SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
รู ้ทันตลาดทุน

         สฤณี อาชวานันทกุล
      http://www.fringer.org/
http://www.facebook.com/SarineeA
         Twitter: @fringer

       13 มิถนายน 2011 @ TDRI
             ุ

   งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                         ั
   โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
        ้                  ้
    กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน
          ่ี        ้                                                      ั                             ้
ตลาดทุนมีบทบาทมากกว่าทีคนทั่วไปเข ้าใจ
                       ่
                  • Capital Allocation :
                    บทบาทในการจัดสรรทุน
                    และพัฒนาเศรษฐกิจ
                  • Sustainable
                    Development : บทบาท
                    ในการขับเคลือนสงคมสู่
                                ่  ั
                    การพัฒนาทียั่งยืน (หรือ
                              ่
                    หนุนเสริมการพัฒนาทีไม่
                                       ่
                    ยั่งยืนต่อไป)
                                              2
บทบาทของตลาดทุนในการจัดสรรทุน
     และพัฒนาเศรษฐกิจ
ธุรกิจทรัพยากร+ธุรกิจการเงิน = 50% ตลท.
            จานวนบริษทจดทะเบียน = 542 บริษท
                     ั                    ั                                   มูลค่าตลาด (market cap) = 8.82 ล้านล้านบาท
                                                                                                                 mai
                                                                                                         NPG     0.9%    Other Instrument**
                                mai                                                              TECH
                                                                                                         0.1%                   0.2%
                                67                                                                8%
                  NPG                            AGRO
                                                  41                                 SERVICE                              AGRO
                   25
                                                                                       12%                                 6%
        TECH                                                                                                                   CONSUMP
         38                                             CONSUMP                                                                  1%
                                                           39




                                                                                                                                   FINCIAL
                                                             FINCIAL                                                                 21%
SERVICE                                                         60
  84
                                                                       RESOURC
                                                                         29%




     RESOURC
                                                                                                                           INDUS
        27                                        INDUS*                                                                     8%
                                                    80
                     PROPCON*                                                                           PROPCON
                        81                                                                                13%
ทีมา : SETSMART, ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2554
  ่                                                                  * ตังแต่วนที่ 4 ม.ค. 54 ตลาดหลักทรัพย์ฯ เพิมหมวดธุรกิจเหล็ก โดยย้าย
                                                                         ้ ั                                    ่
หมายเหตุ : ข้อมูลของ SET และ mai                                     หลักทรัพย์มาจากหมวดวัสดุก่อสร้างและหมวดวัสดุอุตสาหกรรมและเครืองจักร
                                                                                                                                       ่
Other Instruments ประกอบด้วย หุนบุรมสิทธิ (Preferred Stock) และใบสาคัญแสดงสิทธิ (Warrants)
                               ้ ิ                                                                                                       4
เนืองจากหุ ้น 20 ตัวทีใหญ่ทสดมี
    ่                    ่       ี่ ุ
มูลค่าตลาดร ้อยละ 60.5 ของทัง         ้
                           ื้
ตลาด และมีมลค่าการซอขายร ้อยละ
                ู
                      ้ื
48.2 ของมูลค่าการซอขายทังตลาด       ้
การกระจุกตัวของหุ ้นใหญ่ในมือรัฐ จึง
  ่
สงผลให ้ตลาดมีสภาพคล่อง (Free
              ่
Float) ตา มีสวนให ้ต ้นทุนทางอ ้อม
        ่
ของนักลงทุน (bid-ask spread) สูง
                              ิ้
ตามไปด ้วย (ข ้อมูล ณ สนปี 2552)




                                          5
ื้
นักลงทุนรายย่อย <5 แสนคน ซอขาย ~60%
มูลค่าการซื้อขาย (transaction value) ตามประเภทนักลงทุน
Unit: Percent




ทีมา : SETSMART, ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2554
  ่
                                                         6
หมายเหตุ : ข้อมูลของ SET และ mai
ตลาดที่ “ตืน” มีความผันผวนสูง  ต ้นทุนสูง
           ้
 ค่าเฉลียความผันผวนของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในช่วง 90 วัน (average 90-day
        ่
          volatility of historical closing prices) ระหว่างปี 2005-2007




                                                                         7
  ที่มา: ตลท., อ้ างอิงจาก Bloomberg ณ สิ ้นเดือนธันวาคม 2007
ธรรมาภิบาลบางด ้านตาเมือเทียบกับเพือนบ ้าน
                       ่ ่             ่
                                           Equitable
                 Rights of                 treatment of      Roles of               Disclosure &         Responsibilities
Country          shareholders              shareholders      stakeholders           transparency         of the Board


India                                 83           50                          88                   75                    79



Korea                             75                 58                        81                   75               58



Thailand                         68                     67                67                        71               58



Philippines                      67                     67         38                     38                    42



Indonesia                   46                     50                50                        50                50




              ทีมา: CG ROSC, ข้อมูลปี 2005
                ่                                                                                                              8
บริษัทหลักทรัพย์มอานาจเหนือ ตลท.
                   ี
                        ี่                            ี่ ้
 ตลท. ไม่เคยเปิ ดเผยมติทประชุมคณะกรรมการ เว ้นแต่กรณีทใชแถลงข่าวเท่านัน
                                                                      ้
กลุ่มอิทธิพล 1: โครงสร้างทางการ                                      กลุ่มอิทธิพล 2: สภาธุรกิจตลาดทุนไทย

 กรรมการที่ ก.ล.ต. แต่งตัง
                         ้               กรรมการตัวแทนจาก                            FetCo*
 ไม่เกิน 5 คน ต้องมาจาก                 บริษทสมาชิก 3 คน และ
                                            ั
   บจ. อย่างน้อย 1 คน                   บริษทจดทะเบียน 2 คน
                                              ั
                                                                                 สมาคม บล.

              เลือกตัง ผูจดการ ตลท.
                     ้ ้ั                   เลือกตัง
                                                   ้                             สมาคม บลจ.

                                                                                  สมาคม บจ.
                 คณะกรรมการ ตลท. 11 คน
                                                                                สมาคมส่งเสริมผูลงทุนไทย
                                                                                               ้
                                กากับดูแล
                                                       เป็ นสมาชิก              สมาคมนักวิเคราะห์
                        บริษทสมาชิก
                            ั
*FetCo = Federation of Thai Capital Market Organizations คือ
ชือภาษาอังกฤษของสภาธุรกิจตลาดทุนไทย
 ่                                                                                                         9
ปั ญหาในมุมมองคณะกรรมการพัฒนาตลาดทุน
1                        „ สัดส่วนนักลงทุนรายย่อยสูงทาให้ตลาดมีความผันผวนสูงส่งผลต่อมูลค่าราคาหลักทรัพย์
    ตลาดตราสารทุน
                         „ ขาดสมดุลทางสภาพคล่องและเสถียรภาพทางราคา เนื่องจากสัดส่วนของผูลงทุนสถาบันใน
                                                                                            ้
                           ประเทศค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับตลาดทุนต่างประเทศ
2
                         „ เป็ นตลาดทีขาดสภาพคล่อง และยังไม่เติบโตเท่าทีควร
                                      ่                                 ่
    ตลาดตราสารหนี้
                         „ ยังขาดแคลนตราสารหนี้ภาคเอกชน เนื่องจากยังไม่ได้รบความนิยมจากนักลงทุนและตัวบริษทเอง
                                                                            ั                            ั
3                        „ ขาดตราสารทีใช้ป้องกันความเสียง
                                      ่                ่
    ตราสารอนุพนธ์และ
                ั
    นวัตกรรมอื่นๆ        „ ขาดนวัตกรรมทางการเงินทีมความหลากหลายสามารถตอบสนองความต้องการได้ครบถ้วน
                                                   ่ ี
4                        „ พึงพิงรายได้จากค่าธรรมเนียมซือขายหลักทรัพย์กว่าร้อยละ 80
                             ่                           ้
    สถาบันตัวกลาง
                         „ มีขนาดฐานทุนทีเล็ก ทาให้มขอจากัดในการทาธุรกรรมทีหลากหลายได้
                                          ่          ี ้                      ่
5                        „ ส่วนใหญ่ยงมีขนาดเล็ก เมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ
                                      ั
    บริ ษทจดทะเบียน
         ั                          ั
                         „ ประสบปญหาจากข้อจากัดในขีดความสามารถ
                         „ ยังมีขอด้อยในเรื่องของการปกป้องสิทธิผถอหุนรายย่อยและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
                                 ้                              ู้ ื ้
6                        „ ประชาชนยังขาดความรูความเข้าใจในตลาดทุน
                                              ้
    นักลงทุน

