SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 46
สัปดาห์ที่  1 เอกสารประกอบการสอน  วิชา  427-303 Sociological Theories ภาคเรียนที่  1/2553 เรื่อง การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
วิชา  427-303  ทฤษฎีทางสังคมวิทยา  (Sociological Theory) จำนวน  3  หน่วยกิต ภาคการศึกษาที่   1 ปีการศึกษา   2553
คำอธิบายรายวิชา หลักเบื้องต้นในการวิเคราะห์และทดสอบทฤษฎีเชิงวิทยาศาสตร์ เลือกศึกษาแนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาบางสำนักทั้งยุคคลาสสิกและปัจจุบัน เช่น ทฤษฎีโครงสร้างและหน้าที่  ทฤษฎีความขัดแย้งและทฤษฎีสัมพันธ์สัญลักษณ์
วัตถุประสงค์รายวิชา   (Objectives) 1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจหลักการสร้างสมมติฐานเชิงทฤษฎีและแนวทางในการทดสอบทฤษฎีสังคมวิทยา 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจทฤษฎีทางสังคมวิทยาระดับพื้นฐาน
1 . 1. ธรรมชาติขององค์ความรู้ด้านสังคมศาสตร์เน้นสังคมวิทยา 2. ปัญหาว่าด้วยองค์ความรู้ 3. ภูมิหลังแห่งภูมิปัญญาของมนุษยชาติ 4. พัฒนาการองค์ความรู้ด้านสังคมศาสตร์เน้นสังคมวิทยา 5. ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับสังคมศาสตร์
2-3. 1. กระบวนทัศน์ทางสังคมวิทยา  :  กระบวนทัศน์แบบพหุลักษณ์ ประกอบด้วย กระบวนทัศน์ 1)  แบบหน้าที่นิยม 2)  แบบวิวาทลักษณ์ และ 3)  แบบพฤติกรรมจิตวิทยาสังคม 2. ความรู้เบื้องต้นโดยสังเขปเกี่ยวกับทฤษฎีความขัดแย้ง ,  หน้าที่นิยมและสัมพันธ์สัญลักษณ์นิยม 3. ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและการวิจัยทางสังคมวิทยา
4-5. 1. นิยามทฤษฎีสังคมวิทยา 2. หน้าที่หรือวัตถุประสงค์ของทฤษฎีสังคมวิทยา 3. โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาซึ่งประกอบด้วย 3.1  กระบวนทัศน์ 3.2  แนวคิดหรือจินตภาพ 3.3  ตัวแปร 3.4  ประพจน์หรือข้อความเสนอ 3.5  ทฤษฎี  :  การตั้งทฤษฎีด้วยหลักการแห่งความสัมพันธ์เชิงเหตุหรือซิลโลจิสม์
6. 1. รูปแบบทฤษฎีสังคมศาสตร์เน้นสังคมวิทยา 1.1  รูปแบบประมวลกฎหรือสัจพจน์ 1.2  ทฤษฎีแบบกระบวนการเชิงสาเหตุ 1.3  ทฤษฎีแบบจัดหมวดหมู่หรือ  แทกโซโนมี 2. การตรวจสอบทฤษฎีสังคมวิทยา  (verification) 3.  การแก้ไขและปรับปรุงทฤษฎี  (modification)
7. ทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของ  ออกุส กองต์ 1. ภูมิหลังทางสังคมและภูมิปัญญาที่มีอิทธิพลต่อ กองต์ 2. กระบวนทัศน์ทางสังคมวิทยา  :  กระบวนทัศน์แบบองค์รวม  (holism) 3. วิธีวิทยาการศึกษาทางสังคมวิทยา  :  ปฏิฐานนิยม 4. สังคมสถิตและการบูรณาการทางสังคม 5. สังคมพลวัตและขั้นตอนแห่งวิวัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม
8-9. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของเดอร์ไคม์ 1. ภูมิหลังทางสังคมและภูมิปัญญาของเดอร์ไคม์ 2. กระบวนทัศน์ทางสังคมวิทยา  : หน้าที่นิยม 3. วิธีวิทยาทางสังคมวิทยา เน้นระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 4. โครงสร้างและหน้าที่ทางสังคม 5. บูรณาการทางสังคมภาวะไร้ปทัสถาน 6. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 7. อัตวินิบาตตกรรม สอบกลางภาค
10-11. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของ คาร์ล  มาร์กซ์
12-13. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของเวเบอร์ภูมิหลังทางสังคมและทางปัญญาของเวเบอร์ 1. ภูมิหลังทางสังคมและทางปัญญาของเวเบอร์ 2. กระบวนทัศน์แบบแย้งปฏิฐานนิยม  (antipositivism) 3. วิธีวิทยาการศึกษาทางสังคมศาสตร์  : (Verstehen)  4. พฤติกรรมทางสังคม  (Social action)  และการจัดระเบียบทางสังคม  ( รูปนัยและอรูปนัย )  เน้นระบบราชการ 5. สังคมกับศาสนา 6. สังคมกับรัฐ
14. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาในยุคปัจจุบัน 1. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของ  พาร์สันส์ หน้าที่นิยม  ( บูรณาการหรือสมานลักษณ์นิยม ) 2. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของ  ดาห์เรนดอร์ฟ  :  ทฤษฎีความขัดแย้ง  ( วิวาทลักษณ์เนื่องเพราะอำนาจ )
15. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยา กลุ่ม  Exchange Theory กลุ่ม  Symbolic Interaction 16. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยา กลุ่ม  Phenomenology and Ethnomethodology
