญาณ) โดยเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งสงขอมูลไปใหอีกเครื่องหนึ่ง เพื่อสั่ง ใหทํางานหรือสงเสียงตามที่ตองการได ตัวอยางเชน คุณเชื่อมตอกีตารไฟฟากับคียบอรดเขาดวยกัน เมื่อคุณ ดีดกีตารสมมุติวาเปนโนตเสียงโด คียบอรดก็จะสงเสียงโด ออกมาพรอมกันทันที เหมือนกับมีอีกคนมาชวยเลน คียบอรดใหคุณ 4. ระบบการสงสัญญาณโทรทัศน ในปจจุบันนี้มีระบบการสงสัญญาณโทรทัศนที่นิยมใชในแถบภูมิภาคตางๆ คือ 4.1 ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เปนระบบโทรทัศนสีระบบแรกที่ใช งานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแตปค.ศ.1953 ประเทศที่ใชระบบนี้ตอ ๆ มาไดแก ญี่ปุน แคนาดา เปอเตอริโก และเม็กซิโก เปนตน 4.2 ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เปนระบบโทรทัศนที่พัฒนามาจากระบบ NTSC ทําใหมีการ เพี้ยนของสีนอยลง เริ่มใชงานมาตั้งแตปค.ศ.1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมารก นอรเวย สวีเดน สวิตเซอรแลนด และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่ ใชกันคือ สิงคโปร มาเลเซีย รวมไปถึงประเทศไทยก็ใชระบบนี้ 4.3 ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire("memory sequential")) เปนระบบโทรทัศนอีกระบบ หนึ่งคิดคนขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใชมาตั้งแตปค.ศ.1967 นิยมใชกันอยูหลายประเทศแถบยุโรป ตะวันออก ไดแก ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตูนีเซีย รูมาเนีย และรัสเซีย* เปนตน อางอิงจาก http://www.guycomputer.com/mean/picturefile.htm http://www.yupparaj.ac.th/CAI/graphic/type.html http://www.ceted.org/cet_media/detail.php?mode=Knowledge&pid=185 http://forum.thaidvd.net/lofiversion/index.php/t814-1100.html http://www.thecommunicationsgroup.com/images/multimedia_large.jpg PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com