7                        „ ขาดความยืดหยุนในการกากับดูแล
                                        ่
    หน่ วยงานกากับดูแล
                                                                                                            10
2012 : จุดเปลียนตลาดหุ ้นไทย
              ่
• เปิ ดเสรีธรกิจหลักทรัพย์
            ุ

                       ื้
• เปิ ดเสรีคาธรรมเนียมซอขายหลักทรัพย์
            ่

• ออกกฎหมายแปรสภาพ ตลท. เป็ นบริษัทมหาชน และเตรียมตัว
  กระจายหุ ้นให ้กับประชาชน นาเข ้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
  ไทย (ในอีก 2-3 ปี ) – ครม. มีมติเห็นชอบ พ.ค. 2553 ปั จจุบนอยู่
                                                           ั
     ั้
  ในชนกฤษฎีกา

• เปิ ดเสรีธรกิจตลาดหลักทรัพย์ (อยูในกฎหมายแปรสภาพ ตลท.)
            ุ                      ่

                                                    ื่
• เปิ ดตัว ASEAN Linkage - virtual stock exchange เชอมตลาดหุ ้น
  ไทย มาเลเซย ฟิ ลปปิ นส ์ สงคโปร์ อินโดนีเซย และเวียดนาม
            ี     ิ         ิ               ี                      11
ิ
 ประสทธิภาพของตลาดมีฐานหลัก 3 ฐาน
      ประสิทธิภาพของตลาด (Market Efficiency)             ฐานและความหลากหลาย
                                                              ของนักลงทุน
                     สภาพคล่ อง                      (Size & Variety of Investor Base)
                      (Liquidity)
                                                                   โครงสร้ างเสริม
   ราคาที่สะท้ อนข้ อมูล          ต้ นทุนการซือขาย
                                              ้
                                                                  (Complementary
ที่ครบถ้ วนและเที่ยงตรง      ทังทางตรงและทางอ้ อม
                               ้
                                                                    Infrastructure)
    (Accurate Pricing)           (Transaction Costs)
                                                                     ตลาด Repo
                                                                   มาร์ จน & ชอร์ ต
                                                                             ิ
ระดับธรรมาภิบาลในตลาด           โครงสร้ างพืนฐานของตลาด
                                            ้                    การให้ ก้ ยืมหลักทรั พย์
                                                                           ู
 (Corporate Governance)           (Market Infrastructure)        ตลาดตราสารอนุพนธ์    ั
     สิทธิของผู้ถือหุ้น                รูปแบบการส่ งคาสั่ง
 มาตรฐานการเปิ ดเผยข้ อมูล          ความเร็วของการทารายการ          ทีมา : Swati Ghosh & Ernest Revilla,
                                                                      ่
                                                                    “ Enhancing the Efficiency of
มาตรฐานการบังคับใช้ กฎหมาย          ระบบ real-time settlement       Securities Markets in East Asia,”
                                                                                                      12
                                                                    World Bank, 2007.
กฎหมายหลักทรัพย์ท ี่ “ได ้ผล” เอือเอกชน
                                 ้
 Market cap/GDP                                  บทสรุปจากงานวิจัย “What Works in
                                                 Securities Laws?” (La Porta, Lopez-
                                                                              ึ่
                                                 de-Silanes, Shleifer, 2006) ซง
                                                 สารวจกฎหมายหลักทรัพย์ 49 ประเทศ
   Enforcement of shareholders rights            • ตลาดการเงินพัฒนาไม่ได ้หาก
 ทีมา: Development Research Group, World Bank,
   ่
 March 2002
                                                  ปล่อยให ้กากับดูแลตัวเอง
• กฎหมายหลักทรัพย์ “ทางาน” ด ้วยการเกือหนุนธุรกรรมระหว่างเอกชน
                                      ้
                    ้
  มากกว่าการบังคับใชกฏหมายของภาครัฐ – ประเทศทีมมาตรฐานการ
                                              ่ ี
  เปิ ดเผยข ้อมูลและมาตรฐานการรับผิดสูง (นักลงทุนฟ้ องเรียกผล
  ขาดทุนคืนได ้ง่าย) จะมีขนาดของตลาดหุ ้นใหญ่ตามไปด ้วย                             13
ธรรมาภิบาลทีดต ้องมี “สมดุล” สามด ้าน
              ่ ี
                                                         แนวโน้ มปั จจุบน: ผู้กากับ
                                                                        ั
                           Regulatory Disciplines        ดูแลทัวโลกผ่อนคลายการ
                                                                ่
                         การกากับดูแลของทางการ           กากับโดยตรง ไปหนุน
                                                         market & self regulation
                                                         มากขึ ้น


    Market Disciplines                                  Self Disciplines
กลไกตลาดและกระแสสังคม                               การกากับตัวเองของเอกชน

  คาถาม : ในประเทศไทย ซึ่งนักลงทุนรายย่ อยยังมีจานวนน้ อย มีความรู้ น้อย และ
  ตัวการรายใหญ่ ยงไม่ เคยถูกลงโทษ “สมดุล” ระหว่ างสามด้ านนีควรเป็ นอย่ างไร?
                 ั                                          ้
                                                                                      14
ิ
นักลงทุนไทยยังเผชญอุปสรรคมากมาย
• ยังไม่มกฏหมายฟ้ องคดีแบบรวมกลุม (Class Action) – ร่าง
         ี                      ่
  กฎหมายผ่าน ครม. แล ้ว (กฏหมายนีอยูในแผนพัฒนาตลาดทุน)
                                 ้ ่

         ้
• ต ้องใชหุ ้นถึง 5% ในการเพิมวาระหรือจัดประชุมวิสามัญผู ้ถือหุ ้น
                             ่

• ผู ้ถือหุ ้นฟ้ องบุคคลทีสามแทนกรรมการ (derivative suit) ไม่ได ้
                          ่

• ไทยยังไม่ม ี shareholder activists ตัวจริง (รายย่อยหรือสถาบัน)

                       ื
• กฎบางฉบับยังเป็ น “เสอกระดาษ” (อาทิ มาตรการจัดการหุ ้นร ้อน)