17. Grand Theories  ทั้ง  5 :  เปรียบเทียบ แนวคิด พัฒนาการ จากยุค  classics  ถึง ปัจจุบันและความสัมพันธ์กับแนวคิดหลังสมัยใหม่
[email_address] http://gotoknow.org/blog/jmanop ชื่อ ทฤษฎีสังคมวิทยา
[object Object],[object Object],[object Object]
topic ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ส่งเป็นผลงาน กระบวนการเรียนรู้ กลุ่มนำเสนอกระบวนการเรียนรู้ Knowledge management ค้นคว้า ทบทวน จากที่เรียนมา คำแนะนำจากผู้สอน Review  จากผลการศึกษา วิจัย ทฤษฎีระดับกลาง  (Middle Range Theories) Empirical generalization
แบ่งทฤษฎี เป็น  3  ช่วงเวลา ยุคคลาสสิค ยุคร่วมสมัย ยุคหลังสมัยใหม่
ความรู้มี  2  ประเภท   1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน  (Tacit Knowledge)  2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง  (Explicit Knowledge)
1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน  (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือ  การคิดเชิงวิเคราะห์ บางคนจึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง  (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
กระบวนการของความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Externalization Internalization Combination การ จัดการ ความรู้ คือการ สร้าง   “ เกลียวความรู้ ”  ให้เกิดขึ้นเพื่อนำมาใช้ แก้ปัญหา   /   พัฒนางาน ความรู้  หมุนเวียนเคลื่อนที่ ได้ ตามกระบวนการ   SECI   หรือ   Knowledge Spiral   ของ  Nonaka   Tacit Tacit Socialization Explicit Explicit
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ ความรู้และปัญญา   ปัญญา Knowledge Information Data Wisdom
กระบวนการจัดการความรู้  ( Knowledge Management Process) 1.  การบ่งชี้ความรู้  ( Knowledge Identification) 2.  การสร้างและแสวงหาความรู้  ( Knowledge Creation and Acquisition) 3.  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ  (Knowledge Organization) 4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้  ( Knowledge Codification and Refinement) 5.  การเข้าถึงความรู้  (Knowledge Access) 6.  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้  (Knowledge Sharing) 7.  การเรียนรู้  (Learning) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ ความรู้อยู่ที่ใคร  อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร
กระบวนการจัดการความรู้  (Knowledge Management Process)     เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทำให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้  หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร  ประกอบด้วย  7  ขั้นตอน
1.  การบ่งชี้ความรู้  ( Knowledge Identification) เช่นพิจารณาว่า วิสัยทัศน์ /  พันธกิจ /  เป้าหมาย คืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจำเป็นต้องรู้อะไร  ,  ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง ,  อยู่ในรูปแบบใด ,  อยู่ที่ใคร
2.  การสร้างและแสวงหาความรู้  ( Knowledge Creation and Acquisition) เช่น การสร้างความรู้ใหม่ ,  แสวงหาความรู้จากภายนอก ,  รักษาความรู้เก่า ,  กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
3.  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ  (Knowledge Organization) เป็นการวางโครงสร้างความรู้  เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบในอนาคต
4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้  ( Knowledge Codification and Refinement) เช่นปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ,  ใช้ภาษาเดียวกัน ,  ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
5.  การเข้าถึงความรู้  (Knowledge Access) เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ  (IT), Web board , บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
6.  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้  (Knowledge Sharing) ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น  Explicit Knowledge  อาจจัดทำเป็น เอกสาร ,  ฐานความรู้ ,  เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น  Tacit Knowledge  อาจจัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน ,  กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ,  ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ,  ระบบพี่เลี้ยง ,  การสับเปลี่ยนงาน ,  การยืมตัว ,  เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
