SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 52
Descargar para leer sin conexión
แบบฝึกเสริมทักษะ
เรื่อง
การอ่านจับใจความ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ผู้จัดทา
นางอรจิราส์ คมนาคม
ครูวิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนบ้านสะเดาใหญ่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คานา
การจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทยเล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการเสริมทักษะ
การเรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความ ซึ่งผ่านการบูรณาการ ความรู้นาไปสู่การเรียนรู้ ด้วย
ตนเอง กระตุ้นให้เกิดความสนใจ ความสามารถ ให้พัฒนาทักษะทางภาษาในส่วนของการ
อ่านจับใจความเหมาะสมกับวัย และได้ศักยภาพสูงสุด
โดยในแบบฝึกทักษะ เล่มนี้ ได้ผ่านการวิเคราะห์เนื้อหา เพื่อเสริมทักษะด้านการ
อ่าน เพื่อจับใจความในเรื่องที่อ่าน แล้วสามารถจับประเด็นเรื่องที่อ่านได้ อย่างเหมาะสม
ในแบบฝึกจะทาการเสริมถึงเทคนิคการอ่านจับใจความเรื่องต่างๆเช่น การอ่าน
หนังสือพิมพ์ การอ่านโฆษณา การอ่านนิยาย การอ่านบทความ และอื่นๆ เพื่อให้นักเรียน
สามารถรู้ถึงเทคนิคในการอ่านแบบต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ขอขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุน ให้คาแนะนา คาปรึกษา ในการจัดทา อาทิ
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านสะเดาใหญ่ คุณครูรุจิรา เอียดฉิม ครูวิทยฐานะครูชานาญการ
พิเศษกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และเพื่อนครูในโรงเรียนที่สนับสนุนและให้กาลังใจ
จนทาให้แบบฝึกทักษะเล่มนี้เสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และพัฒนาการอ่านจับใจความได้อย่างมี
ประสิทธิภาพต่อไป
อรจิราส์ คมนาคม
สารบัญ
คานา ก
คาชี้แจง ข
คาแนะนาในการใช้สาหรับครู ค
คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน ง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จ
สาระการเรียนรู้ ฉ
สารบัญ
แบบทดสอบก่อนเรียน ............................................................................. 1
ความรู้เกี่ยวกับการอ่าน ............................................................................ 9
หลักการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ .......................................................... 11
สรุป ......................................................................................................... 12
แบบฝึกชุดที่ 1 เรื่องการอ่านประโยค.......................................................... 17
แบบฝึกที่ 1.................................................................................. 17
แบบฝึกที่ 2.................................................................................. 18
แบบฝึกที่ 3.................................................................................. 19
แบบฝึกที่ 4.................................................................................. 20
แบบฝึกที่ 5.................................................................................. 21
แบบฝึกชุดที่ 2 เรื่องการอ่านบทความ .................................................... 22
แบบฝึกที่ 1.................................................................................. 22
แบบฝึกที่ 2.................................................................................. 23
แบบฝึกที่ 3.................................................................................. 24
แบบฝึกที่ 4.................................................................................. 25
แบบฝึกที่ 5.................................................................................. 26
แบบฝึกชุดที่ 3 เรื่องการอ่านจดหมาย ..................................................... 27
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 27
แบบฝึกที่ 2............................................................................... . 29
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 30
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 32
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 34
แบบฝึกชุดที่ 4 เรื่องการอ่านบทสัมภาษณ์ .............................................. 36
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 36
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 37
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 38
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 39
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 40
แบบฝึกชุดที่ 5 เรื่องการอ่านนิทาน ........................................................ 41
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 41
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 42
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 43
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 45
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 46
แบบฝึกชุดที่ 6 เรื่องการอ่านเรื่องสั้น ...................................................... 47
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 47
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 49
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 51
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 52
แบบฝึกที่ 5................................................................................ 53
แบบฝึกชุดที่ 7 เรื่องการอ่านคาในพจนานุกรม ....................................... 55
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 55
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 56
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 57
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 58
แบบฝึกที่ 5................................................................................ 59
แบบฝึกชุดที่ 8 เรื่องการอ่านโฆษณา ...................................................... 60
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 60
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 61
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 62
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 63
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 64
แบบฝึกชุดที่ 9 เรื่องการอ่านหนังสือพิมพ์ .............................................. 65
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 65
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 66
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 68
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 69
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 70
แบบฝึกชุดที่ 10 เรื่องการอ่านคาต่างประเทศ ......................................... 71
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 71
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 72
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 73
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 74
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 75
แบบฝึกชุดที่ 11 เรื่องการอ่านสานวน .................................................... 76
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 76
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 77
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 78
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 79
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 80
แบบฝึกชุดที่ 12 เรื่องการอ่านสุภาษิต .................................................... 81
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 81
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 82
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 83
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 84
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 85
แบบฝึกชุดที่ 13 เรื่องการอ่านคาพังเพย .................................................. 86
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 86
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 87
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 88
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 89
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 90
แบบฝึกชุดที่ 14 เรื่องการอ่านคาประพันธ์ .............................................. 91
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 91
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 92
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 93
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 94
แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 95
แบบฝึกชุดที่ 15 เรื่องการอ่านเพลง ........................................................ 96
แบบฝึกที่ 1................................................................................ 96
แบบฝึกที่ 2................................................................................ 97
แบบฝึกที่ 3................................................................................ 98
แบบฝึกที่ 4................................................................................ 99
แบบฝึกที่ 5................................................................................ 100
แบบทดสอบหลังเรียน ......................................................................................... 101
เฉลยแบบฝึกทักษะ .............................................................................................. 109
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ........................................................... 191
บรรณานุกรม
คาชี้แจง
แบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในการเตรียมความพร้อมมีรายละเอียดดังนี้
1. จานวนชุดแบบฝึกเสริมทักษะมีจานวนทั้งหมด 15 ชุด ชุดละ 5 แบบฝึก
รวม 75 แบบฝึก
2. แบบฝึกเล่มนี้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง การอ่านจับใจความ
ชุดที่ 1 การอ่านประโยค
ชุดที่ 2 การอ่านบทความ
ชุดที่ 3 การอ่านจดหมาย
ชุดที่ 4 อ่านบทสัมภาษณ์
ชุดที่ 5 การอ่านนิทาน
ชุดที่ 6 การอ่านเรื่องสั้น
ชุดที่ 7 การอ่านคาในพจนานุกรม
ชุดที่ 8 การอ่านโฆษณา
ชุดที่ 9 การอ่านหนังสือพิมพ์
ชุดที่ 10 การอ่านคาต่างประเทศ
ชุดที่ 11 การอ่านสานวน
ชุดที่ 12 การอ่านสุภาษิต
ชุดที่ 13 การอ่านคาพังเพย
ชุดที่ 14 การอ่านคาประพันธ์
ชุดที่ 15 การอ่านเพลง
3. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ มีส่วนประกอบดังนี้
2.1 ชื่อชุดแบบฝึก
2.2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2.3 สาระการเรียนรู้
2.4 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2.5 แบบฝึกเสริมทักษะ
2.6 เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
2.7 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
คาแนะนาในการใช้สาหรับครู
1. แบบฝึกชุดนี้มีจานวนทั้งหมด 15 ชุด ชุดละ 5 แบบฝึก รวม 75 แบบฝึก
2. แบบฝึกเล่มนี้เป็นแบบฝึกเรื่อง การอ่านจับใจความ ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. ส่วนประกอบของแบบฝึกเล่มนี้ประกอบด้วย
3.1 ชื่อชุดแบบฝึก
3.2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3.3 สาระการเรียนรู้
3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน
3.5 แบบฝึกเสริมทักษะ
3.5 แบบทดสอบหลังเรียน
3.6 เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
3.7 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
4. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้แบบฝึกก่อนใช้ทุกชุด
5. เตรียมอุปกรณ์การฝึกล่วงหน้าก่อนสอนทุกครั้ง เช่นชุดฝึกทักษะ แบบทดสอบ
แบบสังเกต ให้พร้อมเพื่อสะดวกในการใช้
6. อธิบายให้นักเรียนทราบถึงความสาคัญของการฝึกแต่ละครั้งเพื่อให้นักเรียน
เห็นประโยชน์ที่จะได้รับจากการฝึก
คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน
1. แบบฝึกชุดนี้มีจานวนทั้งหมด 15 ชุด ชุดละ 5 แบบฝึก รวม 75 แบบฝึก
2. แบบฝึกเล่มนี้เป็นแบบฝึกเรื่อง การอ่านจับใจความ ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. ขั้นตอนการใช้แบบฝึก
3.1 ศึกษาทาความเข้าใจ กับจุดประสงค์ของแบบฝึก
3.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3.3 ทาแบบฝึกเสริมทักษะอย่างรอบคอบและตั้งใจ
3.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน
3.5 ร่วมตรวจคาตอบ กับเฉลยในภาคผนวก
3.6 ร่วมตรวจ คาตอบของ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเมื่อเรียน
ในแต่ละเรื่องเพื่อวัดความรู้ที่พัฒนาขึ้นในเรื่องนั้นๆ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. สามารถอ่านในใจได้รวดเร็วและจับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านได้
2. สามารถอ่านเรื่องที่กาหนดให้ได้แล้วตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
3. สามารถทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ และสามารถเป็นผู้นาหรือผู้ตามที่ดีได้
4. เขียนสรุปใจความเรื่องที่อ่านด้วยข้อความสั้น ๆ ด้วยภาษาที่สละสลวย
กะทัดรัดชัดเจน
สาระการเรียนรู้
1. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของประโยค
2. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของบทความ
3. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของจดหมาย
4. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของบทสัมภาษณ์
5. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของนิทาน
6. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของเรื่องสั้น
7. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาในพจนานุกรม
8. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของโฆษณา
9. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของหนังสือพิมพ์
10. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาต่างประเทศ
11. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของสานวน
12. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของสุภาษิต
13. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาพังเพย
14. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาประพันธ์
15. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของเพลง
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การอ่านจับใจความ
คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย × หน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. “ด้วยไทยล้วนหมายรักสามัคคี” ประโยคนี้หมายถึงบุคคลใด
