SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
Descargar para leer sin conexión
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทย
 เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
                             และคนไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือ
  ประวัติความเป็นมาของ       ประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้มีความ " พออยู่พอกิน" และมีความอิสระที่จะอยู่ได้
    เศรษฐกิจพอเพียง          โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยี และความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรง
   ประการที่สาคัญของ         วิเคราะห์ว่าหากประชาชนพึ่งตนเองได้แล้วก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้างประเทศชาติโดย
    เศรษฐกิจพอเพียง          ส่วนรวม ได้ในที่สุด พระราชดารัสที่สะท้อนถึงพระวิสัยทัศน์ในการสร้างความเข้มแข็งใน
    ปรัชญาและแนวคิด          ตนเองของประชาชนและสามารถทามาหากินให้พออยู่พอกินได้ ดังนี้
     หลักแนวคิดของ                  "….ในการสร้างถนน สร้างชลประทานให้ประชาชนใช้นั้น จะต้องช่วยประชาชน
    เศรษฐกิจพอเพียง          ในทางบุคคลหรือพัฒนาให้บุคคลมีความรู้และอนามัยแข็งแรง ด้วยการให้การศึกษาและการ
  แนวทางการประยุกต์ใช้       รักษาอนามัย เพื่อให้ประชาชนในท้องที่สามารถทาการเกษตรได้ และค้าขายได้ …"
 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การสร้างขบวนการขับเคลื่อน              ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงขึ้นนี้จึงทาให้
    เศรษฐกิจพอเพียง          เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนในแนวพระราชดาริของ "เศรษฐกิจพอเพียง" ซึ่งได้ทรงคิดและ
                             ตระหนักมาช้านาน เพราะหากเราไม่ไปพี่งพา ยึดติดอยู่กับกระแสจากภายนอกมากเกินไปจน
  ขั้นตอนการปฏิบัติสู่วิถี
                             ได้ครอบงาความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทยๆไปหมด มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐาน
      เศรษฐกิจพอเพียง
                             ที่ไม่มั่นคงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นนี้อาจไม่เกิดขึ้น หรือไม่หนักหนา
ผลที่เกิดจากการปฏิบัติตาม    สาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นนี้ ดังนั้น "เศรษฐกิจพอเพียง" จึงได้สื่อ
  แนวเศรษฐกิจพอเพียง         ความหมาย ความสาคัญในฐานะเป็นหลักการสังคมที่พึงยึดถือ
 เศรษฐกิจพอเพียงกับการ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
          อ้างอิง
       คณะผู้จัดทา
ในทางปฏิบัติจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น เศรษฐกิจ
พอเพียงเป็นทั้งหลักการและกระบวนการทางสังคม ตั้งแต่ขั้นฟื้นฟูและขยายเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืน เป็นการพัฒนา
ขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพออยู่พอกินขึ้นไปถึงขั้นแปรรูปอุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและ
ทักษะวิชาการที่หลากหลายเกิดตลาดซื้อขาย สะสมทุน ฯลฯ บนพื้นฐานเครือข่ายเศรษฐกิจชุมชนนี้ เศรษฐกิจของ 3
ชาติ จะพัฒนาขึ้นมาอย่างมั่นคงทั้งในด้านกาลังทุนและตลาดภายในประเทศรวมทั้งเทคโนโลยีซึ่งจะค่อยๆ พัฒนาขึ้นมา
จากฐานทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่ภายในชาติ และทั้งที่จะพึงคัดสรรเรียนรู้จากโลกภายนอก

         เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตัวเอง ทาให้อยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน มีสิ่งจาเป็นที่ทาได้โดยตัวเอง
ไม่ต้องแข่งขันกับใคร และมีเหลือเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่มี อันนาไปสู่การแลกเปลี่ยนในชุมชน และขยายไปจนสามารถที่
จะเป็นสินค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดที่เริ่มจากตนเองและความร่วมมือ วิธีการเช่นนี้จะดึง
ศักยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวซึ่งมีความผู้พันกับ “จิตวิญญาณ” คือ “คุณค่า” มากกว่า
“มูลค่า”
เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
          “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่
พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการ
แก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชน
จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทัน
ต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันใน
ตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ
รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และ
ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มี
สานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และ
ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ความพอเพียง         หมายถึง ความพอประมาณความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ
รอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และ
ขณะเดียวกันจะต้องสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มี
สานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และ
ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
      เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริ ชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสก
นิกรชาวไทย ซึ่งพระองค์ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือผู้ ที่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม ที่มักต้องประสบกับ
ปัญหาความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ เช่น ฝนตกไม่สม่าเสมอ เกิดภาวะแห้งแล้งทั่วไปหรือในช่วงหน้าฝนเกิดภาวะน้าท่วม ทา
ให้การเกษตรกรรม ไม่ได้ผลผลิตเท่าที่ควร