7.  การเรียนรู้  (Learning) ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่นเกิดระบบการเรียนรู้จาก  สร้างองค์ความรู้ > นำความรู้ไปใช้ > เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดเรื่อง   KM เรียนรู้ / ยกระดับ รวบรวม / จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เข้าถึง / ตีความ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge สร้าง / ยกระดับ มีใจ / แบ่งปัน เรียนรู้ร่วมกัน เน้น  “ 2T” Tool & Technology เน้น  “ 2P” Process & People create/leverage care & share access/validate capture & learn store apply/utilize
KM  ส่วนใหญ่ ไป “ ผิดทาง” ให้ความสำคัญกับ “ 2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ  “ 2T”   Tool &  Technology อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล”
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],KV KS KA แนวทางหนึ่ง  ที่จะช่วยให้ “ไม่ไปผิดทาง” ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ  KM  ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision  Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน  (Share & Learn) Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้  ICT “ สะบัดหาง” สร้างพลังจาก  CoPs
ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า  “ ทำ  KM  ไปเพื่ออะไร ” ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น  “ หัวใจ ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน   (Share & Learn) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย   ประยุกต์ใช้  ICT “ สะบัดหาง ”  สร้างพลังจาก  CoPs TUNA Model Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision   (KV) Knowledge Assets (KA)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ดร .  ประพนธ์ ผาสุขยืด
ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน  (Share & Learn) จาก  KV  สู่  KS ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ  KM  ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS)
ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้  ICT “ สะบัดหาง” สร้างพลังจาก  CoPs จาก  KS  สู่  KA ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ  KM  ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน  (Share & Learn) Knowledge Assets (KA)
ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้  ICT “ สะบัดหาง” สร้างพลังจาก  CoPs จาก  KS  สู่  KA ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ  KM  ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน  (Share & Learn) Knowledge Assets (KA)
สิบเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้องรู้ หารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากที่ไหน เอามาปรับใช้ได้อย่างไร ควรปรึกษาใคร ขุมความรู ้  (Knowledge Asset)  เรื่อง …… ..   เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม สรุป เพิ่ม สรุป บทเรียน
.....  เป็น ขุมความรู้  (Knowledge Assets)   ที่มีบริบท   และรายละเอียด ตามกาละ และเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ประเด็น / หลักการ แหล่งข้อมูล / บุคคล โทร . ... “ “ “ “ เรื่องเล่า  & คำพูด “ เราทดลองวิธีการใหม่ …”
ขุมทรัพย์ความรู้ เรื่อง  .......................... แหล่งข้อมูล  /  สอบถาม ตัวอย่างประสบการณ์ / เรื่องเล่า คำแนะนำ / ประเด็นความรู้ที่ได้
Knowledge Practitioners CKO Knowledge  F acilitators “ คุณกิจ” “ คุณอำนวย” “ คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer Knowledge Assets (KA) Knowledge Vision   (KV) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า  “ ทำ  KM  ไปเพื่ออะไร ” Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น  “ หัวใจ ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน   (Share & Learn) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย   ประยุกต์ใช้  ICT สร้าง  CoPs  ที่มีพลัง ดุจดั่งปลา “สะบัดหาง”