ก. นักเรียนไทย ข. คนที่อาศัยแผ่นดินไทย
ค. คนไทยทุกคน ง. ข้าราชการไทย
2. “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
เป็นคาพูดของใคร
ก. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ข. พระบาทสมเด็จพระราชินี
ค. หลวงพ่อคูณ ง. พระพุทธเจ้า
อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 3 - 4
ชีวิตจะดีงาม มีความสุข ประเทศจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์
ด้วยปัจจัยที่สาคัญที่สุดคือ การพัฒนาคน ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดี มีความสุข และเป็น
ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ การพัฒนาคนก็คือ การศึกษา
3. บทความนี้กล่าวถึงเรื่องใด
ก. ชีวิตที่ดี ข. สังคมที่ร่มเย็น
ค. การพัฒนาคน ง. การศึกษา
4. จากบทความนี้สิ่งที่จะช่วยพัฒนาคนคืออะไร
ก. สังคม ข. การศึกษา
ค. ประเทศชาติ ง. ทรัพยากร
อ่านจดหมายต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 5 - 6
5. เนื้อความในจดหมายผู้เขียนแสดงความรู้สึกอย่างไร
ก. ยินดี ข. ดีใจ
ค. เสียใจ ง. แปลกใจ
โรงเรียนขุขันธ์วิทยา
อ. ขุขันธ์ จ. ศรีสะเกษ
22 มิถุนายน 2550
ใบเตยเพื่อนรัก
เราได้รับจดหมายจากเพื่อนเมื่อวานนี้ เราเองรู้สึกดีใจมากที่เพื่อนยังคิดถึงและยัง
จาเราได้อยู่ ตั้งแต่พวกเราเรียนจบ ชั้น ป. 6 มาแล้วแยกย้ายกันไปเรียนต่อในที่ต่างๆ กัน
ตามความสนใจของแต่ละคน ก็ยังมีเพื่อนๆ บางคนที่ยังติดต่อกันอยู่รวมทั้งเพื่อนด้วย
เราเรียนอยู่ที่โรงเรียนขุขันธ์วิทยา ก็มีความสุขดี เราเรียนอยู่ห้องม.1/1 มีเพื่อนรวม
ชั้น 40 คนเป็นผู้ชาย 25 ที่เหลือเป็นผู้หญิง การเรียนของที่นี่ค่อนข้างจะหนักเอาการ ครู
อาจารย์เข้มงวดมาก แต่ก็สอนสนุกดีทุกคนมีการบ้านทามากทุกวันเลย เพราะฉะนั้นเราจึง
ต้องขยันมากขึ้นกว่าอยู่ที่โรงเรียนเดิม ส่วนเพื่อนเรียนอยู่โรงเรียนที่นี่เป็นอย่างไรบ้าง
เพื่อนเรียนหนักหรือเปล่า ความเป็นอยู่ที่นี่เป็นอย่างไรบ้างเล่าให้ฟังบ้างนะ
สุดท้าย เราขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก จงช่วย
ดลบันดาลให้เพื่อนและครอบครัวจงประสบแต่ความสุขความเจริญตลอดไป
รักและคิดถึง
วิริยะ พากเพียร
6. ประเด็นสาคัญในจดหมายคืออะไร
ก. ติดต่อถามข่าวคราว ข. ติดต่อธุรกิจ
ค. ติดต่อสมัครงาน ง. ติดต่อโรงเรียน
อ่านบทสัมภาษณ์ต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 7 - 8
7. ใจความสาคัญของบทสัมภาษณ์นี้เกี่ยวกับอะไร
ก. ผลของการดื่มกาแฟลดน้าหนักไลฟเทค สริมคาเฟ่
ข. วิธีการดื่มกาแฟลดน้าหนักไลฟเทค สริมคาเฟ่
ค. คุณค่าของกาแฟลดน้าหนักไลฟเทค สริมคาเฟ่
ง. วิธีลดน้าหนัก
8. บทสัมภาษณ์นี้สัมภาษณ์ใคร
ก. คนอ้วน ข. คนที่มีผิวพรรณดี
ค. ผู้ที่ดื่มกาแฟไลฟเทค สริมคาเฟ่
ง. ถูกทุกข้อ
เป็นคนที่มีน้าหนักมาก ไปไหนก็มีแต่คนบอกว่าอ้วน จึงลองดื่มกาแฟเพื่อ
การลดน้าหนักดู ก็ลองมาหลายสูตรนะคะ แต่ก็ไม่ได้ผล มีเพื่อนบอกให้ลองดื่ม
กาแฟเพื่อการลดน้าหนักของ ไลฟเทค สริมคาเฟ่ ก็เลยลองซื้อมาดื่มดูคะ ดื่มทุก
วันเช้า 1 แก้ว เย็น 1 แก้ว ทุกวัน แรกๆ ก็ไม่ค่อยเชื่อหรอกคะว่าจะลดนาหนักได้
แต่พอดื่มได้ประมาณ 1-2 เดือนก็เริ่มเห็นผลคะ ดิฉันมีผิวพรรณที่ดูสดใสขึ้น
กล้ามเนื้อดูกระชับ และน้าหนักเริ่มลดลง ทุกวันนี้ดิฉันมีรูปร่างที่สมส่วน
ผิวพรรณสดใสดูอ่อนกว่าวัย ต้องขอบคุณ ไลฟเทค สริมคาเฟ่ ค่ะ ที่ทาให้ดิฉันดูดี
ขึ้นอย่างทุกวันนี้
สัมภาษณ์จากผู้ที่ดื่มกาแฟ ไลฟเทค สริมคาเฟ่
อ่านนิทานต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 9 - 10
9. แพะหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ไหน
ก. ในป่า ข. ในหลุมหลบภัย
ค. ในกระท่อม ง. ใต้ต้นองุ่น
10. เพราะเหตุใดแพะจึงสมควรตาย
ก. เพราะแพะกินผลองุ่น
ข. เพราะแพะกินต้นองุ่น
ค. เพราะแพะไม่รู้บุญคุณของต้นองุ่น
ง. ถูกทุกข้อ
อ่านเรื่องสั้นต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 11-12
แพะกับผลองุ่น
มีแพะตัวหนึ่งหนีการไล่ล่าของนายพรานเข้าไปหลบซ่อนตัวอยู่ใต้ต้นองุ่น
จนเมื่อมันแน่ใจว่าพ้นจากอันตรายแล้ว มันก็ยกร่างขึ้นแล้วเริ่มกินผลองุ่นรวมทั้งใบของต้น
องุ่นที่มันเข้ามาอาศัยหลบภัยอยู่นั้นเอง ส่วนนายพรานที่อยู่ไม่ไกลนักได้ยินเสียงใบไม้ไหวจึง
หวนกลับมาพบว่าแพะกาลังกินองุ่นอยู่ก็ยิงแพะจนถึงแก่ความตายการกระทาของนายพรานใน
ครั้งนี้นับว่าสมควรที่แพะผู้ลาเลิกบุญคุณต่อต้นองุ่นควรได้รับเป็นอย่างยิ่ง
เช้าวันเสาร์ แม่ชวนปิ่นกับป่านไปเก็บผักที่ท้องนา ก่อนไปแม่เตือนปิ่นกับ
ป่านว่า เดินไปนะอย่าวิ่ง แต่ปิ่นไม่ฟังแอบกระซิบชวนป่านว่า ป่านเราวิ่งแข่งกันไป
เก็บดอกไม้กันไหมล่ะ ป่านบอกว่า ไม่หรอกพี่ แม่ไม่ให้วิ่ง ดังนั้นปิ่นจึงวิ่งไปตาม
ลาพัง เพื่อเก็บดอกไม้และจับผีเสื้อ และแมลงที่กาลังบินตอมเกสรดอกไม้ ส่วนป่าน
เดินข้ามคลองเล็กๆไป โดยมีไม้ไผ่เป็นทางข้าม แต่ปิ่นรีบร้อนและไม่ได้ระมัดระวัง
การข้ามสะพาน ทันใดนั้น ป่านก็ได้ยินเสียงร้องว่า “โอ๊ย |ช่วยด้วย แล้วร่างของปิ่นก็
ตกลงไปในน้า แม่รีบวิ่งมาช่วยไว้ทันและสอนปิ่นว่าทีหลังอย่าประมาท เพราะอาจ
ทาให้เสียชีวิตได้
11. แม่ชวนปิ่นกับป่านไปทาอะไร
ก. เก็บดอกไม้ ข. เก็บผัก
ค. จับแมลง ง. จับปลา
12. เพราะเหตุใดปิ่นจึงตกลงไปในน้า
ก. เพราะป่านผลักลงไป ข. เพราะกระโดดข้ามสะพาน
ค. เพราะรีบร้อนไม่ระวัง ง. ไม่มีข้อถูก
13. “อดีต” หมายถึงข้อใด
ก. เก่าแก่ ข. เวลาที่ล่วงเลยมาแล้ว
ค. สิ่งที่ยังมาไม่ถึง ง. ระลึกได้
14. “ประเสริฐ” หมายถึงข้อใด
ก. เลิศ ,วิเศษ ดีที่สุด ข. ชื่อของบุคคล
ค. ของมีค่า ง. คุณค่า
อ่านโฆษณาต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 15 - 16
15. สินค้าที่ต้องการโฆษณาคืออะไร
ก. ระบบโทรศัพท์จีเอสเอ็ม แอดวานซ์
ข. จานดาวเทียม ดีทีวี
ค. ซิมเบอร์สวยจากจีเอสเอ็ม แอดวานซ์
ง. ถูกทุกข้อ
ดู ดีทีวี 1,925 บาท พร้อมโทรฟรีกับจีเอสเอ็ม แอดวานซ์
ซื้อจานดาวเทียม ดีทีวี ช่องจุใจไม่มีรายเดือน แถมได้ ซิมเบอร์สวย
ค่าโทรฟรีและอีกมากมาย รวม 1,345 บาท จาก จีเอสเอ็ม แอดวานซ์
16. ถ้าติดตั้งจานดาวเทียม ดีทีวี จะได้รับสิทธิพิเศษอะไร
ก. ได้โทรฟรีกับจีเอสเอ็ม แอดวานซ์
ข. ได้ซิมโทรศัพท์ฟรี
ค. ได้ซิมโทรศัพท์และค่าโทรฟรี
ง. ได้เงิน 1,354 บาท
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 17 - 18
17. ในข้อความนี้นาเสนอข่าวเกี่ยวกับอะไร
ก. การสร้างเขื่อนปากมูล
ข. การผลิตไฟฟ้า
ค. การเยี่ยมชมเขื่อนปากมูล
ง. การยุติการสร้างเขื่อน
18. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. เขื่อนปากมูลสร้างไปแล้ว 50 %
ข. เขื่อนปากมูลจะสร้างเสร็จในเดือนพฤศจิกายน
ค. คณะสื่อมวลชนไปเยี่ยมชมเขื่อนปากมูล
ง. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตพาคณะสื่อมวลชนไปประท้วงที่เขื่อนปากมูล
เมื่อสุดสัปดาห์ที่แล้วการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้พาคณะสื่อมวลชล
จากส่วนกลางไปเยี่ยมชมความคืบหน้าของการสร้างเขื่อนปากมูล ก็ได้พบว่าการ
ก่อสร้างได้กระทาไปประมาณ 50% และคาดว่าจะแล้วเสร็จตามกาหนดในเดือน
พฤศจิกายนที่จะถึงนี้
(หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ)
19. คาว่า “พาสเวิร์ด” หมายถึงอะไร
ก. รหัสผ่าน ข. รหัสยืนยัน
ค. รหัสคอมพิวเตอร์ ง. รหัสประชาชน
20. คาว่า “คอนเฟริม” หมายถึงอะไร
ก. ฟันธง ข. ยืนยัน
ค. ทานาย ง. ไม่มีข้อถูก
21. สานวนที่ว่า “ปอกกล้วยเข้าปาก” หมายความว่าอย่างไร
ก. การทาในสิ่งที่ง่ายมาก ข. ปอกกล้วยรับประทาน
ค. ปอกกล้วยแล้วทางาน ง. ถูกทุกข้อ
22. สานวนที่ว่า “ฝนทั่งให้เป็นเข็ม” หมายความว่าอย่างไร
ก. ตีเหล็กให้เป็นเข็ม
ข. ใช้ความพยายามเต็มกาลังไม่ท้อถอย
ค. ทาความดีไม่มีใครเห็น
ง. ตั้งใจทางานเพียงลาพัง
23. “คนที่มีฐานะต่าต้อย พอได้ดีก็จะแสดงกิริยาอวดดีจนลืมตัว”
ประโยคนี้ตรงกับสุภาษิตข้อใด
ก. คางคกขึ้นวอ ข. วัวลืมตีน
ค. กิ้งก่าได้ทอง ง. ถูกทุกข้อ
24. สุภาษิตที่ว่า “ราไม่ดี โทษปี่โทษกลอง” หมายความว่าอย่างไร
ก. ราไม่สวยแล้วโทษกลอง
ข. ทาผิดแล้วไม่ยอมรับกลับโทษผู้อื่น
ค. ทาผิดแล้วโทษกลอง
ง. ไม่กล้าราเพราะไม่มีกลอง
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 25 - 26
25. ข้อความนี้ตรงกับคาพังเพยใด
ก. น้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า ข. บัวไม่ให้ช้า น้าไม่ให้ขุ่น
ค. ขมิ้นกับปูน ง. ขิงก็รา ข่าก็แรง
26. ถ้าป้าแช่มกับป้าชื่นทะเลาะกันทุกวันต่างคนต่างไม่ยอมกัน ตรงกับคาพังเพยใด
ก. น้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า ข. บัวไม่ให้ช้า น้าไม่ให้ขุ่น
ค. ขมิ้นกับปูน ง. ขิงก็รา ข่าก็แรง
อ่านคาประพันธ์ต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 27 - 28
27. คาประพันธ์นี้ต้องการกล่าวถึงสิ่งใดเป็นสาคัญ
ก. ทะเล ข. ลมพายุ
ค. ความโกรธ ง. เกลียวคลื่น
28. คาประพันธ์กล่าวถึงความโกรธเหมือนสิ่งใด
ก. พายุ ข. คลื่นซัดฝั่ง
ค. ทะเลที่กาลังมีพายุ ง. ถูกทุกข้อ
ความโกรธนั้นมันเหมือนทะเลบ้า
คลื่นซัดซ่าสาดโครมโหมถลา
ลมกระหน่าซ้าคลื่นครืนครืนมา
เหมือนอุราพลุ่งโชติเพราะโกรธครัน
ป้าแช่มกับป้าชื่นอยู่บ้านติดกัน ทั้งสองครอบครัว
มีความรักใคร่กลมเกลียวกัน มีอะไรต่างช่วยเหลือซึ่งกัน
และกัน
อ่านเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 29 - 30
29. ข้อใดเป็นประเด็นสาคัญของบทเพลงนี้
ก. ความรักชาติ ข. ความสละเลือดเพื่อชาติ
ค. ความรักสงบ ง. ความมีเกียรติที่เป็นคนไทย
30. ข้อใดที่ไม่ได้กล่าวถึงในบทเพลงนี้
ก. ความรักสงบของชาติไทย
ข. ความเป็นเอกราชของชาติไทย
ค. ความเสียสละเพื่อชาติไทย
ง. ความขี้ขลาดของคนไทย
ไทยนี้รักสงบ แต่ถึงรบไม่ขลาด เอกราชจะไม่ให้ใครข่มขี่
สละเลือดทุกหยาดเป็นชาติพลี เถลิงประเทศชาติไทย ทวีมีชัยไชโย
ขอให้ตั้งใจทา
ให้ได้คะแนนเยอะๆ
นะคะ
ความรู้เกี่ยวกับการอ่าน
การอ่านจับใจความสาคัญ
การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ หมายถึง การอ่านเพื่อเก็บสาระสาคัญของเรื่องที่อ่าน
เช่น เก็บจุดมุ่งหมายสาคัญของเรื่อง เก็บเนื้อเรื่องที่สาคัญ เก็บความรู้หรือข้อมูลที่น่าสนใจ
ตลอดจนแนวความคิดหรือทัศนะของผู้เขียน
ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความสาคัญและเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อ
หน้าที่สามารถครอบคลุ มเนื้อความในประโยคอื่นๆ ในย่อหน้านั้น หรือเป็นประโยคที่
สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนื้อความของประโยคอื่นออกหมด หรือ
สามารถเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยวๆ ได้ โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ในแต่ละ
ย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ประโยค
ลักษณะของใจความสาคัญ
ใจความสาคัญมีลักษณะ ดังนี้
1. ใจความสาคัญเป็นข้อความที่ทาหน้าที่คลุมใจความของข้อความอื่นๆ ในตอน
นั้นๆ ได้หมด ข้อความนอกนั้นเป็นเพียงรายละเอียดหรือส่วนขยายใจความสาคัญเท่านั้น
2. ใจความสาคัญของข้อความหนึ่งๆ หรือย่อหน้าหนึ่ งๆ ส่วนมากจะมีเพียง
ประการเดียว
3. ใจความสาคัญส่วนมากมีลักษณะเป็นประโยค อาจจะเป็นประโยคเดียวหรือ
ประโยคซ้อนก็ได้ แต่ในบางกรณี ใจความสาคัญไม่ปรากฏเป็นประโยค เป็นเพียงใจความ
ที่แฝงอยู่ในข้อความตอนนั้นๆ
4. ใจความสาคัญที่มีลักษณะเป็นประโยคส่วนมากจะปรากฏอยู่ต้นข้อความ
การพิจารณาใจความสาคัญ
ใจความสาคัญจะปรากฏอยู่ในตาแหน่งของข้อความดังต่อไปนี้
1. ใจความสาคัญที่ปรากฏอยู่ในแต่ละย่อหน้า ดังนี้
1.1 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งต้นของย่อหน้าและมีรายละเอียดวางอยู่ใน
ตาแหน่งถัดไป
1.2 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งท้ายของย่อหน้า โดยกล่าวถึงรายละเอียด
ต่างๆ อย่างคลุมๆ ไว้ก่อนในตอนต้น
1.3 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งต้นและท้ายย่อหน้า มีรายละเอียดอยู่ตรง
กลาง
1.4 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งกลางย่อหน้า มีรายละเอียดอยู่ตอนต้นกับ
ตอนท้าย
2. อ่านจับใจความสาคัญที่ปรากฏรวมอยู่ในหลายๆ ย่อหน้า การอ่านเพื่อจับ
ใจความสาคัญแบบนี้ มีหลักสาคัญของการปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนดังนี้
2.1 อ่านอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ
2.2 อ่านให้ละเอียด
2.3 อ่านแล้วถามตัวเองว่า เรื่องนี้มีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
ทาไม
อนึ่ง การตั้งคาถามไม่จาเป็นต้องเหมือนกันทั้งหมด อาจจะต้องเปลี่ยนไปตาม
เงื่อนไขของงานเขียน เช่น เรื่องอะไร ใครเป็นผู้เขียน ความว่าอย่างไร
3. รวบรวมคาตอบจากข้อ 2.3 มาเรียบเรียงให้สละสลวย และมีความเหมาะสม
ตามลาดับความสาคัญของเนื้อความ
วิธีการจับใจความสาคัญ
วิธีจับใจความสาคัญหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับความชอบว่าจะทาอย่างไร เช่น ขีดเส้นใต้
หรือตีเส้นล้อมกรอบข้อความสาคัญ การใช้สีต่างๆ กันแสดงความสาคัญมากน้อยของ
ข้อความ การทาบันทึกย่อก็เป็นขบวนการส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสาคัญที่ดีและ
ได้ผล แต่ผู้อ่านควรย่อด้วยภาษาและสานวนของตนเอง ไม่ควรย่อด้วยการตัดเอา
ความสาคัญมาเรียงต่อกัน เพราะวิธีนี้อาจทาให้ผู้อ่านพลาดสาระสาคัญบางตอนไป อันเป็น
เหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้
หลักการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ
1. อ่านจากบนลงล่างแทนการอ่านจากซ้ายไปขวาทีละตัว
2. อย่าอ่านทุกตัวอักษร เพราะจะทาให้อ่านได้ช้า
3. ฝึกกวาดสายตาเป็นห้วงๆเพื่อจะได้อ่านได้ทีละประโยคๆซึ่งจะช่วยให้อ่านได้
รวดเร็ว
4. พยายามเก็บความของแต่ละคน เมื่ออ่านจบตอนหนึ่งแล้ว โดยรู้จักแยกใจความ
สาคัญและใจความที่นามาประกอบในแต่ละข้อความออกจากกันให้ได้
5. ขณะที่อ่านต้องนึกไว้เสมอว่าเรื่องที่กาลังอ่านอยู่นั้นเป็นเรื่องอะไร มี
จุดมุ่งหมายเพื่ออะไร เมื่ออ่านจบแล้วจะได้ตอบปัญหาที่ตั้งไว้ได้
6. พยายามให้ความสนใจในสิ่งที่ต้องการเพียงอย่างเดียว เมื่อต้องการจะอ่าน เพื่อ
ตอบปัญหา หรือจับใจความก็ไม่ควรพะวงอยู่กับเรื่องหลักภาษาหรือเรื่องราวอื่นๆ ที่ไม่อยู่
ในความต้องการ
7. อย่าพยายามอ่านซ้าเพราะจะทาให้เสียเวลา ในบางครั้งเราอาจจะได้ทราบ
ความหมายจากประโยคถัดไปได้
8. ฝึกอ่านอย่างสม่าเสมอ อ่านหนังสือหลายๆ ประเภท เพื่อให้เกิดความชานาญ
ในการอ่านใดๆ ก็ตามจุดมุ่งหมายเพื่อจับใจความสาคัญของข้อความที่ได้อ่าน
ดังนั้น ถ้ารู้จักสังเกตประโยคที่เป็นใจความสาคัญของข้อความแต่ละข้อความ และรู้จักแยก
ใจความหลักออกจากใจความรองได้ ก็จะทาให้เราเข้าใจในสิ่งที่อ่านได้อย่างถูกต้องและ
รวดเร็ว
1. อ่านเนื้อเรื่องทั้งหมด และจับประเด็นสาคัญ
2. ทบทวนโดยตั้งคาถามในใจว่าเรื่องที่อ่าน นั้นมีใครทาอะไร ที่ไหน อย่างไร
ทาไม เมื่อไร
3. เขียนข้อความที่มีความสัมพันธ์อย่างสั้น ๆ ด้วยภาษาที่ สละสลวย กะทัดรัด
และชัดเจน
สรุป
เช้าวันรุ่งขึ้น เสียงไก่ขัน เอ้ก ! อี้ ! เอ้ก ! เอ้ก ! ฉันและน้องตื่นขึ้นแล้วชวน
กันไปอาบน้า พอแต่งตัวเสร็จก็ออกไปวิ่งเล่นที่สนามหญ้าหน้าบ้าน ฉันพบเห็ดดอก
หนึ่ง กาลังบาน มีขนาดใหญ่มาก ฉันกับน้องยืนดูด้วยความสนใจ คุณน้าซึ่งตื่นเช้า
เช่นกันรีบเดินเข้ามา ห้ามฉันและน้องแตะต้องเพราะอาจเป็นเห็ดพิษ
ประเด็นสาคัญของข้อความนี้ คือ
เห็ดที่พบ อาจเป็นเห็ดมีพิษ ถ้า
อ่านแล้วเข้าใจและค้นพบประเด็น
สาคัญพบ ก็ถือได้ว่า อ่านเป็น
ข้อความที่ 1
ตัวอย่างการอ่านเพื่อจับใจความ
คนเราแม้ชาติกาเนิดจะเป็นเช่นไรก็ไม่สาคัญ ถ้าเป็น
คนขยัน หมั่นเพียรคิดทาได้สิ่งที่ถูกที่ควรด้วยสติสัมปชัญญะ
