SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส. ลัดดาวรรณ  ศรีหาบุตร  49010210737 2. น.ส. เพ็ญพยอม  ภูกะฐิน  49010911716 ETC.
ภัยธรรมชาติ ปรากฎการณ์โลกร้อน
ปรากฏการณ์โลกร้อน  ( global warming)   คือปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกและผืนมหาสมุทรสูงขึ้น โดยมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ เป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คาย ออกไปสู่บรรยากาศ ก๊าซเรือนกระจก   (greenhouse gases)  มีตามธรรมชาติได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน และโอโซน ปกติแล้วจะมีหน้าที่เก็บกักความร้อนไว้เพื่อให้โลกอบอุ่น สิ่งมีชีวิตจะได้เจริญเติบโตในโลกได้ แต่หากมีมากก็ส่งผลให้โลกร้อน อุณหภูมิสูงขึ้น
บรรยากาศโลก บรรยากาศของโลกประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน  78%  ก๊าซออกซิเจน  21%  ก๊าซอาร์กอน  0.9%  นอกจากนั้นเป็น ไอน้ำ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนเล็กน้อย แม้ว่าไนโตรเจน ออกซิเจน และอาร์กอน จะเป็นองค์ประกอบหลักของบรรยากาศ แต่ก็มิได้มีอิทธิพลต่ออุณหภูมิของโลก ในทางตรงกันข้ามก๊าซโมเลกุลใหญ่ เช่น ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และโอโซน แม้จะมีอยู่ในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยแต่มีความสามารถในการดูดกลืนรังสีอินฟราเรด  ทำให้อุณหภูมิพื้นผิวโลกอบอุ่น เหมาะแก่การดำรงชีวิตมาก
ประโยชน์ของภาวะเรือนกระจก
สาเหตุที่ทำให้โลกร้อน มหันตภัยร้ายที่กำลังคุกคามโลกอยู่ขณะนี้ คือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ ปริมาณมหาศาลที่มนุษย์เป็นผู้ก่อ ถูกปล่อยออกมาสู่ชั้นบรรยากาศโลกหนาขึ้นเท่าไร ก็จะเป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คายออกไปสู่บรรยากาศ ก็จะส่งผลให้อุณหภูมิของบรรยากาศโลก สูงขึ้นจนถึงระดับอันตรายผืนน้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเหนือและธารน้ำแข็งบนภูเขาทั้งหมดทั่วโลกค่อยๆ ละลายลงเรื่อยๆ และอาจจะทำให้ระดับน้ำทะเลทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้นถึง   20  ฟุต
เปรียบเทียบปริมาณก๊าซเรือนกระจก  ( ไม่รวมไอน้ำ )  14% 10% 5% 16%  55% อิทธิพลต่อภาวะเรือนกระจก การเผาไหม้เชื้อเพลิง มวลชีวภาพ เครื่องทำความเย็น ละอองอากาศ โรงงานอุตสาหกรรม ปุ๋ย การใช้ประโยชน์ที่ดิน นาข้าว ปศุสัตว์ การเผาไหม้เชื้อเพลิง มวลชีวภาพ การเผาป่า ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซเชื้อเพลิง แหล่งกำเนิดโดยมนุษย์  สารไฮโดรคาร์บอน - ดิน ป่าเขตร้อน พื้นที่ชุ่มน้ำ วัฏจักรธรรมชาติ การหายใจ แหล่งกำเนิดตามธรรมชาติ โอโซน (O3) คลอโรฟลูออคาร์บอน  (CFC)  ไนตรัสออกไซด์ (N2O)  มีเทน (CH4)  คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) -