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
guestabb00
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
Aomiko Wipaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
Sawittri Phaisal
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
Bios Logos
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 

La actualidad más candente (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 

Destacado

Piktochart Instructions
Piktochart InstructionsPiktochart Instructions
Piktochart Instructions
Richard Bogdan
 
100 faces of the World
100 faces of the World100 faces of the World
100 faces of the World
Niezette -
 

Destacado (20)

คู่มือการใช้ Prezi
คู่มือการใช้ Preziคู่มือการใช้ Prezi
คู่มือการใช้ Prezi
 
Design Thinking
Design ThinkingDesign Thinking
Design Thinking
 
PowerPoint's Best Kept Secret by @damonify
PowerPoint's Best Kept Secret by @damonifyPowerPoint's Best Kept Secret by @damonify
PowerPoint's Best Kept Secret by @damonify
 
Attract Your Audience ( Presentation Tips )
Attract Your Audience ( Presentation Tips )Attract Your Audience ( Presentation Tips )
Attract Your Audience ( Presentation Tips )
 
Goku crackcucucucuc
Goku crackcucucucucGoku crackcucucucuc
Goku crackcucucucuc
 
Design Thinking diagrams
Design Thinking diagramsDesign Thinking diagrams
Design Thinking diagrams
 
Tips for a Good Presentation
Tips for a Good PresentationTips for a Good Presentation
Tips for a Good Presentation
 
THE ROLE OF DESIGN THINKING
THE ROLE OF DESIGN THINKINGTHE ROLE OF DESIGN THINKING
THE ROLE OF DESIGN THINKING
 
Design presentation
Design presentationDesign presentation
Design presentation
 
Design Thinking - Designing for People
Design Thinking - Designing for PeopleDesign Thinking - Designing for People
Design Thinking - Designing for People
 
Piktochart Instructions
Piktochart InstructionsPiktochart Instructions
Piktochart Instructions
 
เพรซี่-Prezi-พิมพ์ไทยได้แล้ว
เพรซี่-Prezi-พิมพ์ไทยได้แล้ว เพรซี่-Prezi-พิมพ์ไทยได้แล้ว
เพรซี่-Prezi-พิมพ์ไทยได้แล้ว
 
Effective Presentation & Communication Skills For Business Leaders
Effective Presentation & Communication Skills For Business LeadersEffective Presentation & Communication Skills For Business Leaders
Effective Presentation & Communication Skills For Business Leaders
 
Visual definitions of UX ( Restored )
Visual definitions of UX ( Restored )Visual definitions of UX ( Restored )
Visual definitions of UX ( Restored )
 
How to create a really GOOD Presentation
How to create a really GOOD PresentationHow to create a really GOOD Presentation
How to create a really GOOD Presentation
 
100 faces of the World
100 faces of the World100 faces of the World
100 faces of the World
 
How to Do a Good Presentation (especially for FYP)
How to Do a Good Presentation (especially for FYP)How to Do a Good Presentation (especially for FYP)
How to Do a Good Presentation (especially for FYP)
 