และปัญญาแบบพุทธแล้ว ย่อมสาม ารถนาตนไปสู่ที่ที่ดีได้
ทั้งยังสามารถทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมได้เป็นอักมาก
ประเด็นสาคัญของข้อความนี้ คือ
ถ้าเป็นคนขยันและมีสติสัมปชัญญะ
ก็สามารถพาตัวเองไปพบเจอแต่สิ่งดี ๆ
และยังช่วยเหลือสังคมได้
ข้อความที่ 2
นกกระเรียน ห่าน และเหยี่ยว
(ตอนที่ ๑) นกกระเรียนตัวหนึ่งบินมาถึงสระแห่งหนึ่ง เห็นห่านดาผุดดาว่ายอยู่ใน
สระ จึงถามว่ากาลังทาอะไร ห่านจึงอธิบายให้ฟังว่า “นี่เป็นวิธีหาอาหารในน้า
ของพวกเรา และเมื่อมีภัยอันตรายเราก็สามารถดาน้าหนีได้”
(ตอนที่ ๒) “ขอเพียงเจ้ามาเป็นเพื่อนของเราเท่านั้น ต่อไปก็ไม่ต้องมัวดาผุดดาว่าย
ให้เสียเวลา ” นกกระเรียนให้คาแนะนา “ขึ้นมาหาอาหารบนบกสบายกว่า
ส่วนภัยอันตรายนั้น ด้วยร่างกายที่แข็งแรงของเราขอรับรองว่าจะคอยคุ้มครอง
ให้เจ้าเอง”
(ตอนที่ ๓) ห่านหลงเชื่อที่นกกระเรียนกล่าว จึงขึ้นมาหาอาห ารบนบกกับนก
กระเรียน อยู่ต่อมาไม่นานเหยี่ยวตัวหนึ่งออกหาเหยื่อเห็นห่านหากินอยู่บนบก
จึงโฉบลงมาจับตัวได้โดยง่าย ห่านตะโกนส่งเสียงร้องเรียกนกกระเรียนช่วย
แต่ปรากฏว่านกกระเรียนบินเตลิดหนีไปนานแล้ว
ตอนที่ ๑ คือ นกกระเรียนเห็นห่านดาผุดดาว่ายอยู่ในสระ
ตอนที่ ๒ คือ นกกระเรียนชวนห่านให้ขึ้นมาหาอาหารบนบก
ตอนที่ ๓ คือ ห่านหลงเชื่อขึ้นมาหากินบนบก จึงถูกเหยี่ยวจับกินส่วนนก
กระเรียนบินหนีไป
สรุปใจความสาคัญ
นกกระเรียนเห็นห่านดาผุดดาว่ายอยู่ในสระจึงชวนห่านให้ขึ้นมาหากิน
บนบก ห่านหลงเชื่อขึ้นมาหากินบนบก จึงถูกเหยี่ยวจับกินส่วนนกกระเรียน
บินหนีไป
ข้อความที่ 3
ตัวอย่างการถอดความเป็นร้อยแก้ว
ความเอ๋ยความแก่ เป็นเพื่อนตายแท้ความตายไม่หน่ายหนี
เมื่อความแก่ล่วงกาลมานานปี ก็มอบเวรหน้าที่ให้ความตาย
ไม่ยกเว้นใครใครไม่ลาเอียง มิให้ใครหลีกเลี่ยงหรือเถียงได้
เพราะฉะนั้นเราท่านทั้งหญิงชาย รีบทาดีก่อนตายให้มากเอย
(สิริวยาส)
อ่านบทประพันธ์ต่อไปนี้
ความแก่กับความตายเป็นของคู่กัน เมื่อแก่แล้วก็ต้องตาย ไม่มีใคร
หลบหนีหรือหลีกเลี่ยงได้พ้น เพราะฉะนั้นตอนยังมีชีวิตอยู่เราทุกคนควร
รีบทาความดีไว้ให้มาก
ข้อความที่ 4
แบบฝึกที่ 1
เรื่องการอ่านประโยค
ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของประโยค
“เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
......................................................................................................
......................................................................................................
......................................................................................................
......................................................................................................
......................................................................................................
......................................................................................................
..........
ชื่อ.................................นามสกุล...........................เลขที่..............ชั้น.............
แบบฝึกที่ 2
1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด
...................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “อโรคยา ปรมา ลาภา” หมายถึงอะไร
...................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่าระหว่างการมีสุขภาพดีกับการร่ารวยเงินทองสิ่งใดเป็นความสุขที่
แท้จริงเพราะเหตุใด
...................................................................................................................
...................................................................................................................
4. การมีสุขภาพดีไม่มีโรค ความสุขนี้ประกอบด้วยอะไรบ้าง
...................................................................................................................
5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
ชื่อ...............................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
“อโรคยา ปรมา ลาภา” การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ
การมีสุขภาพดี ไม่มีโรคจึงเป็นความสุข ซึ่งความสุขนี้ประกอบด้วย
สุขกาย สุขใจ และสุขทางสังคม
ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ
ให้นักเรียนอ่านประโยคที่กาหนดให้แล้วอ่านคาถามและทาเครื่องหมาย 
หน้าคาตอบที่ถูก
คนที่พูดแต่ความจริง โดยเอาความสัตย์เป็นที่ตั้ง ปราศจากความ ครั่น
คร้ามต่าง ๆ จึงมีความสุข
ประโยคนี้ได้กล่าวถึง
ผลของการพูดความจริง
วิธีพูดความจริง
ประโยคนี้พอสรุปได้ว่า พูดความจริงแล้วมีความสุข
พูดความจริงแล้วคนจะทาตาม
ประโยคนี้สอดคล้องกับสานวนใด
ปลาหมอตายเพราะปาก
พูดดีเป็นศรีแก่ตัว
อ่านประโยคนี้แล้ว นักเรียนควรปฏิบัติ
ตัวอย่างไร
พูดแต่ความจริง
พูดอย่างมีความสุข
คาว่า “ครั่นคร้าม” มีความหมายว่า
อย่างไร
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
ความประมาท
ความหวาดกลัว
แบบฝึกที่ 3
แบบฝึกที่ 4
1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด
...................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “ฟุ้งซ่าน” หมายความว่าอะไร
...................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่าสาเหตุของการนอนไม่หลับเพราะเหตุใด
...................................................................................................................
...................................................................................................................
4. คาว่า “โรคภัยไข้เจ็บ” หมายถึงอะไร
...................................................................................................................
5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
“สาเหตุของการนอนไม่หลับโดยมากไม่ใช่โรคภัยไข้เจ็บ แต่เป็น
เพราะฟุ้งซ่านและความเคยชิน”
ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
แบบฝึกที่ 5
“อันตรายของการฉีดยามีมากมาย จึงควรหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะ เมื่อป่วย
ด้วยโรคที่ไม่ร้ายแรง เช่น ไข้หวัด คออักเสบ ท้องเสีย ฯลฯ”
1. ใจความสาคัญของประโยคนี้คืออะไร
...................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่าควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาเมื่อใด
...................................................................................................................
3. ในประโยคนี้เพราะเหตุใดจึงควรหลีกเลี่ยงการฉีดยา
...................................................................................................................
...................................................................................................................
4. คาว่า “โรคไม่ร้ายแรง” ได้แก่โรคอะไรบ้าง
...................................................................................................................
5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
เรื่องการอ่านบทความ
ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของบทความ
สาหรับเห็ดที่กินได้ทั่วไปนั้น จะเป็นอาหารที่มีไขมันต่า และไม่มีคอเลสเตอรอล มี
เกลือโซเดียมน้อยแต่มีแร่ธาตุสูง เช่น โปแตสเซียมซึ่งช่วยลดความดันโลหิต และซีลีเนียม
ซึ่งเป็นตัวสารต้านมะเร็ง รวมทั้งยังมีวิตามินต่างๆ โดยเฉพาะวิตามินบี ในเห็ดยังมีกรดอะ
มิโนต่างๆ ที่ร่างกาย ต้องการในปริมาณพอสมควร และมีกรดอะมิโนกลูตามิกที่ช่วยให้
เจริญอาหารอยู่ด้วย จึงทาให้ประสาทรับรู้รสอาหารทางานได้ดี นอกจากนั้นยังถือว่าเห็ด
เป็นอาหารพื้นบ้านที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรที่มีรสหวาน ซึ่งจะช่วยทาให้ชุ่มชื่น บารุง
กาลัง แก้อ่อนเพลียได้อีกด้วย
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
สรุปประเด็นสาคัญ
………………………………………………………………………......................
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
.
แบบฝึกที่ 1
ผึ้งเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่มีขา 6 ขา ตัวโตประมาณนิ้วก้อย แบ่งเป็น 3 ตอน คือ
ตอนหัว หน้าอก และท้อง มีงวงไว้สาหรับดูดน้าหวานมีตาขนาดใหญ่อยู่ข้างหัวข้าง
ละตาและมีตาเล็ก ๆ อีก 3 ตาอยู่บนหัว มีหนวดเล็ก ๆ ทั้งหมด 4 เส้นด้วยกัน
อาหารของผึ้งคือน้าหวานของดอกไม้ ผึ้งจะมีเหล็กในที่ก้น เพื่อใช้เป็นเครื่อง
ต่อสู้ป้องกันตัว ในรังของผึ้งแต่ละรังจะมีผึ้ง 3 ชนิด คือ ผึ้งนางพญา ซึ่งมีเพียงตัว
เดียว ผึ้งตัวผู้และผึ้งตัวเมีย
มนุษย์ได้รับประโยชน์จากผึ้งลายอย่าง คือ ได้น้าผึ้ง และรังอ่อน ตัวอ่อนของ
ผึ้ง ได้ขี้ผึ้งมาใช้เป็นยา
แบบฝึกที่ 2
ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วตอบคาถาม
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
1. ผึ้งเป็นสัตว์ประเภทใด......................................................................
2. ผึ้งมีตาทั้งหมดกี่ตาและอยู่บริเวณใดบ้าง..........................................
................................................................................................................
3. อาหารของผึ้งคืออะไร.......................................................................
4. ในรังของผึ้งมีผึ้งกี่ชนิดได้แก่อะไรบ้าง.............................................
................................................................................................................
5. อวัยวะใดที่ผึ้งใช้ดูดน้าหวาน.............................................................
ให้นักเรียนอ่านบทความที่กาหนดให้แล้วทาเครื่องหมาย  หรือ 
ลงในช่องว่าง
....................... มะนาว มีสรรพคุณทางยา คือ ขับเสมหะ ช่วยระบาย
....................... สะตอ ขนุนอ่อน มีสรรพคุณทางยา คือ แก้ร้อนใน
....................... เตยหอม มีสรรพคุณทางยา คือ บารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย
....................... ผักโขม มะระขี้นก มีสรรพคุณทางยา คือ บารุงหัวใจ
....................... กระเทียม ขิง ข่า มีสรรพคุณทางยา คือ แก้ท้องอืด ขับลม
ผักพื้นบ้าน คือ พรรณพืชพื้นบ้านในท้องถิ่น ชาวบ้านนามาบริโภคเป็น
อาหาร เป็นยารักษาโรค ซึ่งมีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร เนื่องจากมีรสยาที่
หลากหลายอยู่ในผักพื้นบ้าน เช่น
- แก้ท้องอืด แก้ลมจุกเสียด ขับลม เช่น กระเทียม พริกไทย ขิง ข่า ฯลฯ
- ขับเสมหะ ช่วยระบาย เช่น ยอดมะขามอ่อน มะนาว ฯลฯ
- บารุงโลหิต เช่น มะระขี้นก ผักโขม สะเดา ฯลฯ
- บารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย เช่น เตยหอม โสน ฯลฯ
- บารุงเส้นเอ็น เป็นยาอายุวัฒนะ เช่น สะตอ ขนุนอ่อน ฟักทอง กระถิน
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
แบบฝึกที่ 3
ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของบทความ
รถม้านับเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของเมืองลาปาง มีครั้งแรก
เมื่อปี พ.ศ. 2458 โดยอพยพมาจากพระนครหลวงหลังจากที่เกิดมี
รถยนต์วิ่งกันขวักไขว่ การใช้รถม้าในปัจจุบันของนครลาปางส่วนใหญ่
ใช้เป็นพาหนะนานักท่องเที่ยวชมรอบเมืองกับรถรับจ้างและผู้ขับขี่เองก็
ต้องมีใบอนุญาตขับขี่ด้วย ส่วนม้าต้องใช้วัสดุสีดาเป็นที่กาบังตาทั้งสอง
ข้าง เพื่อไม่ให้ม้ามองเห็นสิ่งรอบข้าง ให้มองเห็นเพียงท้องถนนเท่านั้น
สรุปประเด็นสาคัญ
………………………………………………………………………......................
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
.
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
แบบฝึกที่ 4
แบบฝึกที่ 5
ให้นักเรียนอ่านเรื่องต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม
ชีวิตจะดีงาม มีความสุข ประเทศจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์
ด้วยปัจจัยที่สาคัญที่สุดคือ การพัฒนาคน ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดี มีความสุข และเป็น
ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ การพัฒนาคนก็คือ การศึกษา
คนที่มีการศึกษาตลอด จบการศึกษาแล้วเรียกว่า บัณฑิต ในประเพณีไทยโบราณ
เรียกคนที่บวชเรียนแล้วว่า “ฑิต” (ตามปกตินิยมเขียนเป็นคาชาวบ้านว่า “ทิด”) ปัจจุบัน
เรียกคนที่จบการศึกษาปริญญาตรีแล้วว่าเป็น “บัณฑิต” เมื่อว่าโดยเนื้อหาสาระ บัณฑิตก็
คือ คนที่ดาเนินชีวิตด้วยปัญญาเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท พัฒนาชีวิตของตนจนลุถึง
ประโยชน์ที่เป็นจุดหมายของชีวิต
(จาก พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคมของกรมศาสนา)
คาถาม
1. นักเรียนคิดว่า “การศึกษา” จะช่วยพัฒนาคนได้อย่างไรบ้าง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
2. บัณฑิต หมายถึงอะไร
...............................................................................................................................
3. นักเรียนได้ข้อคิดอะไรจากเรื่องนี้บ้าง
................................................................................................................................
..............................................................................................................................
ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
เฉลย
เฉลยแบบฝึกที่ 1
เรื่องการอ่านประโยค
ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของประโยค
“เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
อยู่ในดุลพินิจของครู
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
............
เฉลยแบบฝึกที่ 2
ให้นักเรียนอ่านประโยคแล้วตอบคาถาม
สุขภาพดีไม่มีโรค
การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ
สุขกาย สุขใจ และสุขทางสังคม
อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน
“อโรคยา ปรมา ลาภา” การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ
การมีสุขภาพดี ไม่มีโรคจึงเป็นความสุข ซึ่งความสุขนี้ประกอบด้วย
1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด
...................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “อโรคยา ปรมา ลาภา” หมายถึงอะไร
...................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่าระหว่างการมีสุขภาพดีกับการร่ารวยเงินทองสิ่งใดเป็นความสุขที่แท้จริง
เพราะเหตุใด....................................................................................................................
4. การมีสุขภาพดีไม่มีโรค ความสุขนี้ประกอบด้วยอะไรบ้าง
.....................................สุขกาย สุขใจ และสุขทางสังคม.........................
5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้
...................................................................................................................
..................................................................................................................
คนที่พูดแต่ความจริง โดยเอาความสัตย์เป็นที่ตั้ง ปราศจากความ
ครั่นคร้ามต่าง ๆ จึงมีความสุข