กราฟแสดงอัตราการเพิ่มพลังงานของก๊าซเรือนกระจก นับตั้งแต่ปี พ . ศ .2400  เป็นต้นมา จะเห็นได้ว่าก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศมีปริมาณเพิ่มขึ้น นับตั้งแต่การเติบโตทางอุตสาหกรรมในปี พ . ศ .2443  เป็นต้นมา และได้หยุดใช้สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน  ( CFC)  ตั้งแต่ พ . ศ .2530  เนื่องจากการประชุมนานาชาติที่เมืองมอนทรีล ประเทศแคนนาดา  ( Montreal Protocol)  อย่างไรก็ตามยังมีสารนี้ตกค้างในบรรยากาศอีกนับร้อยปี
นักวิทยาศาสตร์ทำการศึกษาอุณหภูมิของโลกย้อนกลับไปในอดีตสี่แสนปี โดยการวิเคราะห์ฟองอากาศในแท่งน้ำแข็ง ซึ่งทำการขุดเจาะที่สถานีวิจัยวอสต็อก ทวีปแอนตาร์คติก พบว่าอุณหภูมิของโลกแปรผันตามปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังกราฟ นั่นก็หมายความว่า การเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่บรรยากาศของโลกยุคปัจจุบัน ย่อมทำให้อุณหภูมิของพื้นผิวโลกสูงขึ้นตามไปด้วย และน้ำในมหาสมุทรก็เพิ่มขึ้นอีกด้วย กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำในมหาสมุทร            อุณหภูมิของบรรยากาศมีความสัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนสถานะของน้ำบนโลก อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทำให้อัตราการระเหยของน้ำมากขึ้น  กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและระดับน้ำทะเล  จากกราฟแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของอุณหภูมิของบรรยากาศและระดับน้ำทะเลในมหาสมุทรในช่วงศตวรรษที่แล้ว จะเห็นได้ว่าระดับน้ำทะเลสูงขึ้นนับตั้งแต่ปี พ . ศ .2450  เป็นต้นมา ซึ่งเป็นผลมาจากอุณหภูมิของบรรยากาศที่สูงขึ้น เนื่องจากการเพิ่มปริมาณของก๊าซเรือนกระจก
การตัดไม้ทำลายป่าและทำอุตสาหกรรมหนัก ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกิด ปรากฏการณ์โลกร้อน  ( Global warming)  และหากอัตราการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกยังคงเป็นเช่นนี้ แผ่นน้ำแข็งขั้วโลกจะละลายทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น ความเค็มของน้ำทะเลซึ่งเจือจางลงเนื่องจากการละลายของน้ำแข็ง จะส่งผลให้การไหลเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทรเปลี่ยนทิศทาง และความจุความร้อนเปลี่ยนไป ส่งผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างรุนแรง
ระดับน้ำทะเลในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
ต่อสภาพภูมิอากาศ 1.  สภาพอากาศแปรปรวนมากยิ่งขึ้น  2.  ความชื้นในอากาศเพิ่มมากขึ้นเนื่องด้วยการระเหยของน้ำที่มากขึ้น  3.  ความไม่มั่นคงของอุณหภูมิ  ผลกระทบ และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะตามมา ต่อ ทะเลและมหาสมุทร 1.  ธารน้ำแข็งและน้ำแข็งตามทั่วโลกละลาย  2.  น้ำทะเลสูงขึ้น  3.  อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทรสูงขึ้น  4.  การเปลี่ยนสภาวะของน้ำเป็นกรด  5.  การหยุดไหลของกระแสน้ำอุ่น  ต่อมนุษย์ 1.  เกิดการขาดแคลนน้ำดื่ม  2.  เกิดการอพยพย้ายที่อยู่อาศัยเนื่องจากโดนน้ำท่วม  3.  เกิดโรคร้ายเพิ่มขึ้น
The  End