PowerPoint Tutorial Presentation - 100 Pictures
PowerPoint Tutorial Presentation - 100 PicturesPowerPoint Tutorial Presentation - 100 Pictures
PowerPoint Tutorial Presentation - 100 Pictures
 
Presentation [Full] Effective Communication Skills
Presentation [Full]  Effective Communication SkillsPresentation [Full]  Effective Communication Skills
Presentation [Full] Effective Communication Skills
 
5 Ways To Surprise Your Audience (and keep their attention)
5 Ways To Surprise Your Audience (and keep their attention)5 Ways To Surprise Your Audience (and keep their attention)
5 Ways To Surprise Your Audience (and keep their attention)
 

Similar a สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
นิพ พิทา
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 

Similar a สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา (20)

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

Más de Sani Satjachaliao

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
Sani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
Sani Satjachaliao
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
Sani Satjachaliao
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
Sani Satjachaliao
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Sani Satjachaliao
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
Sani Satjachaliao
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
Sani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
Sani Satjachaliao
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
Sani Satjachaliao
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
Sani Satjachaliao
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
Sani Satjachaliao
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
Sani Satjachaliao
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
Sani Satjachaliao
 

Más de Sani Satjachaliao (20)

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
Week 9 research_design
Week 9 research_designWeek 9 research_design
Week 9 research_design
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
Week 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_frameworkWeek 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_framework
 
Week 6 hypothesis
Week 6 hypothesisWeek 6 hypothesis
Week 6 hypothesis
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
 