เฉลยแบบฝึกที่ 3
ให้นักเรียนอ่านประโยคที่กาหนดให้แล้วอ่านคาถามและทาเครื่องหมาย 
หน้าคาตอบที่ถูก
ประโยคนี้ได้กล่าวถึง
ผลของการพูดความจริง
วิธีพูดความจริง
ประโยคนี้พอสรุปได้ว่า
พูดความจริงแล้วมีความสุข
พูดความจริงแล้วคนจะทาตาม
ประโยคนี้สอดคล้องกับสานวนใด ปลาหมอตายเพราะปาก
พูดดีเป็นศรีแก่ตัว
อ่านประโยคนี้แล้ว นักเรียนควร
ปฏิบัติตัวอย่างไร
พูดแต่ความจริง
พูดอย่างมีความสุข
คาว่า “ครั่นคร้าม” มีความหมายว่า
อย่างไร
ความประมาท
 ความหวาดกลัว
เฉลยแบบฝึกที่ 4
1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด
...................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “ฟุ้งซ่าน” หมายความว่าอะไร
...................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่าสาเหตุของการนอนไม่หลับเพราะเหตุใด
...................................................................................................................
...................................................................................................................
4. คาว่า “โรคภัยไข้เจ็บ” หมายถึงอะไร
...................................................................................................................
5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้
...................................................................................................................
...............................................................................................................
“สาเหตุของการนอนไม่หลับโดยมากไม่ใช่โรคภัยไข้เจ็บ แต่เป็น
เพราะฟุ้งซ่านและความเคยชิน”
ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ
สาเหตุของการนอนไม่หลับ
ไม่สงบ กระวนกระวาย
เพราะฟุ้งซ่านและความเคยชิน
เจ็บป่วยไม่สบาย
สาเหตุของการนอนไม่หลับของคนเรามาจากความฟุ้งซ่าน และความ
เคยชินมากกว่า ไม่ใช่เกิดจากอาการเจ็บป่วยไม่สบาย
เฉลยแบบฝึกที่ 5
“อันตรายของการฉีดยามีมากมาย จึงควรหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะ เมื่อป่วย
ด้วยโรคที่ไม่ร้ายแรง เช่น ไข้หวัด คออักเสบ ท้องเสีย ฯลฯ”
1. ใจความสาคัญของประโยคนี้คืออะไร
...... อันตรายของการฉีดยา ........................................
2. นักเรียนคิดว่าควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาเมื่อใด
...........เมื่อป่วยด้วยโรคที่ไม่ร้ายแรง .........................................................
3. ในประโยคนี้เพราะเหตุใดจึงควรหลีกเลี่ยงการฉีดยา
...................................................................................................................
...................................................................................................................
4. คาว่า “โรคไม่ร้ายแรง” ได้แก่โรคอะไรบ้าง
.................ไข้หวัด คออักเสบ ท้องเสีย ..................................................
5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้
.........การฉีดยาทาให้เกิดอันตรายมากมาย จึงควรหลีกเลี่ยงการฉีดยา
ถ้าไม่ได้ป่วยเป็นโรคร้ายแรง ............................................................................
ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ
เพราะจะเกิดอันตรายได้
ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของบทความ
สาหรับเห็ดที่กินได้ทั่วไปนั้น จะเป็นอาหารที่มีไขมันต่า และไม่มี
คอเลสเตอรอล มีเกลือโซเดียมน้อยแต่มีแร่ธาตุสูง เช่น โป แตสเซียมซึ่งช่วยลด
ความดันโลหิต และซีลีเนียมซึ่งเป็นตัวสารต้านมะเร็ง รวมทั้งยังมีวิตามินต่างๆ
โดยเฉพาะวิตามินบี ในเห็ดยังมีกรดอะมิโนต่างๆ ที่ร่างกาย ต้องการในปริมาณ
พอสมควร และมีกรดอะมิโนกลูตามิกที่ช่วยให้เจริญอาหารอยู่ด้วย จึงทาให้
ประสาทรับรู้รสอาหารทางานได้ดี นอกจากนั้นยังถือว่าเห็ดเป็นอาหารพื้นบ้าน
ที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรที่มีรสหวาน ซึ่งจะช่วยทาให้ชุ่มชื่น บารุงกาลัง
แก้อ่อนเพลียได้อีกด้วย
อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน
เฉลยแบบฝึกที่ 1
เรื่องการอ่านบทความ
เฉลยแบบฝึกที่ 2
ผึ้งเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่มีขา 6 ขา ตัวโตประมาณนิ้วก้อย แบ่งเป็น 3 ตอน
คือ ตอนหัว หน้าอก และท้อง มีงวงไว้สาหรับดูดน้าหวานมีตาขนาดใหญ่อยู่ข้างหัว
ข้างละตาและมีตาเล็ก ๆ อีก 3 ตาอยู่บนหัว มีหนวดเล็ก ๆ ทั้งหมด 4 เส้นด้วยกัน
อาหารของผึ้งคือน้าหวานของดอกไม้ ผึ้งจะมีเหล็กในที่ก้น เพื่อใช้เป็นเครื่อง
ต่อสู้ป้องกันตัว ในรังของผึ้งแต่ละรังจะมีผึ้ง 3 ชนิด คือ ผึ้งนางพญา ซึ่งมีเพียงตัว
เดียว ผึ้งตัวผู้และผึ้งตัวเมีย
มนุษย์ได้รับประโยชน์จากผึ้งหลายอย่าง คือ ได้น้าผึ้ง และรังอ่อน ตัวอ่อน
ของผึ้ง ได้ขี้ผึ้งมาใช้เป็นยา
ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วตอบคาถาม
1. ผึ้งเป็นสัตว์ประเภทใด...............แมลง................................................
2. ผึ้งมีตาทั้งหมดกี่ตาและอยู่บริเวณใดบ้าง..........5 ตา.......................
....................อยู่ข้างหัวข้างละตาและมีตาเล็ก ๆ อีก 3 ตาอยู่บนหัว ......
3. อาหารของผึ้งคืออะไร.....น้าหวานของดอกไม้..............
4. ในรังของผึ้งมีผึ้งกี่ชนิดได้แก่อะไรบ้าง........มีผึ้ง 3 ชนิด............
ผึ้งนางพญา ผึ้งตัวผู้และผึ้งตัวเมีย
5. อวัยวะใดที่ผึ้งใช้ดูดน้าหวาน...มีงวงไว้สาหรับดูดน้าหวาน..........
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 