                ั     ้
• ก.ล.ต. ยังไม่บงคับใชกฎหมายกับสถาบันตัวกลางเท่าทีควร บาง
                                                  ่
       ่                   ่                      ิ
  กรณีสอเค ้าว่าเป็ นการ “ชวยเหลือ” (อาทิ กรณี วิสฐ ตันติสนทร
                                                          ุ
  อดีตเลขาฯ กบข. และ มาริษ ท่าราบ อดีต MD กองทุนไอเอ็นจี)            15
โครงสร ้างการระดมทุนในตลาดทุนไทยยังไม่
สอดคล ้องกับขนาดของภาคธุรกิจต่างๆ
                                     2531 ‟ 2543                      2544 - 31 พฤษภาคม 2550
                                      ตราสาร                            ตราสาร     ตราสาร
ภาคธุรกิจ                    GDP        ทุน        สินเชื่อ   GDP         หนี้       ทุน       สินเชื่อ
อุตสาหกรรม การส่งออก และ
การนาเข้า                    31.6       16.9        36.7      34.6        3.9        21.4       27.6
การบริการ อุปโภคบริโภคของ
ประชาชน และสาธารณูปโภค       20.0       10.4        22.4      22.8       16.7        38.0       29.7
การค้าส่งและค้าปลีก          16.5        2.0        16.7      15.1        7.1        0.4        16.2
สถาบันการเงิน ก่อสร้าง และ
อสังหาริมทรัพย์              12.1       67.3        21.1       9.3       72.4        40.0       24.1
เกษตรกรรม                    10.2         -          2.5      10.1         -          -          2.1
เหมืองแร่                     4.1        3.5         0.6       2.8         -         0.1         0.4
การบริหารและป้องกันประเทศ     3.0         -           -        4.5         -          -           -
สถานทีอยูอาศัย
      ่ ่                     2.5         -           -        0.8         -          -           -
รวมทังหมด
     ้                       100.0     100.0       100.0      100.0      100.0      100.0      100.0
                                                                                                          16
บทบาทของตลาดทุนในการขับเคลือน
                            ่
     ั    ่
    สงคมสูการพัฒนาทียั่งยืน
                    ่
กรอบคิดของธุรกิจทียงยืน: สมดุลสามขา
                  ่ ั่




                                  18
เหตุผลทีบริษัทอยากทาธุรกิจทียงยืน
        ่                   ่ ั่
แต่ละบริษัทมีเหตุผลทีแตกต่างกันในการนาหลัก “การ
                     ่
                       ้
พัฒนาอย่างยั่งยืน” มาใชในการดาเนินธุรกิจ
              ี
• แรงจูงใจทางศลธรรม
                             ี่
• ลดต ้นทุนและลด/บริหารความเสยง
                   ิ       ิ
• ประโยชน์ด ้านประสทธิภาพเชงนิเวศ
                                        เหล่านีคอ
                                                ้ ื
  (eco-efficiency)
                                       “เหตุผลทาง
• สร ้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีแตกต่างจาก
                         ่                ธุรกิจ”
  คูแข่ง (product differentiation)
    ่
• เป็ นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะ
  ยาว (“creative destruction”)                        19
“Push factors” เป็ นทังวิกฤตและโอกาส
                      ้
               ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ
           5 ประเด็นร ้อน                       ่       ี
                                       5 ผู ้มีสวนได ้เสย
                                       สาคัญทีผลักดัน
                                                  ่
       ภาวะสภาพภูมอากาศ
                  ิ                                ่ ่
                                       ผู ้บริโภคทีใสใจ
          เปลียนแปลง
              ่                             ิ่
                                           สงแวดล ้อม
        มลพิษและอันตราย                   ผู ้ถือหุ ้นนัก
           ต่อสุขภาพ                      เคลือนไหว
                                                 ่
         การต่อต ้านโลกาภิ            ภาคประชาสังคม/
         วัตน์ทไม่เป็ นธรรม
               ี่                        เอ็นจีโอ
           วิกฤตพลังงาน             ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/
                                        นักวิทยาศาสตร์
        ความไว ้วางใจของ                   ประชาชน
         ประชาชนในภาค
                 ื่
         ธุรกิจเสอมถอย

ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social
                                                                                                            20
     Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
“Pull factor” : ธุรกิจใหม่ทยงยืนโตเร็ว
                                            ี่ ั่
                                                                                                            เสือผ้ า
                                                                                                                ้
                             50%                                                                           ออร์ แกนิก
อ ัตราการเติบโตต่อปี (%)




                                                                                                           $583 ล้ าน
                             40%                                                                สินค้ า
                                                                                               แฟร์ เทรด
                             30%                                                                 $2.2
                                                                          ไมโคร                พันล้ าน
                             20%           อาหารปลอด                     ไฟแนนซ์
                                             สารพิษ                     $7 พันล้ าน
                             10%          $15.5 พันล้ าน



                                                             รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009
                           ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
                             ่                                                                                          21
“Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล ้านล ้าน
• ทัวโลกมีคนทีมรายได ้ตากว่า
    ่           ่ ี      ่
  $2 ต่อวัน 2.6 พันล ้านคน 
  รายได ้น ้อย แต่มจานวนมาก
                    ี
• ถ ้าบุก “ตลาดคนจน” สาเร็จ ก็
                 ่  ั
  จะได ้กาไรและชวยสงคม
      ่
  (ชวยคนจน) ไปพร ้อมกัน




                                       22
การลงทุนเพือความยั่งยืนเติบโตเร็วมาก
           ่
                       ั
การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible
          ่
investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทั่วโลก
                                  ่
• $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน –
  เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา
                             ่        ่ ่
• ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้
  อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ)
                                      ่            ้
• มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป
• กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย
• ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล
  ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว –
                                              ่
  Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini
  Social Index
                                                                23
Global Reporting Initiative (GRI)
• ชุดหลักเกณฑ์ในการผลิต “รายงานความยังยืน” (sustainability
                                          ่
                        ่
  report) – บางบริษัท (สวนน ้อย) ยังเรียก “รายงานความ
               ั
  รับผิดชอบต่อสงคม” (CSR report)
                                                    ั
• ครอบคลุม “ผลงาน” ทุกด ้านของบริษัท – ต่อเศรษฐกิจ สงคม
      ิ่
  และสงแวดล ้อม
• พัฒนามาจาก CERES Principles จนปั จจุบนเป็ นเครือข่ายทีม ี
                                       ั                ่
       ิ
  สมาชก 30,000 รายทัวโลก มีบริษัททีผลิตรายงานตามเกณฑ์
                    ่              ่
  GRI 1,500 แห่ง
                              ่
• เป้ าหมายหลักของ GRI คือการสงเสริมให ้องค์กรทุกรูปแบบ
  จัดทารายงานความยังยืนอย่างสมาเสมอและมี “มาตรฐาน” เพียง
                    ่           ่
                      ้
  พอทีจะให ้คนนอกใชเปรียบเทียบผลงานระหว่างองค์กรได ้ ไม่
        ่
  ต่างจากการรายงานงบการเงินประจาปี
                                                              24
่
GRI สวนที่ 1: หลักในการทารายงาน
•         ่         ้
    หลักทีบริษัทใชในการกาหนด “คุณภาพ” ของรายงาน
    มีหกประเด็นได ้แก่
      –  ระดับความสมดุลของเนือหา (balance) - ต ้อง
                             ้
                         ิ        ิ
         รายงานทังผลงานเชงบวกและเชงลบ
                 ้
     –   ระดับการเปรียบเทียบได ้(กับองค์กรอืน)
                                            ่
         (comparability)
     –   ระดับความถูกต ้องเทียงตรง (accuracy)
                             ่
     –   ระดับความทันท่วงทีของการรายงาน
         (timeliness)
     –                 ื่
         ระดับความเชอถือได ้ของข ้อมูล (reliability)
     –               ั
         ระดับความชดเจน (clarity)
                                                       25
่
GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย
                       ่
 ่
สวนที่ 2: Standard Disclosures
•    ่
    สวนนีนับเป็ น “ผลผลิต” ของหลักในการทารายงานทีอธิบายใน
          ้                                            ่
       ่                         ิ             ิ
    สวนแรก ประกอบด ้วยข ้อมูลเชงคุณภาพและเชงปริมาณ แบ่งเป็ น
            ่                                     ี้ ั
    สองสวนย่อยได ้แก่ คาอธิบาย (Profile) และดัชนีชวดผลงานของ
    บริษัทในด ้านต่างๆ หกด ้าน (Performance Indicators)
•   คาอธิบาย (Profile) - จากมุมมองของการพัฒนาอย่างยังยืน ่
      –   กลยุทธ์และบทวิเคราะห์ (strategy and analysis)
      –   โครงสร ้างองค์กรและธุรกิจหลัก (organizational profile)
      –   ขอบเขตของรายงาน (report parameters)
      –   โครงสร ้างการบริหารจัดการ (governance) ด ้านความรับผิดชอบต่อ
           ั
          สงคม
      –   พันธะต่อข ้อตกลงภายนอก (commitment to external initiatives)
      –                  ่               ่       ี
          กระบวนการการมีสวนร่วมของผู ้มีสวนได ้เสย (stakeholder
          engagement)                                                    26
ตัวอย่าง: stakeholder engagement ของ
  SCG Paper