 พระองค์จึงทรงมีพระราชดาริที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าว และยกระดับพัฒนาความเป็นอยู่ ของราษฎรในภาคเกษตรกรรม
ให้เกิดความพออยู่พอกิน และสามารถพึ่งพาตนเองได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชวินิจฉัย ค้นคว้า สารวจ
รวบรวมข้อมูล แล้วทาการทดสอบเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้า ที่ดิน พันธุ์พืช เพื่อให้เกษตรกรรมสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ใน
พื้นที่ของตนเองที่เรารู้จักกันในชื่อ “ทฤษฎีใหม่” ใช้หลักการบริหารจัดการที่ดินและน้าเพื่อการเกษตรในที่ดินที่มีอยู่จากัดให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดอันเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรแบบพึ่งตนเอง โดยการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และทาการประมง ให้เกิดการ
พัฒนาที่ยั่งยืน โดยการทาการเกษตรในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดความพออยู่พอกิน
 พระองค์ทรงนาทฤษฎีดังกล่าวไปทาการทดลองที่วัดมงคลชัยพัฒนา ตาบลห้วยบง และตาบลเขาดินพัฒนา อาเภอเมือง
(ปัจจุบันคืออาเภอเฉลิมพระเกียรติ) จังหวัดสระบุรี ซึ่งประสบผลสาเร็จเป็นอย่างดีต่อมาในช่วง พ.ศ.     2540 ประเทศไทยต้อง
ประสบกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจเกิด ภาวะเศรษฐกิจตกต่าอย่างรุนแรง ประชาชนได้รับความเดือนร้อน ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่
ประกอบอาชีพ ในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการหลายรายที่ต้องปิดกิจการลง ทาให้ประชาชนตกงานเป็น
จานวนมากก่อให้เกิดปัญหาการว่างงานอย่างรุนแรงและต่อเนื่องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหาวิธีการที่จะช่วยเหลือพสก
นิกรที่ ประสบปัญหาให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
 พระองค์จึงได้ทรงพระราชทานพระราชดาริเรื่อง              “เศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อเป็นแนวทางใหม่ในการดารงชีวิต เพื่อให้รอด
พ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืน โดยการนาหลักการและวิธีการที่ใช้ภาคเกษตรกรรมมาประยุกต์ใช้ในการ
บริหารจัดการ การดาเนินชีวิตของประชาชนชาวไทยให้รู้จักการดาเนินชีวิตอยู่อย่างพอประมาณ เดินสายกลาง มีความพอดีและ
พอเพียงกับตนเอง ดารงชีวิตแบบพออยู่พอกินและสามารถพึ่งพาตนเองได้
ประการที่สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง




                1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3ต้น พอที่จะมีไว้กินเองภายในครัวเรือน เหลือถึงจะขาย
                2. พออยู่พอใช้ ทาให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์ผสมน้าถูพื้นบ้าน
จะสะอาดกว่าใช้น้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุภาพจะดีขึ้น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล)
                3.พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญหาจะไม่เกิด
                “การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน
หมายความว่า
                          “อุ้มชูต้วเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง”
ปรัชญาและแนวคิด
 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีหลักพิจารณาอยู่             5 ส่วน ดังนี้
        กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิต
ดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์
ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลามุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต
เพื่อความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการพัฒนา
        คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดยเน้นการปฏิบัติบนทางสาย
กลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
        คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้
         ความพอประมาณ                 หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น
การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
 ความมีเหตุผล                     หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดย
พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผล
 ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว                   หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและกาเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะ
เกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ             ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข              การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้ และ
คุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
        เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบที่จะนาความรู้
เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
        เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน
มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
                หลักปรัชญา
          ...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้นต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่
เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติ
ได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยก
เศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดย
สอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด...




                แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดย
คานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม
ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา
 แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ
        จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงใน
ทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
     การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่
ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ
รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา

                                    ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
      มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้
        กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมา
จากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อ ความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการพัฒนา
     คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติ
บนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน

      คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
เช่นการผลิตและการบริโภค        ที่อยู่ในระดับพอประมาณ

      ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดย
พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ

         การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะ
เกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล

      เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และ
คุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ

     เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่
จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

      เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและ
มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

        แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนา
ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และ
เทคโนโลยี
" ถ้าไม่มี เศรษฐกิจพอเพียง เวลาไฟดับ …
    จะพังหมด จะทาอย่างไร. ที่ที่ต้องใช้ไฟฟ้าก็ต้องแย่ไป.
          … หากมี เศรษฐกิจพอเพียง แบบไม่เต็มที่
               ถ้าเรามีเครื่องปั่นไฟ ก็ให้ปั่นไฟ
             หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน
                คือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ.
        … ฉะนั้น เศรษฐกิจพอเพียง นี้ ก็มีเป็นขั้น ๆ
             แต่จะบอกว่า เศรษฐกิจพอเพียง นี้
  ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์ นี่เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้.
         จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน.
 …… พอเพียงในทฤษฎีหลวงนี้ คือให้สามารถที่จะดาเนินงานได้. "
พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา 23 ธันวาคม 2542