Destacado

ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 

Destacado (12)

ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 

Similar a ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6

ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบwarijung2012
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศ
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศ
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศtassanee chaicharoen
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)Sommawan Keawsangthongcharoen
 
ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์
ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์
ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
Project 02
Project 02Project 02
Project 02chorthip
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรPiyarerk Bunkoson
 
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยtassanee chaicharoen
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯKhwunta Yoosansook
 
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
ฝึกเขียน
ฝึกเขียนฝึกเขียน
ฝึกเขียนusaneetoi
 
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)sopa sangsuy
 

Similar a ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6 (20)

ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
P48545670053
P48545670053P48545670053
P48545670053
 
R24
R24R24
R24
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศ
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศ
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศ
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
 
ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์
ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์
ใบกิจกรรมที่ 1 แผนผังความคิดอนามัยเจริญพันธุ์
 
Project 02
Project 02Project 02
Project 02
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
 
งาน Template 5
งาน  Template 5งาน  Template 5
งาน Template 5
 
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
006
006006
006
 
งานท Template 5
งานท   Template 5งานท   Template 5
งานท Template 5
 
ฝึกเขียน
ฝึกเขียนฝึกเขียน
ฝึกเขียน
 
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
 

ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6

  • 2. คานา การจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทยเล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการเสริมทักษะ การเรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความ ซึ่งผ่านการบูรณาการ ความรู้นาไปสู่การเรียนรู้ ด้วย ตนเอง กระตุ้นให้เกิดความสนใจ ความสามารถ ให้พัฒนาทักษะทางภาษาในส่วนของการ อ่านจับใจความเหมาะสมกับวัย และได้ศักยภาพสูงสุด โดยในแบบฝึกทักษะ เล่มนี้ ได้ผ่านการวิเคราะห์เนื้อหา เพื่อเสริมทักษะด้านการ อ่าน เพื่อจับใจความในเรื่องที่อ่าน แล้วสามารถจับประเด็นเรื่องที่อ่านได้ อย่างเหมาะสม ในแบบฝึกจะทาการเสริมถึงเทคนิคการอ่านจับใจความเรื่องต่างๆเช่น การอ่าน หนังสือพิมพ์ การอ่านโฆษณา การอ่านนิยาย การอ่านบทความ และอื่นๆ เพื่อให้นักเรียน สามารถรู้ถึงเทคนิคในการอ่านแบบต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ขอขอบคุณผู้มีส่วนสนับสนุน ให้คาแนะนา คาปรึกษา ในการจัดทา อาทิ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านสะเดาใหญ่ คุณครูรุจิรา เอียดฉิม ครูวิทยฐานะครูชานาญการ พิเศษกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และเพื่อนครูในโรงเรียนที่สนับสนุนและให้กาลังใจ จนทาให้แบบฝึกทักษะเล่มนี้เสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และพัฒนาการอ่านจับใจความได้อย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป อรจิราส์ คมนาคม
  • 3. สารบัญ คานา ก คาชี้แจง ข คาแนะนาในการใช้สาหรับครู ค คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน ง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จ สาระการเรียนรู้ ฉ สารบัญ แบบทดสอบก่อนเรียน ............................................................................. 1 ความรู้เกี่ยวกับการอ่าน ............................................................................ 9 หลักการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ .......................................................... 11 สรุป ......................................................................................................... 12 แบบฝึกชุดที่ 1 เรื่องการอ่านประโยค.......................................................... 17 แบบฝึกที่ 1.................................................................................. 17 แบบฝึกที่ 2.................................................................................. 18 แบบฝึกที่ 3.................................................................................. 19 แบบฝึกที่ 4.................................................................................. 20 แบบฝึกที่ 5.................................................................................. 21 แบบฝึกชุดที่ 2 เรื่องการอ่านบทความ .................................................... 22 แบบฝึกที่ 1.................................................................................. 22 แบบฝึกที่ 2.................................................................................. 23 แบบฝึกที่ 3.................................................................................. 24 แบบฝึกที่ 4.................................................................................. 25 แบบฝึกที่ 5.................................................................................. 26 แบบฝึกชุดที่ 3 เรื่องการอ่านจดหมาย ..................................................... 27
  • 4. แบบฝึกที่ 1................................................................................ 27 แบบฝึกที่ 2............................................................................... . 29 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 30 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 32 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 34 แบบฝึกชุดที่ 4 เรื่องการอ่านบทสัมภาษณ์ .............................................. 36 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 36 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 37 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 38 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 39 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 40 แบบฝึกชุดที่ 5 เรื่องการอ่านนิทาน ........................................................ 41 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 41 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 42 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 43 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 45 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 46 แบบฝึกชุดที่ 6 เรื่องการอ่านเรื่องสั้น ...................................................... 47 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 47 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 49 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 51 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 52 แบบฝึกที่ 5................................................................................ 53 แบบฝึกชุดที่ 7 เรื่องการอ่านคาในพจนานุกรม ....................................... 55 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 55 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 56 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 57
  • 5. แบบฝึกที่ 4................................................................................ 58 แบบฝึกที่ 5................................................................................ 59 แบบฝึกชุดที่ 8 เรื่องการอ่านโฆษณา ...................................................... 60 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 60 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 61 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 62 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 63 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 64 แบบฝึกชุดที่ 9 เรื่องการอ่านหนังสือพิมพ์ .............................................. 65 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 65 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 66 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 68 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 69 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 70 แบบฝึกชุดที่ 10 เรื่องการอ่านคาต่างประเทศ ......................................... 71 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 71 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 72 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 73 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 74 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 75 แบบฝึกชุดที่ 11 เรื่องการอ่านสานวน .................................................... 76 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 76 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 77 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 78 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 79 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 80 แบบฝึกชุดที่ 12 เรื่องการอ่านสุภาษิต .................................................... 81
  • 6. แบบฝึกที่ 1................................................................................ 81 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 82 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 83 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 84 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 85 แบบฝึกชุดที่ 13 เรื่องการอ่านคาพังเพย .................................................. 86 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 86 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 87 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 88 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 89 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 90 แบบฝึกชุดที่ 14 เรื่องการอ่านคาประพันธ์ .............................................. 91 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 91 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 92 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 93 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 94 แบบฝึกที่ 5............................................................................... . 95 แบบฝึกชุดที่ 15 เรื่องการอ่านเพลง ........................................................ 96 แบบฝึกที่ 1................................................................................ 96 แบบฝึกที่ 2................................................................................ 97 แบบฝึกที่ 3................................................................................ 98 แบบฝึกที่ 4................................................................................ 99 แบบฝึกที่ 5................................................................................ 100 แบบทดสอบหลังเรียน ......................................................................................... 101 เฉลยแบบฝึกทักษะ .............................................................................................. 109 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ........................................................... 191 บรรณานุกรม
  • 7. คาชี้แจง แบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในการเตรียมความพร้อมมีรายละเอียดดังนี้ 1. จานวนชุดแบบฝึกเสริมทักษะมีจานวนทั้งหมด 15 ชุด ชุดละ 5 แบบฝึก รวม 75 แบบฝึก 2. แบบฝึกเล่มนี้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง การอ่านจับใจความ ชุดที่ 1 การอ่านประโยค ชุดที่ 2 การอ่านบทความ ชุดที่ 3 การอ่านจดหมาย ชุดที่ 4 อ่านบทสัมภาษณ์ ชุดที่ 5 การอ่านนิทาน ชุดที่ 6 การอ่านเรื่องสั้น ชุดที่ 7 การอ่านคาในพจนานุกรม ชุดที่ 8 การอ่านโฆษณา ชุดที่ 9 การอ่านหนังสือพิมพ์ ชุดที่ 10 การอ่านคาต่างประเทศ ชุดที่ 11 การอ่านสานวน ชุดที่ 12 การอ่านสุภาษิต ชุดที่ 13 การอ่านคาพังเพย ชุดที่ 14 การอ่านคาประพันธ์ ชุดที่ 15 การอ่านเพลง 3. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ มีส่วนประกอบดังนี้ 2.1 ชื่อชุดแบบฝึก 2.2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2.3 สาระการเรียนรู้ 2.4 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
  • 8. 2.5 แบบฝึกเสริมทักษะ 2.6 เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ 2.7 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