Más contenido relacionado

Similar a แผ่นดินไหว

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนsongpol
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2thanaluhk
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..Kyjung Seekwang
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2sudsanguan
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน2348365991
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 

Similar a แผ่นดินไหว (20)

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 

Más de sangkom

หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11sangkom
 
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c0510 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6sangkom
 
teaching 5
teaching 5teaching 5
teaching 5sangkom
 
teaqching 4
teaqching 4teaqching 4
teaqching 4sangkom
 
teaching 3
teaching 3teaching 3
teaching 3sangkom
 
teaching
teachingteaching
teachingsangkom
 

Más de sangkom (17)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
 
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c0510 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6
 
teaching 5
teaching 5teaching 5
teaching 5
 
teaqching 4
teaqching 4teaqching 4
teaqching 4
 
teaching 3
teaching 3teaching 3
teaching 3
 
teaching
teachingteaching
teaching
 

แผ่นดินไหว

  • 1. สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส. ลัดดาวรรณ ศรีหาบุตร 49010210737 2. น.ส. เพ็ญพยอม ภูกะฐิน 49010911716 ETC.
  • 3. ปรากฏการณ์โลกร้อน ( global warming) คือปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกและผืนมหาสมุทรสูงขึ้น โดยมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ เป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คาย ออกไปสู่บรรยากาศ ก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gases) มีตามธรรมชาติได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน และโอโซน ปกติแล้วจะมีหน้าที่เก็บกักความร้อนไว้เพื่อให้โลกอบอุ่น สิ่งมีชีวิตจะได้เจริญเติบโตในโลกได้ แต่หากมีมากก็ส่งผลให้โลกร้อน อุณหภูมิสูงขึ้น
  • 4. บรรยากาศโลก บรรยากาศของโลกประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน 78% ก๊าซออกซิเจน 21% ก๊าซอาร์กอน 0.9% นอกจากนั้นเป็น ไอน้ำ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนเล็กน้อย แม้ว่าไนโตรเจน ออกซิเจน และอาร์กอน จะเป็นองค์ประกอบหลักของบรรยากาศ แต่ก็มิได้มีอิทธิพลต่ออุณหภูมิของโลก ในทางตรงกันข้ามก๊าซโมเลกุลใหญ่ เช่น ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และโอโซน แม้จะมีอยู่ในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยแต่มีความสามารถในการดูดกลืนรังสีอินฟราเรด ทำให้อุณหภูมิพื้นผิวโลกอบอุ่น เหมาะแก่การดำรงชีวิตมาก
  • 6. สาเหตุที่ทำให้โลกร้อน มหันตภัยร้ายที่กำลังคุกคามโลกอยู่ขณะนี้ คือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ ปริมาณมหาศาลที่มนุษย์เป็นผู้ก่อ ถูกปล่อยออกมาสู่ชั้นบรรยากาศโลกหนาขึ้นเท่าไร ก็จะเป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คายออกไปสู่บรรยากาศ ก็จะส่งผลให้อุณหภูมิของบรรยากาศโลก สูงขึ้นจนถึงระดับอันตรายผืนน้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเหนือและธารน้ำแข็งบนภูเขาทั้งหมดทั่วโลกค่อยๆ ละลายลงเรื่อยๆ และอาจจะทำให้ระดับน้ำทะเลทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้นถึง 20 ฟุต