                             ข้อมูลจาก
            คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
     สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                   แบ่งได้เป็น 3 ระดับ
                        1. ระดับบุคคล
                                  . รู้จก “พอ” ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
                                  . พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้มแข็งของตนเอง
                                  . ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวิตที่พอเพียง
                        2. ระดับชุมชน
                                  . รวมกลุ่ม ใช้ภูมิปัญญาของชุมชน
                                  . เอื้อเฟื้อกันและกับ
                                  . พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ
                        3. ระดับประเทศ
                                  . ชุมชนร่วมมือกัน
                                  . วางระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง
                                  . พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป
                                  . เติบโตจากข้างใน
                                  การนาไปใช้
         ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ มหาภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อ
ความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือ
ระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
ปัญหาหนึ่งของการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ก็คือ ผู้นาไปใช้อาจยังไม่ได้ศึกษาหรือไม่มีความรู้เพียงพอ ทั้งยังไม่
วิเคราะห์หรือตั้งคาถาม เนื่องจากประเพณี. สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า "วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง"คือ ความไม่รู้ว่าจะนา
ปรัชญานี้ไปใช้ทาอะไร กลายเป็นว่าผู้นาสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คาว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นข้ออ้างในการ
ทากิจกรรมใด ๆ เพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดารัสและให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ "เศรษฐกิจพอเพียง" ถูกใช้
เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อตัวเอง สมเกียรติได้ให้สัมภาษณ์วิจารณ์โครงการในยุครัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ว่า "รัฐบาลยังไม่ได้ใช้อะไร
เลยเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ใช้แต่พูดเหมือนคุณทักษิณ แต่คุณทักษิณพูดควบคู่กับการเอาทุนนิยม 100 เปอร์เซ็นต์ลงไป.. ซึ่ง
รัฐบาลนี้ต้องปรับทิศทางใหม่ เพราะรัฐบาลไม่ได้เอาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาและเป็นนโยบายทางวัฒนธรรมและสังคม"
สมเกียรติยังมีความเห็นด้วยว่า ความไม่เข้าใจ นี้ อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทา
ให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด.




        ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จากองค์การสหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะ
เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเริ่ม
ได้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทย
และนานาประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การ
พัฒนาประเทศแบบยั่งยืน
การสร้างขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
     การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่
ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว โดยใช้ความรอบรู้ ความ
รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการตัดสินใจและการกระทา




       ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจปี ๒๕๔๐ ทาให้คนไทยให้ความสาคัญกับการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตาม
คาชี้แนะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมากขึ้น สศช. จึงได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากสาขาต่าง ๆ มาร่วมกัน
กลั่นกรองพระราชดารัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปเป็นนิยาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และได้อัญเชิญ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นปรัชญานาทางในการจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน
ทุกระดับ มีความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปประกอบการดาเนินชีวิต
ในครั้งนี้ สศช. เสนอให้ริเริ่มการสร้างขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสานต่อความคิดและ
เชื่อมโยงการขยายผล ที่เกิดจากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้อย่างหลากหลาย รวมทั้งเพื่อจุด
ประกายให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งจะนาไปสู่การยอมรับ และการนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในทาง
ปฏิบัติในทุกภาคส่วนของสังคมอย่างจริงจัง

       การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง มีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างกระแสสังคมให้มีเป็นกรอบความคิดหรือส่วน
หนึ่งของวิถีชีวิตของประชาชนทุกภาคส่วน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง ให้ประชาชนทุกระดับสามารถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง
เหมาะสม และปลูกฝังปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการดารงชีวิตให้อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจน
นาไปสู่การปรับแนวทางการพัฒนาให้อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง




      ยุทธวิธีในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจะมีการดาเนินการอย่างเป็นขั้นตอนและชัดเจน โดยมีขอบเขต
การดาเนินงาน ๔ ด้านควบคู่กันไป คือ เชื่อมโยงเครือข่ายเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาวิชาการและศึกษาวิจัย
สร้างหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจะเป็นใน
ลักษณะเครือข่ายและระดมพลังจากทุกภาคส่วน โดยมีคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแกนกลาง
ในการดาเนินงาน และจะทูลเกล้าฯ ถวายผลการดาเนินงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาครบรอบ ๘๐ พรรษา ในเดือน
ธันวาคม ๒๕๕๐
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงนี้ จะเป็นการเสริมพลังในการดาเนินนโยบายของรัฐบาลที่เน้นการพัฒนา
เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปได้อย่างมั่นคงภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ โดยให้ความสาคัญกับการสร้าง
ฐานเศรษฐกิจและสังคมในระดับรากหญ้าให้เข้มแข็ง ในขณะที่ส่งเสริม การพัฒนาประเทศให้มีเสถียรภาพใน
ระดับระหว่างประเทศ สามารถปรับตัวเลือกรับสิ่งที่เป็นประโยชน์และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้ และ
นาไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยในที่สุด
ขันตอนการปฏิบตสวถเี ศรษฐกิจพอเพียง
  ้          ั ิ ู่ ิ