  • 9. คาแนะนาในการใช้สาหรับครู 1. แบบฝึกชุดนี้มีจานวนทั้งหมด 15 ชุด ชุดละ 5 แบบฝึก รวม 75 แบบฝึก 2. แบบฝึกเล่มนี้เป็นแบบฝึกเรื่อง การอ่านจับใจความ ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3. ส่วนประกอบของแบบฝึกเล่มนี้ประกอบด้วย 3.1 ชื่อชุดแบบฝึก 3.2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3.3 สาระการเรียนรู้ 3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน 3.5 แบบฝึกเสริมทักษะ 3.5 แบบทดสอบหลังเรียน 3.6 เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ 3.7 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 4. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้แบบฝึกก่อนใช้ทุกชุด 5. เตรียมอุปกรณ์การฝึกล่วงหน้าก่อนสอนทุกครั้ง เช่นชุดฝึกทักษะ แบบทดสอบ แบบสังเกต ให้พร้อมเพื่อสะดวกในการใช้ 6. อธิบายให้นักเรียนทราบถึงความสาคัญของการฝึกแต่ละครั้งเพื่อให้นักเรียน เห็นประโยชน์ที่จะได้รับจากการฝึก
  • 10. คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน 1. แบบฝึกชุดนี้มีจานวนทั้งหมด 15 ชุด ชุดละ 5 แบบฝึก รวม 75 แบบฝึก 2. แบบฝึกเล่มนี้เป็นแบบฝึกเรื่อง การอ่านจับใจความ ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3. ขั้นตอนการใช้แบบฝึก 3.1 ศึกษาทาความเข้าใจ กับจุดประสงค์ของแบบฝึก 3.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3.3 ทาแบบฝึกเสริมทักษะอย่างรอบคอบและตั้งใจ 3.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน 3.5 ร่วมตรวจคาตอบ กับเฉลยในภาคผนวก 3.6 ร่วมตรวจ คาตอบของ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเมื่อเรียน ในแต่ละเรื่องเพื่อวัดความรู้ที่พัฒนาขึ้นในเรื่องนั้นๆ
  • 11. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สามารถอ่านในใจได้รวดเร็วและจับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านได้ 2. สามารถอ่านเรื่องที่กาหนดให้ได้แล้วตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง 3. สามารถทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ และสามารถเป็นผู้นาหรือผู้ตามที่ดีได้ 4. เขียนสรุปใจความเรื่องที่อ่านด้วยข้อความสั้น ๆ ด้วยภาษาที่สละสลวย กะทัดรัดชัดเจน
  • 12. สาระการเรียนรู้ 1. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของประโยค 2. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของบทความ 3. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของจดหมาย 4. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของบทสัมภาษณ์ 5. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของนิทาน 6. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของเรื่องสั้น 7. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาในพจนานุกรม 8. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของโฆษณา 9. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของหนังสือพิมพ์ 10. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาต่างประเทศ 11. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของสานวน 12. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของสุภาษิต 13. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาพังเพย 14. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของคาประพันธ์ 15. การอ่าน จับใจความสรุปประเด็นสาคัญของเพลง
  • 13. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การอ่านจับใจความ คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย × หน้าคาตอบที่ถูกต้อง 1. “ด้วยไทยล้วนหมายรักสามัคคี” ประโยคนี้หมายถึงบุคคลใด ก. นักเรียนไทย ข. คนที่อาศัยแผ่นดินไทย ค. คนไทยทุกคน ง. ข้าราชการไทย 2. “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” เป็นคาพูดของใคร ก. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ข. พระบาทสมเด็จพระราชินี ค. หลวงพ่อคูณ ง. พระพุทธเจ้า อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 3 - 4 ชีวิตจะดีงาม มีความสุข ประเทศจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์ ด้วยปัจจัยที่สาคัญที่สุดคือ การพัฒนาคน ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดี มีความสุข และเป็น ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ การพัฒนาคนก็คือ การศึกษา 3. บทความนี้กล่าวถึงเรื่องใด ก. ชีวิตที่ดี ข. สังคมที่ร่มเย็น ค. การพัฒนาคน ง. การศึกษา 4. จากบทความนี้สิ่งที่จะช่วยพัฒนาคนคืออะไร ก. สังคม ข. การศึกษา ค. ประเทศชาติ ง. ทรัพยากร
  • 14. อ่านจดหมายต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 5 - 6 5. เนื้อความในจดหมายผู้เขียนแสดงความรู้สึกอย่างไร ก. ยินดี ข. ดีใจ ค. เสียใจ ง. แปลกใจ โรงเรียนขุขันธ์วิทยา อ. ขุขันธ์ จ. ศรีสะเกษ 22 มิถุนายน 2550 ใบเตยเพื่อนรัก เราได้รับจดหมายจากเพื่อนเมื่อวานนี้ เราเองรู้สึกดีใจมากที่เพื่อนยังคิดถึงและยัง จาเราได้อยู่ ตั้งแต่พวกเราเรียนจบ ชั้น ป. 6 มาแล้วแยกย้ายกันไปเรียนต่อในที่ต่างๆ กัน ตามความสนใจของแต่ละคน ก็ยังมีเพื่อนๆ บางคนที่ยังติดต่อกันอยู่รวมทั้งเพื่อนด้วย เราเรียนอยู่ที่โรงเรียนขุขันธ์วิทยา ก็มีความสุขดี เราเรียนอยู่ห้องม.1/1 มีเพื่อนรวม ชั้น 40 คนเป็นผู้ชาย 25 ที่เหลือเป็นผู้หญิง การเรียนของที่นี่ค่อนข้างจะหนักเอาการ ครู อาจารย์เข้มงวดมาก แต่ก็สอนสนุกดีทุกคนมีการบ้านทามากทุกวันเลย เพราะฉะนั้นเราจึง ต้องขยันมากขึ้นกว่าอยู่ที่โรงเรียนเดิม ส่วนเพื่อนเรียนอยู่โรงเรียนที่นี่เป็นอย่างไรบ้าง เพื่อนเรียนหนักหรือเปล่า ความเป็นอยู่ที่นี่เป็นอย่างไรบ้างเล่าให้ฟังบ้างนะ สุดท้าย เราขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก จงช่วย ดลบันดาลให้เพื่อนและครอบครัวจงประสบแต่ความสุขความเจริญตลอดไป รักและคิดถึง วิริยะ พากเพียร
  • 15. 6. ประเด็นสาคัญในจดหมายคืออะไร ก. ติดต่อถามข่าวคราว ข. ติดต่อธุรกิจ ค. ติดต่อสมัครงาน ง. ติดต่อโรงเรียน อ่านบทสัมภาษณ์ต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 7 - 8 7. ใจความสาคัญของบทสัมภาษณ์นี้เกี่ยวกับอะไร ก. ผลของการดื่มกาแฟลดน้าหนักไลฟเทค สริมคาเฟ่ ข. วิธีการดื่มกาแฟลดน้าหนักไลฟเทค สริมคาเฟ่ ค. คุณค่าของกาแฟลดน้าหนักไลฟเทค สริมคาเฟ่ ง. วิธีลดน้าหนัก 8. บทสัมภาษณ์นี้สัมภาษณ์ใคร ก. คนอ้วน ข. คนที่มีผิวพรรณดี ค. ผู้ที่ดื่มกาแฟไลฟเทค สริมคาเฟ่ ง. ถูกทุกข้อ เป็นคนที่มีน้าหนักมาก ไปไหนก็มีแต่คนบอกว่าอ้วน จึงลองดื่มกาแฟเพื่อ การลดน้าหนักดู ก็ลองมาหลายสูตรนะคะ แต่ก็ไม่ได้ผล มีเพื่อนบอกให้ลองดื่ม กาแฟเพื่อการลดน้าหนักของ ไลฟเทค สริมคาเฟ่ ก็เลยลองซื้อมาดื่มดูคะ ดื่มทุก วันเช้า 1 แก้ว เย็น 1 แก้ว ทุกวัน แรกๆ ก็ไม่ค่อยเชื่อหรอกคะว่าจะลดนาหนักได้ แต่พอดื่มได้ประมาณ 1-2 เดือนก็เริ่มเห็นผลคะ ดิฉันมีผิวพรรณที่ดูสดใสขึ้น กล้ามเนื้อดูกระชับ และน้าหนักเริ่มลดลง ทุกวันนี้ดิฉันมีรูปร่างที่สมส่วน ผิวพรรณสดใสดูอ่อนกว่าวัย ต้องขอบคุณ ไลฟเทค สริมคาเฟ่ ค่ะ ที่ทาให้ดิฉันดูดี ขึ้นอย่างทุกวันนี้ สัมภาษณ์จากผู้ที่ดื่มกาแฟ ไลฟเทค สริมคาเฟ่
  • 16. อ่านนิทานต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 9 - 10 9. แพะหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ไหน ก. ในป่า ข. ในหลุมหลบภัย ค. ในกระท่อม ง. ใต้ต้นองุ่น 10. เพราะเหตุใดแพะจึงสมควรตาย ก. เพราะแพะกินผลองุ่น ข. เพราะแพะกินต้นองุ่น ค. เพราะแพะไม่รู้บุญคุณของต้นองุ่น ง. ถูกทุกข้อ อ่านเรื่องสั้นต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม 11-12 แพะกับผลองุ่น มีแพะตัวหนึ่งหนีการไล่ล่าของนายพรานเข้าไปหลบซ่อนตัวอยู่ใต้ต้นองุ่น จนเมื่อมันแน่ใจว่าพ้นจากอันตรายแล้ว มันก็ยกร่างขึ้นแล้วเริ่มกินผลองุ่นรวมทั้งใบของต้น องุ่นที่มันเข้ามาอาศัยหลบภัยอยู่นั้นเอง ส่วนนายพรานที่อยู่ไม่ไกลนักได้ยินเสียงใบไม้ไหวจึง หวนกลับมาพบว่าแพะกาลังกินองุ่นอยู่ก็ยิงแพะจนถึงแก่ความตายการกระทาของนายพรานใน ครั้งนี้นับว่าสมควรที่แพะผู้ลาเลิกบุญคุณต่อต้นองุ่นควรได้รับเป็นอย่างยิ่ง เช้าวันเสาร์ แม่ชวนปิ่นกับป่านไปเก็บผักที่ท้องนา ก่อนไปแม่เตือนปิ่นกับ ป่านว่า เดินไปนะอย่าวิ่ง แต่ปิ่นไม่ฟังแอบกระซิบชวนป่านว่า ป่านเราวิ่งแข่งกันไป เก็บดอกไม้กันไหมล่ะ ป่านบอกว่า ไม่หรอกพี่ แม่ไม่ให้วิ่ง ดังนั้นปิ่นจึงวิ่งไปตาม ลาพัง เพื่อเก็บดอกไม้และจับผีเสื้อ และแมลงที่กาลังบินตอมเกสรดอกไม้ ส่วนป่าน เดินข้ามคลองเล็กๆไป โดยมีไม้ไผ่เป็นทางข้าม แต่ปิ่นรีบร้อนและไม่ได้ระมัดระวัง การข้ามสะพาน ทันใดนั้น ป่านก็ได้ยินเสียงร้องว่า “โอ๊ย |ช่วยด้วย แล้วร่างของปิ่นก็ ตกลงไปในน้า แม่รีบวิ่งมาช่วยไว้ทันและสอนปิ่นว่าทีหลังอย่าประมาท เพราะอาจ ทาให้เสียชีวิตได้
  • 17. 11. แม่ชวนปิ่นกับป่านไปทาอะไร ก. เก็บดอกไม้ ข. เก็บผัก ค. จับแมลง ง. จับปลา 12. เพราะเหตุใดปิ่นจึงตกลงไปในน้า ก. เพราะป่านผลักลงไป ข. เพราะกระโดดข้ามสะพาน ค. เพราะรีบร้อนไม่ระวัง ง. ไม่มีข้อถูก 13. “อดีต” หมายถึงข้อใด ก. เก่าแก่ ข. เวลาที่ล่วงเลยมาแล้ว ค. สิ่งที่ยังมาไม่ถึง ง. ระลึกได้ 14. “ประเสริฐ” หมายถึงข้อใด ก. เลิศ ,วิเศษ ดีที่สุด ข. ชื่อของบุคคล ค. ของมีค่า ง. คุณค่า อ่านโฆษณาต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 15 - 16 15. สินค้าที่ต้องการโฆษณาคืออะไร ก. ระบบโทรศัพท์จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ ข. จานดาวเทียม ดีทีวี ค. ซิมเบอร์สวยจากจีเอสเอ็ม แอดวานซ์ ง. ถูกทุกข้อ ดู ดีทีวี 1,925 บาท พร้อมโทรฟรีกับจีเอสเอ็ม แอดวานซ์ ซื้อจานดาวเทียม ดีทีวี ช่องจุใจไม่มีรายเดือน แถมได้ ซิมเบอร์สวย ค่าโทรฟรีและอีกมากมาย รวม 1,345 บาท จาก จีเอสเอ็ม แอดวานซ์
  • 18. 16. ถ้าติดตั้งจานดาวเทียม ดีทีวี จะได้รับสิทธิพิเศษอะไร ก. ได้โทรฟรีกับจีเอสเอ็ม แอดวานซ์ ข. ได้ซิมโทรศัพท์ฟรี ค. ได้ซิมโทรศัพท์และค่าโทรฟรี ง. ได้เงิน 1,354 บาท อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 17 - 18 17. ในข้อความนี้นาเสนอข่าวเกี่ยวกับอะไร ก. การสร้างเขื่อนปากมูล ข. การผลิตไฟฟ้า ค. การเยี่ยมชมเขื่อนปากมูล ง. การยุติการสร้างเขื่อน 18. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. เขื่อนปากมูลสร้างไปแล้ว 50 % ข. เขื่อนปากมูลจะสร้างเสร็จในเดือนพฤศจิกายน ค. คณะสื่อมวลชนไปเยี่ยมชมเขื่อนปากมูล ง. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตพาคณะสื่อมวลชนไปประท้วงที่เขื่อนปากมูล เมื่อสุดสัปดาห์ที่แล้วการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้พาคณะสื่อมวลชล จากส่วนกลางไปเยี่ยมชมความคืบหน้าของการสร้างเขื่อนปากมูล ก็ได้พบว่าการ ก่อสร้างได้กระทาไปประมาณ 50% และคาดว่าจะแล้วเสร็จตามกาหนดในเดือน พฤศจิกายนที่จะถึงนี้ (หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ)
  • 19. 19. คาว่า “พาสเวิร์ด” หมายถึงอะไร ก. รหัสผ่าน ข. รหัสยืนยัน ค. รหัสคอมพิวเตอร์ ง. รหัสประชาชน 20. คาว่า “คอนเฟริม” หมายถึงอะไร ก. ฟันธง ข. ยืนยัน ค. ทานาย ง. ไม่มีข้อถูก 21. สานวนที่ว่า “ปอกกล้วยเข้าปาก” หมายความว่าอย่างไร ก. การทาในสิ่งที่ง่ายมาก ข. ปอกกล้วยรับประทาน ค. ปอกกล้วยแล้วทางาน ง. ถูกทุกข้อ 22. สานวนที่ว่า “ฝนทั่งให้เป็นเข็ม” หมายความว่าอย่างไร ก. ตีเหล็กให้เป็นเข็ม ข. ใช้ความพยายามเต็มกาลังไม่ท้อถอย ค. ทาความดีไม่มีใครเห็น ง. ตั้งใจทางานเพียงลาพัง 23. “คนที่มีฐานะต่าต้อย พอได้ดีก็จะแสดงกิริยาอวดดีจนลืมตัว” ประโยคนี้ตรงกับสุภาษิตข้อใด ก. คางคกขึ้นวอ ข. วัวลืมตีน ค. กิ้งก่าได้ทอง ง. ถูกทุกข้อ 24. สุภาษิตที่ว่า “ราไม่ดี โทษปี่โทษกลอง” หมายความว่าอย่างไร ก. ราไม่สวยแล้วโทษกลอง ข. ทาผิดแล้วไม่ยอมรับกลับโทษผู้อื่น ค. ทาผิดแล้วโทษกลอง ง. ไม่กล้าราเพราะไม่มีกลอง
  • 20. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 25 - 26 25. ข้อความนี้ตรงกับคาพังเพยใด ก. น้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า ข. บัวไม่ให้ช้า น้าไม่ให้ขุ่น ค. ขมิ้นกับปูน ง. ขิงก็รา ข่าก็แรง 26. ถ้าป้าแช่มกับป้าชื่นทะเลาะกันทุกวันต่างคนต่างไม่ยอมกัน ตรงกับคาพังเพยใด ก. น้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า ข. บัวไม่ให้ช้า น้าไม่ให้ขุ่น ค. ขมิ้นกับปูน ง. ขิงก็รา ข่าก็แรง อ่านคาประพันธ์ต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 27 - 28 27. คาประพันธ์นี้ต้องการกล่าวถึงสิ่งใดเป็นสาคัญ ก. ทะเล ข. ลมพายุ ค. ความโกรธ ง. เกลียวคลื่น 28. คาประพันธ์กล่าวถึงความโกรธเหมือนสิ่งใด ก. พายุ ข. คลื่นซัดฝั่ง ค. ทะเลที่กาลังมีพายุ ง. ถูกทุกข้อ ความโกรธนั้นมันเหมือนทะเลบ้า คลื่นซัดซ่าสาดโครมโหมถลา ลมกระหน่าซ้าคลื่นครืนครืนมา เหมือนอุราพลุ่งโชติเพราะโกรธครัน ป้าแช่มกับป้าชื่นอยู่บ้านติดกัน ทั้งสองครอบครัว มีความรักใคร่กลมเกลียวกัน มีอะไรต่างช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน
  • 21. อ่านเพลงต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 29 - 30 29. ข้อใดเป็นประเด็นสาคัญของบทเพลงนี้ ก. ความรักชาติ ข. ความสละเลือดเพื่อชาติ ค. ความรักสงบ ง. ความมีเกียรติที่เป็นคนไทย 30. ข้อใดที่ไม่ได้กล่าวถึงในบทเพลงนี้ ก. ความรักสงบของชาติไทย ข. ความเป็นเอกราชของชาติไทย ค. ความเสียสละเพื่อชาติไทย ง. ความขี้ขลาดของคนไทย ไทยนี้รักสงบ แต่ถึงรบไม่ขลาด เอกราชจะไม่ให้ใครข่มขี่ สละเลือดทุกหยาดเป็นชาติพลี เถลิงประเทศชาติไทย ทวีมีชัยไชโย ขอให้ตั้งใจทา ให้ได้คะแนนเยอะๆ นะคะ