ผูมีส่วนได้เสี ย
 ้                 กระบวนการสร้างความสัมพันธ์           ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ
                                                                   ู้
ผูถือหุ้น
   ้               การประชุมสามัญประจาปี สาหรับผูถอ
                                                  ้ ื    ชือเสียงและความสามารถในการแข่งขัน
                                                           ่
                   หุนรายย่อย, ระบบธรรมาภิบาล,
                     ้                                    ของบริษท      ั
                   รายงานประจาปี , เว็บไซต์ของบริษทั     ผลตอบแทนจากการลงทุน
ลูกค้า             การเยียมเยียนลูกค้าโดยพนักงาน
                        ่                                ราคายุตธรรม
                                                                    ิ
                                                         ส่งสินค้าตรงเวลา
                                                         คุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า
                                                         สินค้าทีเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม
                                                                  ่             ่
ซัพพลายเออร์       การประเมินซัพพลายเออร์, การเยียม
                                                 ่       ราคายุตธรรม ิ
                   เยือนซัพพลายเออร์รายใหญ่, โครงการ     จ่ายเงินตรงเวลา
                   สานสัมพันธ์กบซัพพลายเออร์
                               ั


                                                                                                27
ตัวอย่าง: stakeholder engagement ของ
SCG Paper (ต่อ)
ผูมีส่วนได้เสี ย
 ้                 กระบวนการสร้างความสัมพันธ์        ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ
                                                                ู้
พนักงาน            คณะกรรมการสวัสดิการ, แบบสารวจ         ทิศทางและนโยบายบริษท ั
                   ความคิดเห็นของพนักงาน, การเยียม
                                                ่        ความมั ่นคงในงาน
                   เยือนพนักงานของผูบริหาร
                                    ้                    ค่าตอบแทนทีเป็ นธรรม
                                                                         ่
                                                         สภาพแวดล้อมในการทางาน
ชุมชน              การสารวจความคิดเห็น, การเยียมเยือน 
                                                 ่        โอกาสในการทางาน
                   ชุมชน, โครงการ open house,            การรักษาสิงแวดล้อม
                                                                       ่
                   โครงการสานสัมพันธ์กบชุมชน
                                          ั              การพัฒนาชุมชน
องค์กรของรัฐ       การเยียมเยียนของผูบริหาร, การสร้าง 
                            ่           ้                 การปฏิบตตามกฎหมาย
                                                                   ั ิ
                   พันธมิตรเพือส่งเสริมการพัฒนาอย่าง
                              ่                          การช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ
                   ยั ่งยืน
องค์กรพัฒนาเอกชน   การขอคาปรึกษาเกียวกับชุมชน, การ
                                      ่               การเพิมมูลค่าทางสังคม
                                                              ่
(เอ็นจีโอ)         พบปะสนทนา, การสร้างพันธมิตรเพือ  ่ การให้การสนับสนุ นโครงการด้านสังคม
                   ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั ่งยืน       และสิงแวดล้อม
                                                            ่
                                                      สุขภาวะและความเจริญของสังคม 28
                                                                                             28
่
GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ)
                       ่
      ี้ ั
ดัชนีชวดผลงานของบริษัท (Performance Indicators) ได ้แก่
              ิ่           ่
1. ดัชนีด ้านสงแวดล ้อม เชน ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีบริษัทปล่อย
                                                    ่
   ในรอบปี , ปริมาณน้ าทีใช,้ ค่าปรับกรณีละเมิดกฎหมายด ้าน
                         ่
     ิ่
   สงแวดล ้อมทีจายให ้กับรัฐ
                 ่ ่
              ิ            ่  ั ่                       ิ
2. ดัชนีด ้านสทธิมนุษยชน เชน สดสวนของลูกจ ้างทีเป็ นสมาชก
                                               ่
   สหภาพแรงงาน, จานวนกรณีความลาเอียงในทีทางานและการ
                                            ่
   จัดการของบริษัทในกรณีเหล่านี้
                                   ่     ั ่
3. ดัชนีด ้านแรงงานและพนักงาน เชน สดสวนของลูกจ ้างและ
                        ิ
   พนักงานทีเป็ นสมาชกสหภาพแรงงาน, อัตราการออกของ
              ่
                                      ั่
   พนักงาน (turnover rate), จานวนชวโมงการอบรมทีพนักงาน
                                                   ่
                    ่     ่
   ได ้รับโดยเฉลีย, อัตราสวนเงินเดือนขันตาของพนักงานชายต่อ
                                          ้ ่
   เงินเดือนขันตาของพนักงานหญิง
                ้ ่
                                                                29
่
GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ)
                       ่
               ั             ่
4. ดัชนีด ้านสงคม เชน คาอธิบายหลักการ ขอบเขต และประสทธิผล      ิ
   ของโครงการหรือกระบวนการทีประเมินและบริหารจัดการ
                                       ่
   ผลกระทบของการดาเนินธุรกิจของบริษัทต่อชุมชน โดย
   ครอบคลุมตังแต่ขนตอนการริเริมกิจการในชุมชน (เชน สร ้าง
                  ้       ั้         ่                   ่
   โรงงานใหม่) การดาเนินกิจการ และการล ้มเลิกหรือย ้ายออกจาก
                                                    ั่
   พืนที, การจัดการกรณีเกิดเหตุฉ ้อฉลหรือคอร์รัปชนของพนักงาน
     ้ ่
                                              ่
5. ดัชนีด ้านความรับผิดชอบต่อผู ้บริโภค เชน คาอธิบายกระบวนการ
                       ี ้ ิ
   ติดฉลากและวิธใชสนค ้าและบริการ, มูลค่าค่าปรับฐานละเมิด
   กฎหมายด ้านความปลอดภัยของสนค ้า       ิ
                                 ่
6. ดัชนีด ้านเศรษฐกิจ เชน มูลค่าทางเศรษฐกิจทีบริษัทสร ้างและ
                                                 ่
                        ่          ี                       ้
   จัดสรรไปยังผู ้มีสวนได ้เสยฝ่ ายต่างๆ อาทิ รายได ้ ค่าใชจ่ายใน
   การดาเนินงาน ค่าตอบแทนพนักงาน เงินบริจาค เงินลงทุนใน
                               ่
   ชุมชน กาไรสะสม (สวนของผู ้ถือหุ ้น) เงินต ้นและดอกเบีย (จ่าย
                                                             ้
   คืนให ้กับเจ ้าหนี) และภาษี (จ่ายให ้กับรัฐ)
                     ้                                            30
ตลาดหุ ้นไทยอยูตรงไหนในภาพนี้?
               ่
• มีองค์กรสนับสนุนต่างๆ ในระดับหนึง – CSR Institute ของ ตลท.,
                                  ่
  CSR Club ของกลุมบริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ แต่ยงไม่ได ้
                 ่                            ั
   ่
  สงเสริมสนับสนุน in-process CSR (ความรับผิดชอบในกระบวนการ
  ดาเนินธุรกิจ) อย่างจริงจัง