Research4
Research4Research4
Research4
 

สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา

  • 1. สัปดาห์ที่ 1 เอกสารประกอบการสอน วิชา 427-303 Sociological Theories ภาคเรียนที่ 1/2553 เรื่อง การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
  • 2. วิชา 427-303 ทฤษฎีทางสังคมวิทยา (Sociological Theory) จำนวน 3 หน่วยกิต ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2553
  • 4. วัตถุประสงค์รายวิชา (Objectives) 1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจหลักการสร้างสมมติฐานเชิงทฤษฎีและแนวทางในการทดสอบทฤษฎีสังคมวิทยา 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจทฤษฎีทางสังคมวิทยาระดับพื้นฐาน
  • 5. 1 . 1. ธรรมชาติขององค์ความรู้ด้านสังคมศาสตร์เน้นสังคมวิทยา 2. ปัญหาว่าด้วยองค์ความรู้ 3. ภูมิหลังแห่งภูมิปัญญาของมนุษยชาติ 4. พัฒนาการองค์ความรู้ด้านสังคมศาสตร์เน้นสังคมวิทยา 5. ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับสังคมศาสตร์
  • 6. 2-3. 1. กระบวนทัศน์ทางสังคมวิทยา : กระบวนทัศน์แบบพหุลักษณ์ ประกอบด้วย กระบวนทัศน์ 1) แบบหน้าที่นิยม 2) แบบวิวาทลักษณ์ และ 3) แบบพฤติกรรมจิตวิทยาสังคม 2. ความรู้เบื้องต้นโดยสังเขปเกี่ยวกับทฤษฎีความขัดแย้ง , หน้าที่นิยมและสัมพันธ์สัญลักษณ์นิยม 3. ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและการวิจัยทางสังคมวิทยา
  • 7. 4-5. 1. นิยามทฤษฎีสังคมวิทยา 2. หน้าที่หรือวัตถุประสงค์ของทฤษฎีสังคมวิทยา 3. โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาซึ่งประกอบด้วย 3.1 กระบวนทัศน์ 3.2 แนวคิดหรือจินตภาพ 3.3 ตัวแปร 3.4 ประพจน์หรือข้อความเสนอ 3.5 ทฤษฎี : การตั้งทฤษฎีด้วยหลักการแห่งความสัมพันธ์เชิงเหตุหรือซิลโลจิสม์
  • 8. 6. 1. รูปแบบทฤษฎีสังคมศาสตร์เน้นสังคมวิทยา 1.1 รูปแบบประมวลกฎหรือสัจพจน์ 1.2 ทฤษฎีแบบกระบวนการเชิงสาเหตุ 1.3 ทฤษฎีแบบจัดหมวดหมู่หรือ แทกโซโนมี 2. การตรวจสอบทฤษฎีสังคมวิทยา (verification) 3. การแก้ไขและปรับปรุงทฤษฎี (modification)
  • 9. 7. ทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของ ออกุส กองต์ 1. ภูมิหลังทางสังคมและภูมิปัญญาที่มีอิทธิพลต่อ กองต์ 2. กระบวนทัศน์ทางสังคมวิทยา : กระบวนทัศน์แบบองค์รวม (holism) 3. วิธีวิทยาการศึกษาทางสังคมวิทยา : ปฏิฐานนิยม 4. สังคมสถิตและการบูรณาการทางสังคม 5. สังคมพลวัตและขั้นตอนแห่งวิวัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม
  • 10. 8-9. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของเดอร์ไคม์ 1. ภูมิหลังทางสังคมและภูมิปัญญาของเดอร์ไคม์ 2. กระบวนทัศน์ทางสังคมวิทยา : หน้าที่นิยม 3. วิธีวิทยาทางสังคมวิทยา เน้นระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 4. โครงสร้างและหน้าที่ทางสังคม 5. บูรณาการทางสังคมภาวะไร้ปทัสถาน 6. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 7. อัตวินิบาตตกรรม สอบกลางภาค
  • 12. 12-13. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของเวเบอร์ภูมิหลังทางสังคมและทางปัญญาของเวเบอร์ 1. ภูมิหลังทางสังคมและทางปัญญาของเวเบอร์ 2. กระบวนทัศน์แบบแย้งปฏิฐานนิยม (antipositivism) 3. วิธีวิทยาการศึกษาทางสังคมศาสตร์ : (Verstehen) 4. พฤติกรรมทางสังคม (Social action) และการจัดระเบียบทางสังคม ( รูปนัยและอรูปนัย ) เน้นระบบราชการ 5. สังคมกับศาสนา 6. สังคมกับรัฐ
  • 13. 14. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาในยุคปัจจุบัน 1. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของ พาร์สันส์ หน้าที่นิยม ( บูรณาการหรือสมานลักษณ์นิยม ) 2. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาตามทัศนะของ ดาห์เรนดอร์ฟ : ทฤษฎีความขัดแย้ง ( วิวาทลักษณ์เนื่องเพราะอำนาจ )
  • 14. 15. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยา กลุ่ม Exchange Theory กลุ่ม Symbolic Interaction 16. แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยา กลุ่ม Phenomenology and Ethnomethodology
  • 15. 17. Grand Theories ทั้ง 5 : เปรียบเทียบ แนวคิด พัฒนาการ จากยุค classics ถึง ปัจจุบันและความสัมพันธ์กับแนวคิดหลังสมัยใหม่
  • 16. [email_address] http://gotoknow.org/blog/jmanop ชื่อ ทฤษฎีสังคมวิทยา
  • 17.
  • 18.
  • 19. แบ่งทฤษฎี เป็น 3 ช่วงเวลา ยุคคลาสสิค ยุคร่วมสมัย ยุคหลังสมัยใหม่
  • 20. ความรู้มี 2 ประเภท 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
  • 21. 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือ การคิดเชิงวิเคราะห์ บางคนจึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
  • 22. 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
  • 23.
  • 24. Externalization Internalization Combination การ จัดการ ความรู้ คือการ สร้าง “ เกลียวความรู้ ” ให้เกิดขึ้นเพื่อนำมาใช้ แก้ปัญหา / พัฒนางาน ความรู้ หมุนเวียนเคลื่อนที่ ได้ ตามกระบวนการ SECI หรือ Knowledge Spiral ของ Nonaka Tacit Tacit Socialization Explicit Explicit