         จับประเด็นปัญหา

      วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

 กาหนดขอบเขตเป้าหมายในการแก้ปัญหา

           ปรับปรุงตัวเอง

      ดารงตนด้วยความมุ่งหมาย

  ใช้ความอดทนสูง อดกลั้น และอดออม

     ละวางจากความชั่ว ความทุจริต
ผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง




              1.ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง
ดังพระราชดารัสที่ว่าความเป้นอยู่ไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถกต้อง
                                                                   ู
 2.ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในสภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม
ดังพระราชดารัสที่ว่าความเจริญของคนทั้งหลายย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพเป็นหลักสาคัญ
              3.ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และการแข่งขันกันทั้งการค้าขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กัน
อย่างรุนแรงดังอดีตซึ่งมีพระราชดารัสเรืองนี้ว่าความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้นหมายถึงความสุขความเจริญที่บุคคล
                                        ่
แสวงหามาได้ดวยความเป็นธรรมทั้งในเจตนาและการกระทาไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบัง
                 ้
มาจากผู้อื่น
              4.ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครังนีโดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรูให้เกิดมีรายได้
                                          ี                          ้ ้                             ้
เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสาคัญ พระราชดารัสตอนหนึ่งที่ให้ความชัดเจนว่าการที่ต้องการให้ทุกคนพยายาม
ที่จะหาความรู้และสร้างตนเองให้มั่งคงนี้เพื่อตนเองมีความสุขพอมีพอกินและให้มีเกียรติว่ายืนได้ด้วยตนเอง
              5.ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งชั่วให้หมดสิ้นไป เพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่น้อยที่ดาเนินการ
โดยปราศจากการละอายต่อแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวได้พระราชทานพระราโชวาท ว่าพยายามไม่ก่อความชั่ว
                                                             ั
ให้เป็นเครืองทาลายตัวทาลายผู้อื่นพยายามลดพยายามละความชั่วที่ตัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายาม
            ่
รักษาและเพิ่มพูนความดีที่มีอยู่ ให้งอกงามสมบรูณ์ขึ้น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
        การนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน สามารถกระทาได้ดังต่อไปนี้
 เศรษฐกิจพอเพียงสาหรับบุคคลทั่วไป
        เศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชน์ต่อประชาชนทุกคนไม่ใช่เฉพาะแต่เกษตรกรเท่านั้น แต่ประชาชนโดยทั่วไปไม่ว่านิสิต
นักศึกษา นักเรียน ข้าราชการ พนักงานบริษัทก็สามารถนาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการเรียน
การทางาน ตลอดจนการดาเนินชีวิตประจาวันได้ ซึ่งสามารถกระทาได้ดังนี้
        ควรยึดหลักความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน และสละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง
  ควรประกอบอาชีพด้วยความสุจริตและถูกต้อง แม้จะเผชิญกับภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม
  ควรลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งบันทางการค้าขาย ตลอดจนการประกอบอาชีพที่มีการต่อสู้อย่างรุนแรง
  ควรขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงในการดารงชีวิตเป็นเป้าหมายสาคัญ




         เศรษฐกิจพอเพียงสาหรับเกษตรกร
         แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีประโยชน์ต่อเกษตรกรเป็นอย่างมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิดที่
เรียกว่า “การเกษตรทฤษฎีใหม่” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรให้มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถนาไปประยุกต์
ใช้ในการประกอบอาชีพ โดยจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการทฤษฎีใหม่ สาหรับเกษตรกรนั้น แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบ
พอเพียงตามแนวพระราชดาริจะตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการ“ทฤษฎีใหม่” 3 ขึ้นคือ ขั้นที่หนึ่ง มีความพอเพียงเลี้ยงตัวเองได้บน
พื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใช้จ่าย ขั้นที่สอง รวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อทาการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งด้าน
สวัสดิการ การศึกษา และการพัฒนาสังคมขั้นที่สาม สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดย
ประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนา ภาคเอกชน และภาครัฐ ในด้านเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการและ
ข่าวสารข้อมูล
อ้างอิง
                                  เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
                                  http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th
ประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                  http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86
ประการที่สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
                                  http://www.secondclass111.com/board/index.php?showtopic=685
ปรัชญาและแนวคิด
                                  http://pineapple-eyes.snru.ac.th
                                  หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
                                  http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th/
                                        แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                                        www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=6582&filename...
                                        www.thaindc.org/files/51179.pdf
                                        การสร้างขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
                                        http://www.sufficiencyeconomy.org/old/show.php?Id=24
                                        ขั้นตอนการปฏิบัติสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
                                        http://greennetorganic.blogspot.com/2009/07/7.html
                                        http://th.wikipedia.org/wiki/เศรษฐกิจพอเพียง
                                        ผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
                       http://www.uinthai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538933516&Ntype=119
เศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
                                        http://www.chaiwit.ac.th/chaiwit02/p024.html
คณะผู้จัดทา