                          ั      ิ่
• ทางการยังไม่เพิมประเด็นสงคมและสงแวดล ้อมเข ้าไปในกฎการ
                 ่
  เปิ ดเผยข ้อมูลของบริษัทจดทะเบียน (หลายประเทศทาแล ้ว)

   ี                                             ่
• ซเอสอาร์ปัจจุบนเป็ น “กระแส” อย่างแพร่หลาย แต่สวนใหญ่ยังเป็ น
                ั
  แค่พอาร์ หรือ “คืนกาไรสูสงคม” (after-process ไม่ใช ่ in-process
      ี                   ่ ั
  CSR) – ตราบใดทีข ้อมูลไม่แพร่หลาย ก็วดผลทีแท ้จริงยาก
                 ่                     ั    ่
                                                                31

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 

Seeing Through Thai Stock Market

  • 1. รู ้ทันตลาดทุน สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ http://www.facebook.com/SarineeA Twitter: @fringer 13 มิถนายน 2011 @ TDRI ุ งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) ั โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน ้ ้ กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน ่ี ้ ั ้
  • 2. ตลาดทุนมีบทบาทมากกว่าทีคนทั่วไปเข ้าใจ ่ • Capital Allocation : บทบาทในการจัดสรรทุน และพัฒนาเศรษฐกิจ • Sustainable Development : บทบาท ในการขับเคลือนสงคมสู่ ่ ั การพัฒนาทียั่งยืน (หรือ ่ หนุนเสริมการพัฒนาทีไม่ ่ ยั่งยืนต่อไป) 2
  • 4. ธุรกิจทรัพยากร+ธุรกิจการเงิน = 50% ตลท. จานวนบริษทจดทะเบียน = 542 บริษท ั ั มูลค่าตลาด (market cap) = 8.82 ล้านล้านบาท mai NPG 0.9% Other Instrument** mai TECH 0.1% 0.2% 67 8% NPG AGRO 41 SERVICE AGRO 25 12% 6% TECH CONSUMP 38 CONSUMP 1% 39 FINCIAL FINCIAL 21% SERVICE 60 84 RESOURC 29% RESOURC INDUS 27 INDUS* 8% 80 PROPCON* PROPCON 81 13% ทีมา : SETSMART, ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2554 ่ * ตังแต่วนที่ 4 ม.ค. 54 ตลาดหลักทรัพย์ฯ เพิมหมวดธุรกิจเหล็ก โดยย้าย ้ ั ่ หมายเหตุ : ข้อมูลของ SET และ mai หลักทรัพย์มาจากหมวดวัสดุก่อสร้างและหมวดวัสดุอุตสาหกรรมและเครืองจักร ่ Other Instruments ประกอบด้วย หุนบุรมสิทธิ (Preferred Stock) และใบสาคัญแสดงสิทธิ (Warrants) ้ ิ 4
  • 5. เนืองจากหุ ้น 20 ตัวทีใหญ่ทสดมี ่ ่ ี่ ุ มูลค่าตลาดร ้อยละ 60.5 ของทัง ้ ื้ ตลาด และมีมลค่าการซอขายร ้อยละ ู ้ื 48.2 ของมูลค่าการซอขายทังตลาด ้ การกระจุกตัวของหุ ้นใหญ่ในมือรัฐ จึง ่ สงผลให ้ตลาดมีสภาพคล่อง (Free ่ Float) ตา มีสวนให ้ต ้นทุนทางอ ้อม ่ ของนักลงทุน (bid-ask spread) สูง ิ้ ตามไปด ้วย (ข ้อมูล ณ สนปี 2552) 5
  • 6. ื้ นักลงทุนรายย่อย <5 แสนคน ซอขาย ~60% มูลค่าการซื้อขาย (transaction value) ตามประเภทนักลงทุน Unit: Percent ทีมา : SETSMART, ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2554 ่ 6 หมายเหตุ : ข้อมูลของ SET และ mai
  • 7. ตลาดที่ “ตืน” มีความผันผวนสูง  ต ้นทุนสูง ้ ค่าเฉลียความผันผวนของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในช่วง 90 วัน (average 90-day ่ volatility of historical closing prices) ระหว่างปี 2005-2007 7 ที่มา: ตลท., อ้ างอิงจาก Bloomberg ณ สิ ้นเดือนธันวาคม 2007
  • 8. ธรรมาภิบาลบางด ้านตาเมือเทียบกับเพือนบ ้าน ่ ่ ่ Equitable Rights of treatment of Roles of Disclosure & Responsibilities Country shareholders shareholders stakeholders transparency of the Board India 83 50 88 75 79 Korea 75 58 81 75 58 Thailand 68 67 67 71 58 Philippines 67 67 38 38 42 Indonesia 46 50 50 50 50 ทีมา: CG ROSC, ข้อมูลปี 2005 ่ 8
  • 9. บริษัทหลักทรัพย์มอานาจเหนือ ตลท. ี ี่ ี่ ้ ตลท. ไม่เคยเปิ ดเผยมติทประชุมคณะกรรมการ เว ้นแต่กรณีทใชแถลงข่าวเท่านัน ้ กลุ่มอิทธิพล 1: โครงสร้างทางการ กลุ่มอิทธิพล 2: สภาธุรกิจตลาดทุนไทย กรรมการที่ ก.ล.ต. แต่งตัง ้ กรรมการตัวแทนจาก FetCo* ไม่เกิน 5 คน ต้องมาจาก บริษทสมาชิก 3 คน และ ั บจ. อย่างน้อย 1 คน บริษทจดทะเบียน 2 คน ั สมาคม บล. เลือกตัง ผูจดการ ตลท. ้ ้ั เลือกตัง ้ สมาคม บลจ. สมาคม บจ. คณะกรรมการ ตลท. 11 คน สมาคมส่งเสริมผูลงทุนไทย ้ กากับดูแล เป็ นสมาชิก สมาคมนักวิเคราะห์ บริษทสมาชิก ั *FetCo = Federation of Thai Capital Market Organizations คือ ชือภาษาอังกฤษของสภาธุรกิจตลาดทุนไทย ่ 9