  • 26. กระบวนการจัดการความรู้ ( Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ ( Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ( Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ( Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร
  • 27. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทำให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน
  • 28. 1. การบ่งชี้ความรู้ ( Knowledge Identification) เช่นพิจารณาว่า วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / เป้าหมาย คืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจำเป็นต้องรู้อะไร , ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง , อยู่ในรูปแบบใด , อยู่ที่ใคร
  • 29. 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ( Knowledge Creation and Acquisition) เช่น การสร้างความรู้ใหม่ , แสวงหาความรู้จากภายนอก , รักษาความรู้เก่า , กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
  • 30. 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบในอนาคต
  • 31. 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ( Knowledge Codification and Refinement) เช่นปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน , ใช้ภาษาเดียวกัน , ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
  • 32. 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board , บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
  • 33. 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทำเป็น เอกสาร , ฐานความรู้ , เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน , กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม , ชุมชนแห่งการเรียนรู้ , ระบบพี่เลี้ยง , การสับเปลี่ยนงาน , การยืมตัว , เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
  • 34. 7. การเรียนรู้ (Learning) ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่นเกิดระบบการเรียนรู้จาก สร้างองค์ความรู้ > นำความรู้ไปใช้ > เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
  • 35. แนวคิดเรื่อง KM เรียนรู้ / ยกระดับ รวบรวม / จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เข้าถึง / ตีความ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge สร้าง / ยกระดับ มีใจ / แบ่งปัน เรียนรู้ร่วมกัน เน้น “ 2T” Tool & Technology เน้น “ 2P” Process & People create/leverage care & share access/validate capture & learn store apply/utilize
  • 36. KM ส่วนใหญ่ ไป “ ผิดทาง” ให้ความสำคัญกับ “ 2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “ 2T” Tool & Technology อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล”
  • 37.
  • 38. ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ ทำ KM ไปเพื่ออะไร ” ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “ หัวใจ ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “ สะบัดหาง ” สร้างพลังจาก CoPs TUNA Model Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA)
  • 39.
  • 40. ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) จาก KV สู่ KS ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS)
  • 41. ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “ สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs จาก KS สู่ KA ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Assets (KA)
  • 42. ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “ สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs จาก KS สู่ KA ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Assets (KA)
  • 43. สิบเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้องรู้ หารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากที่ไหน เอามาปรับใช้ได้อย่างไร ควรปรึกษาใคร ขุมความรู ้ (Knowledge Asset) เรื่อง …… .. เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม สรุป เพิ่ม สรุป บทเรียน
  • 44. ..... เป็น ขุมความรู้ (Knowledge Assets) ที่มีบริบท และรายละเอียด ตามกาละ และเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ประเด็น / หลักการ แหล่งข้อมูล / บุคคล โทร . ... “ “ “ “ เรื่องเล่า & คำพูด “ เราทดลองวิธีการใหม่ …”
  • 45. ขุมทรัพย์ความรู้ เรื่อง .......................... แหล่งข้อมูล / สอบถาม ตัวอย่างประสบการณ์ / เรื่องเล่า คำแนะนำ / ประเด็นความรู้ที่ได้
  • 46. Knowledge Practitioners CKO Knowledge F acilitators “ คุณกิจ” “ คุณอำนวย” “ คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer Knowledge Assets (KA) Knowledge Vision (KV) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ ทำ KM ไปเพื่ออะไร ” Knowledge Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “ หัวใจ ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT สร้าง CoPs ที่มีพลัง ดุจดั่งปลา “สะบัดหาง”

Notas del editor

  1. Learning ใน 7 ขั้นตอนเป็นการเรียนรู้ว่าความรู้ที่กำหนดนั้นเป็นความรู้ที่ต้องการหรือไม่