              นายวีระพงษ์ ใจเย็น (ตั้ม)
                    53010516025




               นายศุภชัย ช้วยงาน (โจ้)
                    53010516026




                นายนฤดล สีมีงาม (ทัช)
                    53010516040
นางสาวเบญจวรรณ เหง้ากอก (ปลาย)
         53010516043




 นางสาวปิ่นสุดา มังคะรัตน์ (จ๋อม)
          53010516044

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1saoBenz
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนWiwat Sr.
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDCAPD AngThong
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptssuseradaad2
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริjeabjeabloei
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 

La actualidad más candente (20)

พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
Guitar
GuitarGuitar
Guitar
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar a เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง jaebarae
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2Vilaporn Khankasikam
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1freelance
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงVilaporn Khankasikam
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส10866589628
 

Similar a เศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Crumu
CrumuCrumu
Crumu
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส1
 
5
55
5
 
001
001001
001
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทย เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร และคนไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือ ประวัติความเป็นมาของ ประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้มีความ " พออยู่พอกิน" และมีความอิสระที่จะอยู่ได้ เศรษฐกิจพอเพียง โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยี และความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรง ประการที่สาคัญของ วิเคราะห์ว่าหากประชาชนพึ่งตนเองได้แล้วก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้างประเทศชาติโดย เศรษฐกิจพอเพียง ส่วนรวม ได้ในที่สุด พระราชดารัสที่สะท้อนถึงพระวิสัยทัศน์ในการสร้างความเข้มแข็งใน ปรัชญาและแนวคิด ตนเองของประชาชนและสามารถทามาหากินให้พออยู่พอกินได้ ดังนี้ หลักแนวคิดของ "….ในการสร้างถนน สร้างชลประทานให้ประชาชนใช้นั้น จะต้องช่วยประชาชน เศรษฐกิจพอเพียง ในทางบุคคลหรือพัฒนาให้บุคคลมีความรู้และอนามัยแข็งแรง ด้วยการให้การศึกษาและการ แนวทางการประยุกต์ใช้ รักษาอนามัย เพื่อให้ประชาชนในท้องที่สามารถทาการเกษตรได้ และค้าขายได้ …" ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างขบวนการขับเคลื่อน ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงขึ้นนี้จึงทาให้ เศรษฐกิจพอเพียง เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนในแนวพระราชดาริของ "เศรษฐกิจพอเพียง" ซึ่งได้ทรงคิดและ ตระหนักมาช้านาน เพราะหากเราไม่ไปพี่งพา ยึดติดอยู่กับกระแสจากภายนอกมากเกินไปจน ขั้นตอนการปฏิบัติสู่วิถี ได้ครอบงาความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทยๆไปหมด มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐาน เศรษฐกิจพอเพียง ที่ไม่มั่นคงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นนี้อาจไม่เกิดขึ้น หรือไม่หนักหนา ผลที่เกิดจากการปฏิบัติตาม สาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นนี้ ดังนั้น "เศรษฐกิจพอเพียง" จึงได้สื่อ แนวเศรษฐกิจพอเพียง ความหมาย ความสาคัญในฐานะเป็นหลักการสังคมที่พึงยึดถือ เศรษฐกิจพอเพียงกับการ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน อ้างอิง คณะผู้จัดทา
  • 2. ในทางปฏิบัติจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น เศรษฐกิจ พอเพียงเป็นทั้งหลักการและกระบวนการทางสังคม ตั้งแต่ขั้นฟื้นฟูและขยายเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืน เป็นการพัฒนา ขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพออยู่พอกินขึ้นไปถึงขั้นแปรรูปอุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและ ทักษะวิชาการที่หลากหลายเกิดตลาดซื้อขาย สะสมทุน ฯลฯ บนพื้นฐานเครือข่ายเศรษฐกิจชุมชนนี้ เศรษฐกิจของ 3 ชาติ จะพัฒนาขึ้นมาอย่างมั่นคงทั้งในด้านกาลังทุนและตลาดภายในประเทศรวมทั้งเทคโนโลยีซึ่งจะค่อยๆ พัฒนาขึ้นมา จากฐานทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่ภายในชาติ และทั้งที่จะพึงคัดสรรเรียนรู้จากโลกภายนอก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตัวเอง ทาให้อยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน มีสิ่งจาเป็นที่ทาได้โดยตัวเอง ไม่ต้องแข่งขันกับใคร และมีเหลือเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่มี อันนาไปสู่การแลกเปลี่ยนในชุมชน และขยายไปจนสามารถที่ จะเป็นสินค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดที่เริ่มจากตนเองและความร่วมมือ วิธีการเช่นนี้จะดึง ศักยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวซึ่งมีความผู้พันกับ “จิตวิญญาณ” คือ “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า”
  • 3. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่ พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการ แก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทัน ต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันใน ตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มี สานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และ ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
  • 4. ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มี สานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และ ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