  • 10. ปั ญหาในมุมมองคณะกรรมการพัฒนาตลาดทุน 1 „ สัดส่วนนักลงทุนรายย่อยสูงทาให้ตลาดมีความผันผวนสูงส่งผลต่อมูลค่าราคาหลักทรัพย์ ตลาดตราสารทุน „ ขาดสมดุลทางสภาพคล่องและเสถียรภาพทางราคา เนื่องจากสัดส่วนของผูลงทุนสถาบันใน ้ ประเทศค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับตลาดทุนต่างประเทศ 2 „ เป็ นตลาดทีขาดสภาพคล่อง และยังไม่เติบโตเท่าทีควร ่ ่ ตลาดตราสารหนี้ „ ยังขาดแคลนตราสารหนี้ภาคเอกชน เนื่องจากยังไม่ได้รบความนิยมจากนักลงทุนและตัวบริษทเอง ั ั 3 „ ขาดตราสารทีใช้ป้องกันความเสียง ่ ่ ตราสารอนุพนธ์และ ั นวัตกรรมอื่นๆ „ ขาดนวัตกรรมทางการเงินทีมความหลากหลายสามารถตอบสนองความต้องการได้ครบถ้วน ่ ี 4 „ พึงพิงรายได้จากค่าธรรมเนียมซือขายหลักทรัพย์กว่าร้อยละ 80 ่ ้ สถาบันตัวกลาง „ มีขนาดฐานทุนทีเล็ก ทาให้มขอจากัดในการทาธุรกรรมทีหลากหลายได้ ่ ี ้ ่ 5 „ ส่วนใหญ่ยงมีขนาดเล็ก เมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ ั บริ ษทจดทะเบียน ั ั „ ประสบปญหาจากข้อจากัดในขีดความสามารถ „ ยังมีขอด้อยในเรื่องของการปกป้องสิทธิผถอหุนรายย่อยและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ้ ู้ ื ้ 6 „ ประชาชนยังขาดความรูความเข้าใจในตลาดทุน ้ นักลงทุน 7 „ ขาดความยืดหยุนในการกากับดูแล ่ หน่ วยงานกากับดูแล 10
  • 11. 2012 : จุดเปลียนตลาดหุ ้นไทย ่ • เปิ ดเสรีธรกิจหลักทรัพย์ ุ ื้ • เปิ ดเสรีคาธรรมเนียมซอขายหลักทรัพย์ ่ • ออกกฎหมายแปรสภาพ ตลท. เป็ นบริษัทมหาชน และเตรียมตัว กระจายหุ ้นให ้กับประชาชน นาเข ้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ไทย (ในอีก 2-3 ปี ) – ครม. มีมติเห็นชอบ พ.ค. 2553 ปั จจุบนอยู่ ั ั้ ในชนกฤษฎีกา • เปิ ดเสรีธรกิจตลาดหลักทรัพย์ (อยูในกฎหมายแปรสภาพ ตลท.) ุ ่ ื่ • เปิ ดตัว ASEAN Linkage - virtual stock exchange เชอมตลาดหุ ้น ไทย มาเลเซย ฟิ ลปปิ นส ์ สงคโปร์ อินโดนีเซย และเวียดนาม ี ิ ิ ี 11
  • 12. ิ ประสทธิภาพของตลาดมีฐานหลัก 3 ฐาน ประสิทธิภาพของตลาด (Market Efficiency) ฐานและความหลากหลาย ของนักลงทุน สภาพคล่ อง (Size & Variety of Investor Base) (Liquidity) โครงสร้ างเสริม ราคาที่สะท้ อนข้ อมูล ต้ นทุนการซือขาย ้ (Complementary ที่ครบถ้ วนและเที่ยงตรง ทังทางตรงและทางอ้ อม ้ Infrastructure) (Accurate Pricing) (Transaction Costs) ตลาด Repo มาร์ จน & ชอร์ ต ิ ระดับธรรมาภิบาลในตลาด โครงสร้ างพืนฐานของตลาด ้ การให้ ก้ ยืมหลักทรั พย์ ู (Corporate Governance) (Market Infrastructure) ตลาดตราสารอนุพนธ์ ั สิทธิของผู้ถือหุ้น รูปแบบการส่ งคาสั่ง มาตรฐานการเปิ ดเผยข้ อมูล ความเร็วของการทารายการ ทีมา : Swati Ghosh & Ernest Revilla, ่ “ Enhancing the Efficiency of มาตรฐานการบังคับใช้ กฎหมาย ระบบ real-time settlement Securities Markets in East Asia,” 12 World Bank, 2007.
  • 13. กฎหมายหลักทรัพย์ท ี่ “ได ้ผล” เอือเอกชน ้ Market cap/GDP บทสรุปจากงานวิจัย “What Works in Securities Laws?” (La Porta, Lopez- ึ่ de-Silanes, Shleifer, 2006) ซง สารวจกฎหมายหลักทรัพย์ 49 ประเทศ Enforcement of shareholders rights • ตลาดการเงินพัฒนาไม่ได ้หาก ทีมา: Development Research Group, World Bank, ่ March 2002 ปล่อยให ้กากับดูแลตัวเอง • กฎหมายหลักทรัพย์ “ทางาน” ด ้วยการเกือหนุนธุรกรรมระหว่างเอกชน ้ ้ มากกว่าการบังคับใชกฏหมายของภาครัฐ – ประเทศทีมมาตรฐานการ ่ ี เปิ ดเผยข ้อมูลและมาตรฐานการรับผิดสูง (นักลงทุนฟ้ องเรียกผล ขาดทุนคืนได ้ง่าย) จะมีขนาดของตลาดหุ ้นใหญ่ตามไปด ้วย 13
  • 14. ธรรมาภิบาลทีดต ้องมี “สมดุล” สามด ้าน ่ ี แนวโน้ มปั จจุบน: ผู้กากับ ั Regulatory Disciplines ดูแลทัวโลกผ่อนคลายการ ่ การกากับดูแลของทางการ กากับโดยตรง ไปหนุน market & self regulation มากขึ ้น Market Disciplines Self Disciplines กลไกตลาดและกระแสสังคม การกากับตัวเองของเอกชน คาถาม : ในประเทศไทย ซึ่งนักลงทุนรายย่ อยยังมีจานวนน้ อย มีความรู้ น้อย และ ตัวการรายใหญ่ ยงไม่ เคยถูกลงโทษ “สมดุล” ระหว่ างสามด้ านนีควรเป็ นอย่ างไร? ั ้ 14
  • 15. ิ นักลงทุนไทยยังเผชญอุปสรรคมากมาย • ยังไม่มกฏหมายฟ้ องคดีแบบรวมกลุม (Class Action) – ร่าง ี ่ กฎหมายผ่าน ครม. แล ้ว (กฏหมายนีอยูในแผนพัฒนาตลาดทุน) ้ ่ ้ • ต ้องใชหุ ้นถึง 5% ในการเพิมวาระหรือจัดประชุมวิสามัญผู ้ถือหุ ้น ่ • ผู ้ถือหุ ้นฟ้ องบุคคลทีสามแทนกรรมการ (derivative suit) ไม่ได ้ ่ • ไทยยังไม่ม ี shareholder activists ตัวจริง (รายย่อยหรือสถาบัน) ื • กฎบางฉบับยังเป็ น “เสอกระดาษ” (อาทิ มาตรการจัดการหุ ้นร ้อน) ั ้ • ก.ล.ต. ยังไม่บงคับใชกฎหมายกับสถาบันตัวกลางเท่าทีควร บาง ่ ่ ่ ิ กรณีสอเค ้าว่าเป็ นการ “ชวยเหลือ” (อาทิ กรณี วิสฐ ตันติสนทร ุ อดีตเลขาฯ กบข. และ มาริษ ท่าราบ อดีต MD กองทุนไอเอ็นจี) 15
  • 16. โครงสร ้างการระดมทุนในตลาดทุนไทยยังไม่ สอดคล ้องกับขนาดของภาคธุรกิจต่างๆ 2531 ‟ 2543 2544 - 31 พฤษภาคม 2550 ตราสาร ตราสาร ตราสาร ภาคธุรกิจ GDP ทุน สินเชื่อ GDP หนี้ ทุน สินเชื่อ อุตสาหกรรม การส่งออก และ การนาเข้า 31.6 16.9 36.7 34.6 3.9 21.4 27.6 การบริการ อุปโภคบริโภคของ ประชาชน และสาธารณูปโภค 20.0 10.4 22.4 22.8 16.7 38.0 29.7 การค้าส่งและค้าปลีก 16.5 2.0 16.7 15.1 7.1 0.4 16.2 สถาบันการเงิน ก่อสร้าง และ อสังหาริมทรัพย์ 12.1 67.3 21.1 9.3 72.4 40.0 24.1 เกษตรกรรม 10.2 - 2.5 10.1 - - 2.1 เหมืองแร่ 4.1 3.5 0.6 2.8 - 0.1 0.4 การบริหารและป้องกันประเทศ 3.0 - - 4.5 - - - สถานทีอยูอาศัย ่ ่ 2.5 - - 0.8 - - - รวมทังหมด ้ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 16