  • 22. ความรู้เกี่ยวกับการอ่าน การอ่านจับใจความสาคัญ การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ หมายถึง การอ่านเพื่อเก็บสาระสาคัญของเรื่องที่อ่าน เช่น เก็บจุดมุ่งหมายสาคัญของเรื่อง เก็บเนื้อเรื่องที่สาคัญ เก็บความรู้หรือข้อมูลที่น่าสนใจ ตลอดจนแนวความคิดหรือทัศนะของผู้เขียน ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความสาคัญและเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อ หน้าที่สามารถครอบคลุ มเนื้อความในประโยคอื่นๆ ในย่อหน้านั้น หรือเป็นประโยคที่ สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนื้อความของประโยคอื่นออกหมด หรือ สามารถเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยวๆ ได้ โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ในแต่ละ ย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ประโยค ลักษณะของใจความสาคัญ ใจความสาคัญมีลักษณะ ดังนี้ 1. ใจความสาคัญเป็นข้อความที่ทาหน้าที่คลุมใจความของข้อความอื่นๆ ในตอน นั้นๆ ได้หมด ข้อความนอกนั้นเป็นเพียงรายละเอียดหรือส่วนขยายใจความสาคัญเท่านั้น 2. ใจความสาคัญของข้อความหนึ่งๆ หรือย่อหน้าหนึ่ งๆ ส่วนมากจะมีเพียง ประการเดียว 3. ใจความสาคัญส่วนมากมีลักษณะเป็นประโยค อาจจะเป็นประโยคเดียวหรือ ประโยคซ้อนก็ได้ แต่ในบางกรณี ใจความสาคัญไม่ปรากฏเป็นประโยค เป็นเพียงใจความ ที่แฝงอยู่ในข้อความตอนนั้นๆ 4. ใจความสาคัญที่มีลักษณะเป็นประโยคส่วนมากจะปรากฏอยู่ต้นข้อความ การพิจารณาใจความสาคัญ ใจความสาคัญจะปรากฏอยู่ในตาแหน่งของข้อความดังต่อไปนี้ 1. ใจความสาคัญที่ปรากฏอยู่ในแต่ละย่อหน้า ดังนี้
  • 23. 1.1 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งต้นของย่อหน้าและมีรายละเอียดวางอยู่ใน ตาแหน่งถัดไป 1.2 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งท้ายของย่อหน้า โดยกล่าวถึงรายละเอียด ต่างๆ อย่างคลุมๆ ไว้ก่อนในตอนต้น 1.3 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งต้นและท้ายย่อหน้า มีรายละเอียดอยู่ตรง กลาง 1.4 ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งกลางย่อหน้า มีรายละเอียดอยู่ตอนต้นกับ ตอนท้าย 2. อ่านจับใจความสาคัญที่ปรากฏรวมอยู่ในหลายๆ ย่อหน้า การอ่านเพื่อจับ ใจความสาคัญแบบนี้ มีหลักสาคัญของการปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนดังนี้ 2.1 อ่านอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ 2.2 อ่านให้ละเอียด 2.3 อ่านแล้วถามตัวเองว่า เรื่องนี้มีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไม อนึ่ง การตั้งคาถามไม่จาเป็นต้องเหมือนกันทั้งหมด อาจจะต้องเปลี่ยนไปตาม เงื่อนไขของงานเขียน เช่น เรื่องอะไร ใครเป็นผู้เขียน ความว่าอย่างไร 3. รวบรวมคาตอบจากข้อ 2.3 มาเรียบเรียงให้สละสลวย และมีความเหมาะสม ตามลาดับความสาคัญของเนื้อความ วิธีการจับใจความสาคัญ วิธีจับใจความสาคัญหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับความชอบว่าจะทาอย่างไร เช่น ขีดเส้นใต้ หรือตีเส้นล้อมกรอบข้อความสาคัญ การใช้สีต่างๆ กันแสดงความสาคัญมากน้อยของ ข้อความ การทาบันทึกย่อก็เป็นขบวนการส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสาคัญที่ดีและ ได้ผล แต่ผู้อ่านควรย่อด้วยภาษาและสานวนของตนเอง ไม่ควรย่อด้วยการตัดเอา ความสาคัญมาเรียงต่อกัน เพราะวิธีนี้อาจทาให้ผู้อ่านพลาดสาระสาคัญบางตอนไป อันเป็น เหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้
  • 24. หลักการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ 1. อ่านจากบนลงล่างแทนการอ่านจากซ้ายไปขวาทีละตัว 2. อย่าอ่านทุกตัวอักษร เพราะจะทาให้อ่านได้ช้า 3. ฝึกกวาดสายตาเป็นห้วงๆเพื่อจะได้อ่านได้ทีละประโยคๆซึ่งจะช่วยให้อ่านได้ รวดเร็ว 4. พยายามเก็บความของแต่ละคน เมื่ออ่านจบตอนหนึ่งแล้ว โดยรู้จักแยกใจความ สาคัญและใจความที่นามาประกอบในแต่ละข้อความออกจากกันให้ได้ 5. ขณะที่อ่านต้องนึกไว้เสมอว่าเรื่องที่กาลังอ่านอยู่นั้นเป็นเรื่องอะไร มี จุดมุ่งหมายเพื่ออะไร เมื่ออ่านจบแล้วจะได้ตอบปัญหาที่ตั้งไว้ได้ 6. พยายามให้ความสนใจในสิ่งที่ต้องการเพียงอย่างเดียว เมื่อต้องการจะอ่าน เพื่อ ตอบปัญหา หรือจับใจความก็ไม่ควรพะวงอยู่กับเรื่องหลักภาษาหรือเรื่องราวอื่นๆ ที่ไม่อยู่ ในความต้องการ 7. อย่าพยายามอ่านซ้าเพราะจะทาให้เสียเวลา ในบางครั้งเราอาจจะได้ทราบ ความหมายจากประโยคถัดไปได้ 8. ฝึกอ่านอย่างสม่าเสมอ อ่านหนังสือหลายๆ ประเภท เพื่อให้เกิดความชานาญ ในการอ่านใดๆ ก็ตามจุดมุ่งหมายเพื่อจับใจความสาคัญของข้อความที่ได้อ่าน ดังนั้น ถ้ารู้จักสังเกตประโยคที่เป็นใจความสาคัญของข้อความแต่ละข้อความ และรู้จักแยก ใจความหลักออกจากใจความรองได้ ก็จะทาให้เราเข้าใจในสิ่งที่อ่านได้อย่างถูกต้องและ รวดเร็ว
  • 25. 1. อ่านเนื้อเรื่องทั้งหมด และจับประเด็นสาคัญ 2. ทบทวนโดยตั้งคาถามในใจว่าเรื่องที่อ่าน นั้นมีใครทาอะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม เมื่อไร 3. เขียนข้อความที่มีความสัมพันธ์อย่างสั้น ๆ ด้วยภาษาที่ สละสลวย กะทัดรัด และชัดเจน สรุป
  • 26. เช้าวันรุ่งขึ้น เสียงไก่ขัน เอ้ก ! อี้ ! เอ้ก ! เอ้ก ! ฉันและน้องตื่นขึ้นแล้วชวน กันไปอาบน้า พอแต่งตัวเสร็จก็ออกไปวิ่งเล่นที่สนามหญ้าหน้าบ้าน ฉันพบเห็ดดอก หนึ่ง กาลังบาน มีขนาดใหญ่มาก ฉันกับน้องยืนดูด้วยความสนใจ คุณน้าซึ่งตื่นเช้า เช่นกันรีบเดินเข้ามา ห้ามฉันและน้องแตะต้องเพราะอาจเป็นเห็ดพิษ ประเด็นสาคัญของข้อความนี้ คือ เห็ดที่พบ อาจเป็นเห็ดมีพิษ ถ้า อ่านแล้วเข้าใจและค้นพบประเด็น สาคัญพบ ก็ถือได้ว่า อ่านเป็น ข้อความที่ 1 ตัวอย่างการอ่านเพื่อจับใจความ
  • 27. คนเราแม้ชาติกาเนิดจะเป็นเช่นไรก็ไม่สาคัญ ถ้าเป็น คนขยัน หมั่นเพียรคิดทาได้สิ่งที่ถูกที่ควรด้วยสติสัมปชัญญะ และปัญญาแบบพุทธแล้ว ย่อมสาม ารถนาตนไปสู่ที่ที่ดีได้ ทั้งยังสามารถทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมได้เป็นอักมาก ประเด็นสาคัญของข้อความนี้ คือ ถ้าเป็นคนขยันและมีสติสัมปชัญญะ ก็สามารถพาตัวเองไปพบเจอแต่สิ่งดี ๆ และยังช่วยเหลือสังคมได้ ข้อความที่ 2
  • 28. นกกระเรียน ห่าน และเหยี่ยว (ตอนที่ ๑) นกกระเรียนตัวหนึ่งบินมาถึงสระแห่งหนึ่ง เห็นห่านดาผุดดาว่ายอยู่ใน สระ จึงถามว่ากาลังทาอะไร ห่านจึงอธิบายให้ฟังว่า “นี่เป็นวิธีหาอาหารในน้า ของพวกเรา และเมื่อมีภัยอันตรายเราก็สามารถดาน้าหนีได้” (ตอนที่ ๒) “ขอเพียงเจ้ามาเป็นเพื่อนของเราเท่านั้น ต่อไปก็ไม่ต้องมัวดาผุดดาว่าย ให้เสียเวลา ” นกกระเรียนให้คาแนะนา “ขึ้นมาหาอาหารบนบกสบายกว่า ส่วนภัยอันตรายนั้น ด้วยร่างกายที่แข็งแรงของเราขอรับรองว่าจะคอยคุ้มครอง ให้เจ้าเอง” (ตอนที่ ๓) ห่านหลงเชื่อที่นกกระเรียนกล่าว จึงขึ้นมาหาอาห ารบนบกกับนก กระเรียน อยู่ต่อมาไม่นานเหยี่ยวตัวหนึ่งออกหาเหยื่อเห็นห่านหากินอยู่บนบก จึงโฉบลงมาจับตัวได้โดยง่าย ห่านตะโกนส่งเสียงร้องเรียกนกกระเรียนช่วย แต่ปรากฏว่านกกระเรียนบินเตลิดหนีไปนานแล้ว ตอนที่ ๑ คือ นกกระเรียนเห็นห่านดาผุดดาว่ายอยู่ในสระ ตอนที่ ๒ คือ นกกระเรียนชวนห่านให้ขึ้นมาหาอาหารบนบก ตอนที่ ๓ คือ ห่านหลงเชื่อขึ้นมาหากินบนบก จึงถูกเหยี่ยวจับกินส่วนนก กระเรียนบินหนีไป สรุปใจความสาคัญ นกกระเรียนเห็นห่านดาผุดดาว่ายอยู่ในสระจึงชวนห่านให้ขึ้นมาหากิน บนบก ห่านหลงเชื่อขึ้นมาหากินบนบก จึงถูกเหยี่ยวจับกินส่วนนกกระเรียน บินหนีไป ข้อความที่ 3
  • 29. ตัวอย่างการถอดความเป็นร้อยแก้ว ความเอ๋ยความแก่ เป็นเพื่อนตายแท้ความตายไม่หน่ายหนี เมื่อความแก่ล่วงกาลมานานปี ก็มอบเวรหน้าที่ให้ความตาย ไม่ยกเว้นใครใครไม่ลาเอียง มิให้ใครหลีกเลี่ยงหรือเถียงได้ เพราะฉะนั้นเราท่านทั้งหญิงชาย รีบทาดีก่อนตายให้มากเอย (สิริวยาส) อ่านบทประพันธ์ต่อไปนี้ ความแก่กับความตายเป็นของคู่กัน เมื่อแก่แล้วก็ต้องตาย ไม่มีใคร หลบหนีหรือหลีกเลี่ยงได้พ้น เพราะฉะนั้นตอนยังมีชีวิตอยู่เราทุกคนควร รีบทาความดีไว้ให้มาก ข้อความที่ 4
  • 30. แบบฝึกที่ 1 เรื่องการอ่านประโยค ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของประโยค “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... ...................................................................................................... .......... ชื่อ.................................นามสกุล...........................เลขที่..............ชั้น.............
  • 31. แบบฝึกที่ 2 1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด ................................................................................................................... 2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “อโรคยา ปรมา ลาภา” หมายถึงอะไร ................................................................................................................... 3. นักเรียนคิดว่าระหว่างการมีสุขภาพดีกับการร่ารวยเงินทองสิ่งใดเป็นความสุขที่ แท้จริงเพราะเหตุใด ................................................................................................................... ................................................................................................................... 4. การมีสุขภาพดีไม่มีโรค ความสุขนี้ประกอบด้วยอะไรบ้าง ................................................................................................................... 5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้ ................................................................................................................... ................................................................................................................... ชื่อ...............................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น............. “อโรคยา ปรมา ลาภา” การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ การมีสุขภาพดี ไม่มีโรคจึงเป็นความสุข ซึ่งความสุขนี้ประกอบด้วย สุขกาย สุขใจ และสุขทางสังคม ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ
  • 32. ให้นักเรียนอ่านประโยคที่กาหนดให้แล้วอ่านคาถามและทาเครื่องหมาย  หน้าคาตอบที่ถูก คนที่พูดแต่ความจริง โดยเอาความสัตย์เป็นที่ตั้ง ปราศจากความ ครั่น คร้ามต่าง ๆ จึงมีความสุข ประโยคนี้ได้กล่าวถึง ผลของการพูดความจริง วิธีพูดความจริง ประโยคนี้พอสรุปได้ว่า พูดความจริงแล้วมีความสุข พูดความจริงแล้วคนจะทาตาม ประโยคนี้สอดคล้องกับสานวนใด ปลาหมอตายเพราะปาก พูดดีเป็นศรีแก่ตัว อ่านประโยคนี้แล้ว นักเรียนควรปฏิบัติ ตัวอย่างไร พูดแต่ความจริง พูดอย่างมีความสุข คาว่า “ครั่นคร้าม” มีความหมายว่า อย่างไร ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น............. ความประมาท ความหวาดกลัว แบบฝึกที่ 3
  • 33. แบบฝึกที่ 4 1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด ................................................................................................................... 2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “ฟุ้งซ่าน” หมายความว่าอะไร ................................................................................................................... 3. นักเรียนคิดว่าสาเหตุของการนอนไม่หลับเพราะเหตุใด ................................................................................................................... ................................................................................................................... 4. คาว่า “โรคภัยไข้เจ็บ” หมายถึงอะไร ................................................................................................................... 5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้ ................................................................................................................... ................................................................................................................... “สาเหตุของการนอนไม่หลับโดยมากไม่ใช่โรคภัยไข้เจ็บ แต่เป็น เพราะฟุ้งซ่านและความเคยชิน” ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
  • 34. แบบฝึกที่ 5 “อันตรายของการฉีดยามีมากมาย จึงควรหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะ เมื่อป่วย ด้วยโรคที่ไม่ร้ายแรง เช่น ไข้หวัด คออักเสบ ท้องเสีย ฯลฯ” 1. ใจความสาคัญของประโยคนี้คืออะไร ................................................................................................................... 2. นักเรียนคิดว่าควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาเมื่อใด ................................................................................................................... 3. ในประโยคนี้เพราะเหตุใดจึงควรหลีกเลี่ยงการฉีดยา ................................................................................................................... ................................................................................................................... 4. คาว่า “โรคไม่ร้ายแรง” ได้แก่โรคอะไรบ้าง ................................................................................................................... 5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้ ................................................................................................................... ................................................................................................................... ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
  • 35. เรื่องการอ่านบทความ ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของบทความ สาหรับเห็ดที่กินได้ทั่วไปนั้น จะเป็นอาหารที่มีไขมันต่า และไม่มีคอเลสเตอรอล มี เกลือโซเดียมน้อยแต่มีแร่ธาตุสูง เช่น โปแตสเซียมซึ่งช่วยลดความดันโลหิต และซีลีเนียม ซึ่งเป็นตัวสารต้านมะเร็ง รวมทั้งยังมีวิตามินต่างๆ โดยเฉพาะวิตามินบี ในเห็ดยังมีกรดอะ มิโนต่างๆ ที่ร่างกาย ต้องการในปริมาณพอสมควร และมีกรดอะมิโนกลูตามิกที่ช่วยให้ เจริญอาหารอยู่ด้วย จึงทาให้ประสาทรับรู้รสอาหารทางานได้ดี นอกจากนั้นยังถือว่าเห็ด เป็นอาหารพื้นบ้านที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรที่มีรสหวาน ซึ่งจะช่วยทาให้ชุ่มชื่น บารุง กาลัง แก้อ่อนเพลียได้อีกด้วย ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น............. สรุปประเด็นสาคัญ ………………………………………………………………………...................... ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… . แบบฝึกที่ 1