  • 5. ประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริ ชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสก นิกรชาวไทย ซึ่งพระองค์ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือผู้ ที่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม ที่มักต้องประสบกับ ปัญหาความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ เช่น ฝนตกไม่สม่าเสมอ เกิดภาวะแห้งแล้งทั่วไปหรือในช่วงหน้าฝนเกิดภาวะน้าท่วม ทา ให้การเกษตรกรรม ไม่ได้ผลผลิตเท่าที่ควร พระองค์จึงทรงมีพระราชดาริที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าว และยกระดับพัฒนาความเป็นอยู่ ของราษฎรในภาคเกษตรกรรม ให้เกิดความพออยู่พอกิน และสามารถพึ่งพาตนเองได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชวินิจฉัย ค้นคว้า สารวจ รวบรวมข้อมูล แล้วทาการทดสอบเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้า ที่ดิน พันธุ์พืช เพื่อให้เกษตรกรรมสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ใน พื้นที่ของตนเองที่เรารู้จักกันในชื่อ “ทฤษฎีใหม่” ใช้หลักการบริหารจัดการที่ดินและน้าเพื่อการเกษตรในที่ดินที่มีอยู่จากัดให้เกิด ประโยชน์สูงสุดอันเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรแบบพึ่งตนเอง โดยการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และทาการประมง ให้เกิดการ พัฒนาที่ยั่งยืน โดยการทาการเกษตรในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดความพออยู่พอกิน พระองค์ทรงนาทฤษฎีดังกล่าวไปทาการทดลองที่วัดมงคลชัยพัฒนา ตาบลห้วยบง และตาบลเขาดินพัฒนา อาเภอเมือง (ปัจจุบันคืออาเภอเฉลิมพระเกียรติ) จังหวัดสระบุรี ซึ่งประสบผลสาเร็จเป็นอย่างดีต่อมาในช่วง พ.ศ. 2540 ประเทศไทยต้อง ประสบกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจเกิด ภาวะเศรษฐกิจตกต่าอย่างรุนแรง ประชาชนได้รับความเดือนร้อน ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ ประกอบอาชีพ ในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการหลายรายที่ต้องปิดกิจการลง ทาให้ประชาชนตกงานเป็น จานวนมากก่อให้เกิดปัญหาการว่างงานอย่างรุนแรงและต่อเนื่องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหาวิธีการที่จะช่วยเหลือพสก นิกรที่ ประสบปัญหาให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น พระองค์จึงได้ทรงพระราชทานพระราชดาริเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อเป็นแนวทางใหม่ในการดารงชีวิต เพื่อให้รอด พ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืน โดยการนาหลักการและวิธีการที่ใช้ภาคเกษตรกรรมมาประยุกต์ใช้ในการ บริหารจัดการ การดาเนินชีวิตของประชาชนชาวไทยให้รู้จักการดาเนินชีวิตอยู่อย่างพอประมาณ เดินสายกลาง มีความพอดีและ พอเพียงกับตนเอง ดารงชีวิตแบบพออยู่พอกินและสามารถพึ่งพาตนเองได้
  • 6. ประการที่สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3ต้น พอที่จะมีไว้กินเองภายในครัวเรือน เหลือถึงจะขาย 2. พออยู่พอใช้ ทาให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์ผสมน้าถูพื้นบ้าน จะสะอาดกว่าใช้น้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุภาพจะดีขึ้น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล) 3.พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญหาจะไม่เกิด “การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า “อุ้มชูต้วเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง”
  • 7. ปรัชญาและแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิต ดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์ ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลามุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดยเน้นการปฏิบัติบนทางสาย กลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผล ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและกาเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะ เกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
  • 8. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้ และ คุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบที่จะนาความรู้ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต หลักปรัชญา ...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้นต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติ ได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยก เศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดย สอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด... แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดย คานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงใน ทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี
  • 9. หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมา จากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อ ความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติ บนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้
  • 10. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิตและการบริโภค ที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะ เกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และ คุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่ จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและ มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และ เทคโนโลยี