  • 17. บทบาทของตลาดทุนในการขับเคลือน ่ ั ่ สงคมสูการพัฒนาทียั่งยืน ่
  • 19. เหตุผลทีบริษัทอยากทาธุรกิจทียงยืน ่ ่ ั่ แต่ละบริษัทมีเหตุผลทีแตกต่างกันในการนาหลัก “การ ่ ้ พัฒนาอย่างยั่งยืน” มาใชในการดาเนินธุรกิจ ี • แรงจูงใจทางศลธรรม ี่ • ลดต ้นทุนและลด/บริหารความเสยง ิ ิ • ประโยชน์ด ้านประสทธิภาพเชงนิเวศ เหล่านีคอ ้ ื (eco-efficiency) “เหตุผลทาง • สร ้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีแตกต่างจาก ่ ธุรกิจ” คูแข่ง (product differentiation) ่ • เป็ นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะ ยาว (“creative destruction”) 19
  • 20. “Push factors” เป็ นทังวิกฤตและโอกาส ้ ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ 5 ประเด็นร ้อน ่ ี 5 ผู ้มีสวนได ้เสย สาคัญทีผลักดัน ่ ภาวะสภาพภูมอากาศ ิ ่ ่ ผู ้บริโภคทีใสใจ เปลียนแปลง ่ ิ่ สงแวดล ้อม มลพิษและอันตราย ผู ้ถือหุ ้นนัก ต่อสุขภาพ เคลือนไหว ่ การต่อต ้านโลกาภิ ภาคประชาสังคม/ วัตน์ทไม่เป็ นธรรม ี่ เอ็นจีโอ วิกฤตพลังงาน ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/ นักวิทยาศาสตร์ ความไว ้วางใจของ ประชาชน ประชาชนในภาค ื่ ธุรกิจเสอมถอย ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social 20 Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
  • 21. “Pull factor” : ธุรกิจใหม่ทยงยืนโตเร็ว ี่ ั่ เสือผ้ า ้ 50% ออร์ แกนิก อ ัตราการเติบโตต่อปี (%) $583 ล้ าน 40% สินค้ า แฟร์ เทรด 30% $2.2 ไมโคร พันล้ าน 20% อาหารปลอด ไฟแนนซ์ สารพิษ $7 พันล้ าน 10% $15.5 พันล้ าน รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009 ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation ่ 21
  • 22. “Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล ้านล ้าน • ทัวโลกมีคนทีมรายได ้ตากว่า ่ ่ ี ่ $2 ต่อวัน 2.6 พันล ้านคน  รายได ้น ้อย แต่มจานวนมาก ี • ถ ้าบุก “ตลาดคนจน” สาเร็จ ก็ ่ ั จะได ้กาไรและชวยสงคม ่ (ชวยคนจน) ไปพร ้อมกัน 22
  • 23. การลงทุนเพือความยั่งยืนเติบโตเร็วมาก ่ ั การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible ่ investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทั่วโลก ่ • $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน – เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา ่ ่ ่ • ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้ อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ) ่ ้ • มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป • กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย • ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว – ่ Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini Social Index 23
  • 24. Global Reporting Initiative (GRI) • ชุดหลักเกณฑ์ในการผลิต “รายงานความยังยืน” (sustainability ่ ่ report) – บางบริษัท (สวนน ้อย) ยังเรียก “รายงานความ ั รับผิดชอบต่อสงคม” (CSR report) ั • ครอบคลุม “ผลงาน” ทุกด ้านของบริษัท – ต่อเศรษฐกิจ สงคม ิ่ และสงแวดล ้อม • พัฒนามาจาก CERES Principles จนปั จจุบนเป็ นเครือข่ายทีม ี ั ่ ิ สมาชก 30,000 รายทัวโลก มีบริษัททีผลิตรายงานตามเกณฑ์ ่ ่ GRI 1,500 แห่ง ่ • เป้ าหมายหลักของ GRI คือการสงเสริมให ้องค์กรทุกรูปแบบ จัดทารายงานความยังยืนอย่างสมาเสมอและมี “มาตรฐาน” เพียง ่ ่ ้ พอทีจะให ้คนนอกใชเปรียบเทียบผลงานระหว่างองค์กรได ้ ไม่ ่ ต่างจากการรายงานงบการเงินประจาปี 24
  • 25. ่ GRI สวนที่ 1: หลักในการทารายงาน • ่ ้ หลักทีบริษัทใชในการกาหนด “คุณภาพ” ของรายงาน มีหกประเด็นได ้แก่ – ระดับความสมดุลของเนือหา (balance) - ต ้อง ้ ิ ิ รายงานทังผลงานเชงบวกและเชงลบ ้ – ระดับการเปรียบเทียบได ้(กับองค์กรอืน) ่ (comparability) – ระดับความถูกต ้องเทียงตรง (accuracy) ่ – ระดับความทันท่วงทีของการรายงาน (timeliness) – ื่ ระดับความเชอถือได ้ของข ้อมูล (reliability) – ั ระดับความชดเจน (clarity) 25
  • 26. ่ GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย ่ ่ สวนที่ 2: Standard Disclosures • ่ สวนนีนับเป็ น “ผลผลิต” ของหลักในการทารายงานทีอธิบายใน ้ ่ ่ ิ ิ สวนแรก ประกอบด ้วยข ้อมูลเชงคุณภาพและเชงปริมาณ แบ่งเป็ น ่ ี้ ั สองสวนย่อยได ้แก่ คาอธิบาย (Profile) และดัชนีชวดผลงานของ บริษัทในด ้านต่างๆ หกด ้าน (Performance Indicators) • คาอธิบาย (Profile) - จากมุมมองของการพัฒนาอย่างยังยืน ่ – กลยุทธ์และบทวิเคราะห์ (strategy and analysis) – โครงสร ้างองค์กรและธุรกิจหลัก (organizational profile) – ขอบเขตของรายงาน (report parameters) – โครงสร ้างการบริหารจัดการ (governance) ด ้านความรับผิดชอบต่อ ั สงคม – พันธะต่อข ้อตกลงภายนอก (commitment to external initiatives) – ่ ่ ี กระบวนการการมีสวนร่วมของผู ้มีสวนได ้เสย (stakeholder engagement) 26