  • 36. ผึ้งเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่มีขา 6 ขา ตัวโตประมาณนิ้วก้อย แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนหัว หน้าอก และท้อง มีงวงไว้สาหรับดูดน้าหวานมีตาขนาดใหญ่อยู่ข้างหัวข้าง ละตาและมีตาเล็ก ๆ อีก 3 ตาอยู่บนหัว มีหนวดเล็ก ๆ ทั้งหมด 4 เส้นด้วยกัน อาหารของผึ้งคือน้าหวานของดอกไม้ ผึ้งจะมีเหล็กในที่ก้น เพื่อใช้เป็นเครื่อง ต่อสู้ป้องกันตัว ในรังของผึ้งแต่ละรังจะมีผึ้ง 3 ชนิด คือ ผึ้งนางพญา ซึ่งมีเพียงตัว เดียว ผึ้งตัวผู้และผึ้งตัวเมีย มนุษย์ได้รับประโยชน์จากผึ้งลายอย่าง คือ ได้น้าผึ้ง และรังอ่อน ตัวอ่อนของ ผึ้ง ได้ขี้ผึ้งมาใช้เป็นยา แบบฝึกที่ 2 ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วตอบคาถาม ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น............. 1. ผึ้งเป็นสัตว์ประเภทใด...................................................................... 2. ผึ้งมีตาทั้งหมดกี่ตาและอยู่บริเวณใดบ้าง.......................................... ................................................................................................................ 3. อาหารของผึ้งคืออะไร....................................................................... 4. ในรังของผึ้งมีผึ้งกี่ชนิดได้แก่อะไรบ้าง............................................. ................................................................................................................ 5. อวัยวะใดที่ผึ้งใช้ดูดน้าหวาน.............................................................
  • 37. ให้นักเรียนอ่านบทความที่กาหนดให้แล้วทาเครื่องหมาย  หรือ  ลงในช่องว่าง ....................... มะนาว มีสรรพคุณทางยา คือ ขับเสมหะ ช่วยระบาย ....................... สะตอ ขนุนอ่อน มีสรรพคุณทางยา คือ แก้ร้อนใน ....................... เตยหอม มีสรรพคุณทางยา คือ บารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย ....................... ผักโขม มะระขี้นก มีสรรพคุณทางยา คือ บารุงหัวใจ ....................... กระเทียม ขิง ข่า มีสรรพคุณทางยา คือ แก้ท้องอืด ขับลม ผักพื้นบ้าน คือ พรรณพืชพื้นบ้านในท้องถิ่น ชาวบ้านนามาบริโภคเป็น อาหาร เป็นยารักษาโรค ซึ่งมีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร เนื่องจากมีรสยาที่ หลากหลายอยู่ในผักพื้นบ้าน เช่น - แก้ท้องอืด แก้ลมจุกเสียด ขับลม เช่น กระเทียม พริกไทย ขิง ข่า ฯลฯ - ขับเสมหะ ช่วยระบาย เช่น ยอดมะขามอ่อน มะนาว ฯลฯ - บารุงโลหิต เช่น มะระขี้นก ผักโขม สะเดา ฯลฯ - บารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย เช่น เตยหอม โสน ฯลฯ - บารุงเส้นเอ็น เป็นยาอายุวัฒนะ เช่น สะตอ ขนุนอ่อน ฟักทอง กระถิน ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น............. แบบฝึกที่ 3
  • 38. ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของบทความ รถม้านับเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของเมืองลาปาง มีครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2458 โดยอพยพมาจากพระนครหลวงหลังจากที่เกิดมี รถยนต์วิ่งกันขวักไขว่ การใช้รถม้าในปัจจุบันของนครลาปางส่วนใหญ่ ใช้เป็นพาหนะนานักท่องเที่ยวชมรอบเมืองกับรถรับจ้างและผู้ขับขี่เองก็ ต้องมีใบอนุญาตขับขี่ด้วย ส่วนม้าต้องใช้วัสดุสีดาเป็นที่กาบังตาทั้งสอง ข้าง เพื่อไม่ให้ม้ามองเห็นสิ่งรอบข้าง ให้มองเห็นเพียงท้องถนนเท่านั้น สรุปประเด็นสาคัญ ………………………………………………………………………...................... ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… . ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น............. แบบฝึกที่ 4
  • 40. ให้นักเรียนอ่านเรื่องต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ชีวิตจะดีงาม มีความสุข ประเทศจะรุ่งเรืองมั่นคง และสังคมจะร่มเย็นเกษมศานต์ ด้วยปัจจัยที่สาคัญที่สุดคือ การพัฒนาคน ซึ่งจะทาให้คนเป็นคนดี มีความสุข และเป็น ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ การพัฒนาคนก็คือ การศึกษา คนที่มีการศึกษาตลอด จบการศึกษาแล้วเรียกว่า บัณฑิต ในประเพณีไทยโบราณ เรียกคนที่บวชเรียนแล้วว่า “ฑิต” (ตามปกตินิยมเขียนเป็นคาชาวบ้านว่า “ทิด”) ปัจจุบัน เรียกคนที่จบการศึกษาปริญญาตรีแล้วว่าเป็น “บัณฑิต” เมื่อว่าโดยเนื้อหาสาระ บัณฑิตก็ คือ คนที่ดาเนินชีวิตด้วยปัญญาเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท พัฒนาชีวิตของตนจนลุถึง ประโยชน์ที่เป็นจุดหมายของชีวิต (จาก พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคมของกรมศาสนา) คาถาม 1. นักเรียนคิดว่า “การศึกษา” จะช่วยพัฒนาคนได้อย่างไรบ้าง ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ 2. บัณฑิต หมายถึงอะไร ............................................................................................................................... 3. นักเรียนได้ข้อคิดอะไรจากเรื่องนี้บ้าง ................................................................................................................................ .............................................................................................................................. ชื่อ.................................นามสกุล...............................เลขที่..............ชั้น.............
  • 42. เฉลยแบบฝึกที่ 1 เรื่องการอ่านประโยค ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของประโยค “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน .................................................................................................... .................................................................................................... .................................................................................................... อยู่ในดุลพินิจของครู .................................................................................................... .................................................................................................... .................................................................................................... ............
  • 43. เฉลยแบบฝึกที่ 2 ให้นักเรียนอ่านประโยคแล้วตอบคาถาม สุขภาพดีไม่มีโรค การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ สุขกาย สุขใจ และสุขทางสังคม อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน “อโรคยา ปรมา ลาภา” การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ การมีสุขภาพดี ไม่มีโรคจึงเป็นความสุข ซึ่งความสุขนี้ประกอบด้วย 1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด ................................................................................................................... 2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “อโรคยา ปรมา ลาภา” หมายถึงอะไร ................................................................................................................... 3. นักเรียนคิดว่าระหว่างการมีสุขภาพดีกับการร่ารวยเงินทองสิ่งใดเป็นความสุขที่แท้จริง เพราะเหตุใด.................................................................................................................... 4. การมีสุขภาพดีไม่มีโรค ความสุขนี้ประกอบด้วยอะไรบ้าง .....................................สุขกาย สุขใจ และสุขทางสังคม......................... 5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้ ................................................................................................................... ..................................................................................................................
  • 44. คนที่พูดแต่ความจริง โดยเอาความสัตย์เป็นที่ตั้ง ปราศจากความ ครั่นคร้ามต่าง ๆ จึงมีความสุข          เฉลยแบบฝึกที่ 3 ให้นักเรียนอ่านประโยคที่กาหนดให้แล้วอ่านคาถามและทาเครื่องหมาย  หน้าคาตอบที่ถูก ประโยคนี้ได้กล่าวถึง ผลของการพูดความจริง วิธีพูดความจริง ประโยคนี้พอสรุปได้ว่า พูดความจริงแล้วมีความสุข พูดความจริงแล้วคนจะทาตาม ประโยคนี้สอดคล้องกับสานวนใด ปลาหมอตายเพราะปาก พูดดีเป็นศรีแก่ตัว อ่านประโยคนี้แล้ว นักเรียนควร ปฏิบัติตัวอย่างไร พูดแต่ความจริง พูดอย่างมีความสุข คาว่า “ครั่นคร้าม” มีความหมายว่า อย่างไร ความประมาท  ความหวาดกลัว
  • 45. เฉลยแบบฝึกที่ 4 1. ประโยคนี้กล่าวถึงเรื่องใด ................................................................................................................... 2. นักเรียนคิดว่า คาว่า “ฟุ้งซ่าน” หมายความว่าอะไร ................................................................................................................... 3. นักเรียนคิดว่าสาเหตุของการนอนไม่หลับเพราะเหตุใด ................................................................................................................... ................................................................................................................... 4. คาว่า “โรคภัยไข้เจ็บ” หมายถึงอะไร ................................................................................................................... 5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้ ................................................................................................................... ............................................................................................................... “สาเหตุของการนอนไม่หลับโดยมากไม่ใช่โรคภัยไข้เจ็บ แต่เป็น เพราะฟุ้งซ่านและความเคยชิน” ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ สาเหตุของการนอนไม่หลับ ไม่สงบ กระวนกระวาย เพราะฟุ้งซ่านและความเคยชิน เจ็บป่วยไม่สบาย สาเหตุของการนอนไม่หลับของคนเรามาจากความฟุ้งซ่าน และความ เคยชินมากกว่า ไม่ใช่เกิดจากอาการเจ็บป่วยไม่สบาย
  • 46. เฉลยแบบฝึกที่ 5 “อันตรายของการฉีดยามีมากมาย จึงควรหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะ เมื่อป่วย ด้วยโรคที่ไม่ร้ายแรง เช่น ไข้หวัด คออักเสบ ท้องเสีย ฯลฯ” 1. ใจความสาคัญของประโยคนี้คืออะไร ...... อันตรายของการฉีดยา ........................................ 2. นักเรียนคิดว่าควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาเมื่อใด ...........เมื่อป่วยด้วยโรคที่ไม่ร้ายแรง ......................................................... 3. ในประโยคนี้เพราะเหตุใดจึงควรหลีกเลี่ยงการฉีดยา ................................................................................................................... ................................................................................................................... 4. คาว่า “โรคไม่ร้ายแรง” ได้แก่โรคอะไรบ้าง .................ไข้หวัด คออักเสบ ท้องเสีย .................................................. 5. ให้นักเรียนสรุปใจความสาคัญของประโยคนี้ .........การฉีดยาทาให้เกิดอันตรายมากมาย จึงควรหลีกเลี่ยงการฉีดยา ถ้าไม่ได้ป่วยเป็นโรคร้ายแรง ............................................................................ ให้นักเรียนอ่านประโยคต่อไปนี้แล้วตอบคาถามสรุปใจความสาคัญ เพราะจะเกิดอันตรายได้
  • 47. ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วสรุปประเด็นสาคัญของบทความ สาหรับเห็ดที่กินได้ทั่วไปนั้น จะเป็นอาหารที่มีไขมันต่า และไม่มี คอเลสเตอรอล มีเกลือโซเดียมน้อยแต่มีแร่ธาตุสูง เช่น โป แตสเซียมซึ่งช่วยลด ความดันโลหิต และซีลีเนียมซึ่งเป็นตัวสารต้านมะเร็ง รวมทั้งยังมีวิตามินต่างๆ โดยเฉพาะวิตามินบี ในเห็ดยังมีกรดอะมิโนต่างๆ ที่ร่างกาย ต้องการในปริมาณ พอสมควร และมีกรดอะมิโนกลูตามิกที่ช่วยให้เจริญอาหารอยู่ด้วย จึงทาให้ ประสาทรับรู้รสอาหารทางานได้ดี นอกจากนั้นยังถือว่าเห็ดเป็นอาหารพื้นบ้าน ที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรที่มีรสหวาน ซึ่งจะช่วยทาให้ชุ่มชื่น บารุงกาลัง แก้อ่อนเพลียได้อีกด้วย อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน เฉลยแบบฝึกที่ 1 เรื่องการอ่านบทความ
  • 48. เฉลยแบบฝึกที่ 2 ผึ้งเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่มีขา 6 ขา ตัวโตประมาณนิ้วก้อย แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนหัว หน้าอก และท้อง มีงวงไว้สาหรับดูดน้าหวานมีตาขนาดใหญ่อยู่ข้างหัว ข้างละตาและมีตาเล็ก ๆ อีก 3 ตาอยู่บนหัว มีหนวดเล็ก ๆ ทั้งหมด 4 เส้นด้วยกัน อาหารของผึ้งคือน้าหวานของดอกไม้ ผึ้งจะมีเหล็กในที่ก้น เพื่อใช้เป็นเครื่อง ต่อสู้ป้องกันตัว ในรังของผึ้งแต่ละรังจะมีผึ้ง 3 ชนิด คือ ผึ้งนางพญา ซึ่งมีเพียงตัว เดียว ผึ้งตัวผู้และผึ้งตัวเมีย มนุษย์ได้รับประโยชน์จากผึ้งหลายอย่าง คือ ได้น้าผึ้ง และรังอ่อน ตัวอ่อน ของผึ้ง ได้ขี้ผึ้งมาใช้เป็นยา ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วตอบคาถาม 1. ผึ้งเป็นสัตว์ประเภทใด...............แมลง................................................ 2. ผึ้งมีตาทั้งหมดกี่ตาและอยู่บริเวณใดบ้าง..........5 ตา....................... ....................อยู่ข้างหัวข้างละตาและมีตาเล็ก ๆ อีก 3 ตาอยู่บนหัว ...... 3. อาหารของผึ้งคืออะไร.....น้าหวานของดอกไม้.............. 4. ในรังของผึ้งมีผึ้งกี่ชนิดได้แก่อะไรบ้าง........มีผึ้ง 3 ชนิด............ ผึ้งนางพญา ผึ้งตัวผู้และผึ้งตัวเมีย 5. อวัยวะใดที่ผึ้งใช้ดูดน้าหวาน...มีงวงไว้สาหรับดูดน้าหวาน..........