  • 11. " ถ้าไม่มี เศรษฐกิจพอเพียง เวลาไฟดับ … จะพังหมด จะทาอย่างไร. ที่ที่ต้องใช้ไฟฟ้าก็ต้องแย่ไป. … หากมี เศรษฐกิจพอเพียง แบบไม่เต็มที่ ถ้าเรามีเครื่องปั่นไฟ ก็ให้ปั่นไฟ หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ. … ฉะนั้น เศรษฐกิจพอเพียง นี้ ก็มีเป็นขั้น ๆ แต่จะบอกว่า เศรษฐกิจพอเพียง นี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์ นี่เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้. จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน. …… พอเพียงในทฤษฎีหลวงนี้ คือให้สามารถที่จะดาเนินงานได้. " พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา 23 ธันวาคม 2542 ข้อมูลจาก คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • 12. แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แบ่งได้เป็น 3 ระดับ 1. ระดับบุคคล . รู้จก “พอ” ไม่เบียดเบียนผู้อื่น . พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้มแข็งของตนเอง . ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวิตที่พอเพียง 2. ระดับชุมชน . รวมกลุ่ม ใช้ภูมิปัญญาของชุมชน . เอื้อเฟื้อกันและกับ . พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ 3. ระดับประเทศ . ชุมชนร่วมมือกัน . วางระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง . พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป . เติบโตจากข้างใน การนาไปใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ มหาภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อ ความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือ ระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
  • 13. ปัญหาหนึ่งของการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ก็คือ ผู้นาไปใช้อาจยังไม่ได้ศึกษาหรือไม่มีความรู้เพียงพอ ทั้งยังไม่ วิเคราะห์หรือตั้งคาถาม เนื่องจากประเพณี. สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า "วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง"คือ ความไม่รู้ว่าจะนา ปรัชญานี้ไปใช้ทาอะไร กลายเป็นว่าผู้นาสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คาว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นข้ออ้างในการ ทากิจกรรมใด ๆ เพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดารัสและให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ "เศรษฐกิจพอเพียง" ถูกใช้ เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อตัวเอง สมเกียรติได้ให้สัมภาษณ์วิจารณ์โครงการในยุครัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ว่า "รัฐบาลยังไม่ได้ใช้อะไร เลยเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ใช้แต่พูดเหมือนคุณทักษิณ แต่คุณทักษิณพูดควบคู่กับการเอาทุนนิยม 100 เปอร์เซ็นต์ลงไป.. ซึ่ง รัฐบาลนี้ต้องปรับทิศทางใหม่ เพราะรัฐบาลไม่ได้เอาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาและเป็นนโยบายทางวัฒนธรรมและสังคม" สมเกียรติยังมีความเห็นด้วยว่า ความไม่เข้าใจ นี้ อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทา ให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จากองค์การสหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะ เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเริ่ม ได้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทย และนานาประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การ พัฒนาประเทศแบบยั่งยืน
  • 14. การสร้างขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว โดยใช้ความรอบรู้ ความ รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการตัดสินใจและการกระทา ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจปี ๒๕๔๐ ทาให้คนไทยให้ความสาคัญกับการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตาม คาชี้แนะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมากขึ้น สศช. จึงได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากสาขาต่าง ๆ มาร่วมกัน กลั่นกรองพระราชดารัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปเป็นนิยาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และได้อัญเชิญ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นปรัชญานาทางในการจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ทุกระดับ มีความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปประกอบการดาเนินชีวิต
  • 15. ในครั้งนี้ สศช. เสนอให้ริเริ่มการสร้างขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสานต่อความคิดและ เชื่อมโยงการขยายผล ที่เกิดจากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้อย่างหลากหลาย รวมทั้งเพื่อจุด ประกายให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งจะนาไปสู่การยอมรับ และการนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในทาง ปฏิบัติในทุกภาคส่วนของสังคมอย่างจริงจัง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง มีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างกระแสสังคมให้มีเป็นกรอบความคิดหรือส่วน หนึ่งของวิถีชีวิตของประชาชนทุกภาคส่วน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ให้ประชาชนทุกระดับสามารถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เหมาะสม และปลูกฝังปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการดารงชีวิตให้อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจน นาไปสู่การปรับแนวทางการพัฒนาให้อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธวิธีในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจะมีการดาเนินการอย่างเป็นขั้นตอนและชัดเจน โดยมีขอบเขต การดาเนินงาน ๔ ด้านควบคู่กันไป คือ เชื่อมโยงเครือข่ายเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาวิชาการและศึกษาวิจัย สร้างหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจะเป็นใน ลักษณะเครือข่ายและระดมพลังจากทุกภาคส่วน โดยมีคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแกนกลาง ในการดาเนินงาน และจะทูลเกล้าฯ ถวายผลการดาเนินงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษาครบรอบ ๘๐ พรรษา ในเดือน ธันวาคม ๒๕๕๐
  • 16. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงนี้ จะเป็นการเสริมพลังในการดาเนินนโยบายของรัฐบาลที่เน้นการพัฒนา เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปได้อย่างมั่นคงภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ โดยให้ความสาคัญกับการสร้าง ฐานเศรษฐกิจและสังคมในระดับรากหญ้าให้เข้มแข็ง ในขณะที่ส่งเสริม การพัฒนาประเทศให้มีเสถียรภาพใน ระดับระหว่างประเทศ สามารถปรับตัวเลือกรับสิ่งที่เป็นประโยชน์และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้ และ นาไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยในที่สุด