  • 27. ตัวอย่าง: stakeholder engagement ของ SCG Paper ผูมีส่วนได้เสี ย ้ กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ ู้ ผูถือหุ้น ้ การประชุมสามัญประจาปี สาหรับผูถอ ้ ื  ชือเสียงและความสามารถในการแข่งขัน ่ หุนรายย่อย, ระบบธรรมาภิบาล, ้ ของบริษท ั รายงานประจาปี , เว็บไซต์ของบริษทั  ผลตอบแทนจากการลงทุน ลูกค้า การเยียมเยียนลูกค้าโดยพนักงาน ่  ราคายุตธรรม ิ  ส่งสินค้าตรงเวลา  คุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า  สินค้าทีเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม ่ ่ ซัพพลายเออร์ การประเมินซัพพลายเออร์, การเยียม ่  ราคายุตธรรม ิ เยือนซัพพลายเออร์รายใหญ่, โครงการ  จ่ายเงินตรงเวลา สานสัมพันธ์กบซัพพลายเออร์ ั 27
  • 28. ตัวอย่าง: stakeholder engagement ของ SCG Paper (ต่อ) ผูมีส่วนได้เสี ย ้ กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ ู้ พนักงาน คณะกรรมการสวัสดิการ, แบบสารวจ  ทิศทางและนโยบายบริษท ั ความคิดเห็นของพนักงาน, การเยียม ่  ความมั ่นคงในงาน เยือนพนักงานของผูบริหาร ้  ค่าตอบแทนทีเป็ นธรรม ่  สภาพแวดล้อมในการทางาน ชุมชน การสารวจความคิดเห็น, การเยียมเยือน  ่ โอกาสในการทางาน ชุมชน, โครงการ open house,  การรักษาสิงแวดล้อม ่ โครงการสานสัมพันธ์กบชุมชน ั  การพัฒนาชุมชน องค์กรของรัฐ การเยียมเยียนของผูบริหาร, การสร้าง  ่ ้ การปฏิบตตามกฎหมาย ั ิ พันธมิตรเพือส่งเสริมการพัฒนาอย่าง ่  การช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ยั ่งยืน องค์กรพัฒนาเอกชน การขอคาปรึกษาเกียวกับชุมชน, การ ่ การเพิมมูลค่าทางสังคม ่ (เอ็นจีโอ) พบปะสนทนา, การสร้างพันธมิตรเพือ ่ การให้การสนับสนุ นโครงการด้านสังคม ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั ่งยืน และสิงแวดล้อม ่  สุขภาวะและความเจริญของสังคม 28 28
  • 29. ่ GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ) ่ ี้ ั ดัชนีชวดผลงานของบริษัท (Performance Indicators) ได ้แก่ ิ่ ่ 1. ดัชนีด ้านสงแวดล ้อม เชน ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีบริษัทปล่อย ่ ในรอบปี , ปริมาณน้ าทีใช,้ ค่าปรับกรณีละเมิดกฎหมายด ้าน ่ ิ่ สงแวดล ้อมทีจายให ้กับรัฐ ่ ่ ิ ่ ั ่ ิ 2. ดัชนีด ้านสทธิมนุษยชน เชน สดสวนของลูกจ ้างทีเป็ นสมาชก ่ สหภาพแรงงาน, จานวนกรณีความลาเอียงในทีทางานและการ ่ จัดการของบริษัทในกรณีเหล่านี้ ่ ั ่ 3. ดัชนีด ้านแรงงานและพนักงาน เชน สดสวนของลูกจ ้างและ ิ พนักงานทีเป็ นสมาชกสหภาพแรงงาน, อัตราการออกของ ่ ั่ พนักงาน (turnover rate), จานวนชวโมงการอบรมทีพนักงาน ่ ่ ่ ได ้รับโดยเฉลีย, อัตราสวนเงินเดือนขันตาของพนักงานชายต่อ ้ ่ เงินเดือนขันตาของพนักงานหญิง ้ ่ 29
  • 30. ่ GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ) ่ ั ่ 4. ดัชนีด ้านสงคม เชน คาอธิบายหลักการ ขอบเขต และประสทธิผล ิ ของโครงการหรือกระบวนการทีประเมินและบริหารจัดการ ่ ผลกระทบของการดาเนินธุรกิจของบริษัทต่อชุมชน โดย ครอบคลุมตังแต่ขนตอนการริเริมกิจการในชุมชน (เชน สร ้าง ้ ั้ ่ ่ โรงงานใหม่) การดาเนินกิจการ และการล ้มเลิกหรือย ้ายออกจาก ั่ พืนที, การจัดการกรณีเกิดเหตุฉ ้อฉลหรือคอร์รัปชนของพนักงาน ้ ่ ่ 5. ดัชนีด ้านความรับผิดชอบต่อผู ้บริโภค เชน คาอธิบายกระบวนการ ี ้ ิ ติดฉลากและวิธใชสนค ้าและบริการ, มูลค่าค่าปรับฐานละเมิด กฎหมายด ้านความปลอดภัยของสนค ้า ิ ่ 6. ดัชนีด ้านเศรษฐกิจ เชน มูลค่าทางเศรษฐกิจทีบริษัทสร ้างและ ่ ่ ี ้ จัดสรรไปยังผู ้มีสวนได ้เสยฝ่ ายต่างๆ อาทิ รายได ้ ค่าใชจ่ายใน การดาเนินงาน ค่าตอบแทนพนักงาน เงินบริจาค เงินลงทุนใน ่ ชุมชน กาไรสะสม (สวนของผู ้ถือหุ ้น) เงินต ้นและดอกเบีย (จ่าย ้ คืนให ้กับเจ ้าหนี) และภาษี (จ่ายให ้กับรัฐ) ้ 30
  • 31. ตลาดหุ ้นไทยอยูตรงไหนในภาพนี้? ่ • มีองค์กรสนับสนุนต่างๆ ในระดับหนึง – CSR Institute ของ ตลท., ่ CSR Club ของกลุมบริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ แต่ยงไม่ได ้ ่ ั ่ สงเสริมสนับสนุน in-process CSR (ความรับผิดชอบในกระบวนการ ดาเนินธุรกิจ) อย่างจริงจัง ั ิ่ • ทางการยังไม่เพิมประเด็นสงคมและสงแวดล ้อมเข ้าไปในกฎการ ่ เปิ ดเผยข ้อมูลของบริษัทจดทะเบียน (หลายประเทศทาแล ้ว) ี ่ • ซเอสอาร์ปัจจุบนเป็ น “กระแส” อย่างแพร่หลาย แต่สวนใหญ่ยังเป็ น ั แค่พอาร์ หรือ “คืนกาไรสูสงคม” (after-process ไม่ใช ่ in-process ี ่ ั CSR) – ตราบใดทีข ้อมูลไม่แพร่หลาย ก็วดผลทีแท ้จริงยาก ่ ั ่ 31