  • 7. เปรียบเทียบปริมาณก๊าซเรือนกระจก ( ไม่รวมไอน้ำ ) 14% 10% 5% 16% 55% อิทธิพลต่อภาวะเรือนกระจก การเผาไหม้เชื้อเพลิง มวลชีวภาพ เครื่องทำความเย็น ละอองอากาศ โรงงานอุตสาหกรรม ปุ๋ย การใช้ประโยชน์ที่ดิน นาข้าว ปศุสัตว์ การเผาไหม้เชื้อเพลิง มวลชีวภาพ การเผาป่า ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซเชื้อเพลิง แหล่งกำเนิดโดยมนุษย์ สารไฮโดรคาร์บอน - ดิน ป่าเขตร้อน พื้นที่ชุ่มน้ำ วัฏจักรธรรมชาติ การหายใจ แหล่งกำเนิดตามธรรมชาติ โอโซน (O3) คลอโรฟลูออคาร์บอน (CFC) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) มีเทน (CH4) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) -
  • 8. กราฟแสดงอัตราการเพิ่มพลังงานของก๊าซเรือนกระจก นับตั้งแต่ปี พ . ศ .2400 เป็นต้นมา จะเห็นได้ว่าก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศมีปริมาณเพิ่มขึ้น นับตั้งแต่การเติบโตทางอุตสาหกรรมในปี พ . ศ .2443 เป็นต้นมา และได้หยุดใช้สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน ( CFC) ตั้งแต่ พ . ศ .2530 เนื่องจากการประชุมนานาชาติที่เมืองมอนทรีล ประเทศแคนนาดา ( Montreal Protocol) อย่างไรก็ตามยังมีสารนี้ตกค้างในบรรยากาศอีกนับร้อยปี
  • 9. นักวิทยาศาสตร์ทำการศึกษาอุณหภูมิของโลกย้อนกลับไปในอดีตสี่แสนปี โดยการวิเคราะห์ฟองอากาศในแท่งน้ำแข็ง ซึ่งทำการขุดเจาะที่สถานีวิจัยวอสต็อก ทวีปแอนตาร์คติก พบว่าอุณหภูมิของโลกแปรผันตามปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังกราฟ นั่นก็หมายความว่า การเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่บรรยากาศของโลกยุคปัจจุบัน ย่อมทำให้อุณหภูมิของพื้นผิวโลกสูงขึ้นตามไปด้วย และน้ำในมหาสมุทรก็เพิ่มขึ้นอีกด้วย กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
  • 10. การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำในมหาสมุทร            อุณหภูมิของบรรยากาศมีความสัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนสถานะของน้ำบนโลก อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทำให้อัตราการระเหยของน้ำมากขึ้น กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและระดับน้ำทะเล จากกราฟแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของอุณหภูมิของบรรยากาศและระดับน้ำทะเลในมหาสมุทรในช่วงศตวรรษที่แล้ว จะเห็นได้ว่าระดับน้ำทะเลสูงขึ้นนับตั้งแต่ปี พ . ศ .2450 เป็นต้นมา ซึ่งเป็นผลมาจากอุณหภูมิของบรรยากาศที่สูงขึ้น เนื่องจากการเพิ่มปริมาณของก๊าซเรือนกระจก
  • 11. การตัดไม้ทำลายป่าและทำอุตสาหกรรมหนัก ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกิด ปรากฏการณ์โลกร้อน ( Global warming) และหากอัตราการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกยังคงเป็นเช่นนี้ แผ่นน้ำแข็งขั้วโลกจะละลายทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น ความเค็มของน้ำทะเลซึ่งเจือจางลงเนื่องจากการละลายของน้ำแข็ง จะส่งผลให้การไหลเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทรเปลี่ยนทิศทาง และความจุความร้อนเปลี่ยนไป ส่งผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างรุนแรง
  • 13. ต่อสภาพภูมิอากาศ 1. สภาพอากาศแปรปรวนมากยิ่งขึ้น 2. ความชื้นในอากาศเพิ่มมากขึ้นเนื่องด้วยการระเหยของน้ำที่มากขึ้น 3. ความไม่มั่นคงของอุณหภูมิ ผลกระทบ และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะตามมา ต่อ ทะเลและมหาสมุทร 1. ธารน้ำแข็งและน้ำแข็งตามทั่วโลกละลาย 2. น้ำทะเลสูงขึ้น 3. อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทรสูงขึ้น 4. การเปลี่ยนสภาวะของน้ำเป็นกรด 5. การหยุดไหลของกระแสน้ำอุ่น ต่อมนุษย์ 1. เกิดการขาดแคลนน้ำดื่ม 2. เกิดการอพยพย้ายที่อยู่อาศัยเนื่องจากโดนน้ำท่วม 3. เกิดโรคร้ายเพิ่มขึ้น