  • 17. ขันตอนการปฏิบตสวถเี ศรษฐกิจพอเพียง ้ ั ิ ู่ ิ จับประเด็นปัญหา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา กาหนดขอบเขตเป้าหมายในการแก้ปัญหา ปรับปรุงตัวเอง ดารงตนด้วยความมุ่งหมาย ใช้ความอดทนสูง อดกลั้น และอดออม ละวางจากความชั่ว ความทุจริต
  • 18. ผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 1.ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง ดังพระราชดารัสที่ว่าความเป้นอยู่ไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถกต้อง ู 2.ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในสภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม ดังพระราชดารัสที่ว่าความเจริญของคนทั้งหลายย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพเป็นหลักสาคัญ 3.ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และการแข่งขันกันทั้งการค้าขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กัน อย่างรุนแรงดังอดีตซึ่งมีพระราชดารัสเรืองนี้ว่าความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้นหมายถึงความสุขความเจริญที่บุคคล ่ แสวงหามาได้ดวยความเป็นธรรมทั้งในเจตนาและการกระทาไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบัง ้ มาจากผู้อื่น 4.ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครังนีโดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรูให้เกิดมีรายได้ ี ้ ้ ้ เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสาคัญ พระราชดารัสตอนหนึ่งที่ให้ความชัดเจนว่าการที่ต้องการให้ทุกคนพยายาม ที่จะหาความรู้และสร้างตนเองให้มั่งคงนี้เพื่อตนเองมีความสุขพอมีพอกินและให้มีเกียรติว่ายืนได้ด้วยตนเอง 5.ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งชั่วให้หมดสิ้นไป เพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่น้อยที่ดาเนินการ โดยปราศจากการละอายต่อแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวได้พระราชทานพระราโชวาท ว่าพยายามไม่ก่อความชั่ว ั ให้เป็นเครืองทาลายตัวทาลายผู้อื่นพยายามลดพยายามละความชั่วที่ตัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายาม ่ รักษาและเพิ่มพูนความดีที่มีอยู่ ให้งอกงามสมบรูณ์ขึ้น
  • 19. เศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน สามารถกระทาได้ดังต่อไปนี้ เศรษฐกิจพอเพียงสาหรับบุคคลทั่วไป เศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชน์ต่อประชาชนทุกคนไม่ใช่เฉพาะแต่เกษตรกรเท่านั้น แต่ประชาชนโดยทั่วไปไม่ว่านิสิต นักศึกษา นักเรียน ข้าราชการ พนักงานบริษัทก็สามารถนาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการเรียน การทางาน ตลอดจนการดาเนินชีวิตประจาวันได้ ซึ่งสามารถกระทาได้ดังนี้ ควรยึดหลักความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน และสละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง ควรประกอบอาชีพด้วยความสุจริตและถูกต้อง แม้จะเผชิญกับภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม ควรลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งบันทางการค้าขาย ตลอดจนการประกอบอาชีพที่มีการต่อสู้อย่างรุนแรง ควรขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงในการดารงชีวิตเป็นเป้าหมายสาคัญ เศรษฐกิจพอเพียงสาหรับเกษตรกร แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีประโยชน์ต่อเกษตรกรเป็นอย่างมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิดที่ เรียกว่า “การเกษตรทฤษฎีใหม่” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรให้มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถนาไปประยุกต์ ใช้ในการประกอบอาชีพ โดยจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการทฤษฎีใหม่ สาหรับเกษตรกรนั้น แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบ พอเพียงตามแนวพระราชดาริจะตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการ“ทฤษฎีใหม่” 3 ขึ้นคือ ขั้นที่หนึ่ง มีความพอเพียงเลี้ยงตัวเองได้บน พื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใช้จ่าย ขั้นที่สอง รวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อทาการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งด้าน สวัสดิการ การศึกษา และการพัฒนาสังคมขั้นที่สาม สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดย ประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนา ภาคเอกชน และภาครัฐ ในด้านเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการและ ข่าวสารข้อมูล
  • 20. อ้างอิง เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th ประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86 ประการที่สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง http://www.secondclass111.com/board/index.php?showtopic=685 ปรัชญาและแนวคิด http://pineapple-eyes.snru.ac.th หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th/ แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=6582&filename... www.thaindc.org/files/51179.pdf การสร้างขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง http://www.sufficiencyeconomy.org/old/show.php?Id=24 ขั้นตอนการปฏิบัติสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง http://greennetorganic.blogspot.com/2009/07/7.html http://th.wikipedia.org/wiki/เศรษฐกิจพอเพียง ผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง http://www.uinthai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538933516&Ntype=119 เศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน http://www.chaiwit.ac.th/chaiwit02/p024.html
  • 21. คณะผู้จัดทา นายวีระพงษ์ ใจเย็น (ตั้ม) 53010516025 นายศุภชัย ช้วยงาน (โจ้) 53010516026 นายนฤดล สีมีงาม (ทัช) 53010516040
  • 22. นางสาวเบญจวรรณ เหง้ากอก (ปลาย) 53010516043 นางสาวปิ่นสุดา มังคะรัตน์ (จ๋อม) 53010516044