SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ื่                     ื่ ั
สออินเทอร์เน็ ตในฐานะ “สอสงคม” และ
    การกากับดูแลกันเองของชุมชนเน็ ต
                                 สฤณี อาชวานันทกุล
                        http://www.thainetizen.org/
                                                          25 มกราคม 2552

                                ิ
         งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial
              ้
         Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน
                      ่      ่
         ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่
                                  ่            ้                         ี่
                 ้                                                ิ ์
         นาไปใชในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น
                                                                            ้     ้
Internet as “Social Media”
ภาคสาธารณะ (The Commons)
( of creativity & culture)




                             ….and
                             countless others.
The Commons: วัฒนธรรมการเมืองใหม่
        ่             ่       ิ่ ่
 1. “เรืองราว” ใหม่เพือทวงคืนสงทีเคยเป็ นของ
    เราในอดีต
 2. ทักษะด ้านเทคนิคสามารถสร ้างพฤติกรรมที่
    เป็ นประชาธิปไตยได ้
               ื่        ี
 3. ความน่าเชอถือทางศลธรรม, ความ “แท ้”
    ทางวัฒนธรรม
 4. The commons ในฐานะภาคทีสามที่่
    “แข่งขัน” กับภาครัฐและภาคเอกชนได ้
“You never change things by fighting the
            existing reality.
To change something, build a new model
that makes the existing model obsolete.”

                  --R. Buckminster Fuller
่       ี
“ผู ้มีสวนได ้เสย” ในอินเทอร์เน็ ต
• รัฐ
• ผู ้ให ้บริการ (ไอเอสพี)
• เว็บโฮส
• เว็บมาสเตอร์
• ผู ้ดูแลเว็บบอร์ด / บล็อกเกอรทีเปิ ดพืนทีคอม
                                 ่      ้ ่
  เม ้นท์
              ้
• ประชาชนคนใชเน็ ต
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

     + free culture    Norman Rockwell, Four Freedoms




      = “ประวัตศาสตร์หน ้าใหม่ทพลเมืองสร ้าง”
               ิ               ี่
พลเมืองเน็ ตให้คณค่าก ับ:
                ุ
• การเข ้าถึงโดยเสรี (Open access)
                 ่
• เสรีภาพในการมีสวนร่วม (Freedom
  to participate)
• ความโปร่งใส (Transparency)
• พรสวรรค์และการคิดค ้นนวัตกรรม
  (Talent & innovation)
                   ั
• ความเท่าเทียมทางสงคม (Social
                                                         ่
                                      “เสรีภาพ คือการมีสวนร่วม
  equity)                            ในอานาจ”
                                                  - Cicero
• การกระจายศูนย์อานาจ
  (Decentralized authority)
กลไก “การกากับดูแลกันเอง”
• ไอเอสพี และเว็บโฮส
                 ้
  – ข ้อตกลงการใชงาน
  – เงือนไขในการให ้บริการ
       ่
• ผู ้ดูแลเว็บ/เว็บบอร์ด
                              ิ
  – ข ้อตกลงก่อนเข ้าเป็ นสมาชก
  – นโยบายการดูแลเว็บ/เว็บบอร์ด
              ื่
• บล็อกเกอร์/สอพลเมือง
                            ื่
  – จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์/สอพลเมือง
         ้
• ผู ้ใชเน็ ตทั่วไป
  – มารยาทบนเน็ต (netiquette)
ความรับผิดชอบของพลเมืองเน็ ต
                  ิ
• พลเมืองเน็ ตมีสทธิเสรีภาพในการแสดงความ
  คิดเห็น แต่ต ้องเป็ นความคิดเห็นทีชอบธรรม (fair
                                    ่
  comment):
     • ตังอยูบนพืนฐานของข ้อเท็จจริง (based on facts)
         ้   ่   ้
     • มีเจตนาดี (made in good faith)
     • ตีพมพ์โดยปราศจากเจตนาร ้าย (without malice)
          ิ
     • เกียวกับประเด็นสาธารณะ (matter of public interest)
          ่

                                              ี่
• ถ ้าไม่เข ้าข่ายเหล่านี้ ก็ต ้องยอมรับความเสยงทีจะมี
                                                   ่
  ใครร ้องเรียนหรือฟ้ องร ้องในข ้อหาละเมิดสทธิ  ิ
ตัวอย่างจรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
• ตัวอย่างนีแปลและสรุปจาก
            ้
  http://www.cyberjournalist.net/
                                              ิ่ ่
• บล็อกเกอร์ทมความรับผิดชอบควรตระหนั กว่าสงทีพวกเขา
               ี่ ี
  เผยแพร่นัน ผู ้คนสามารถอ่านมันได ้จากทั่วโลก ดังนันควร
           ้                                        ้
                                                 ั
  จะมีจรรยาบรรณต่อผู ้อ่าน, บุคคลทีเขียนถึงและสงคมด ้วย
                                   ่
  โดยสรุปได ้ดังนี้
   ื่ ั     ื่
• ซอสตย์และซอตรง
  – อย่าขโมยความคิดหรือดัดแปลงผลงานของผู ้อืนโดยไม่ขออนุญาต
                                             ่
                        ่ ิ
    และควรอ ้างอิงหรือใสลงค์ของเจ ้าของผลงานทุกครังทีนามาใช ้
                                                  ้ ่
  – อย่าเผยแพร่ข ้อมูลทีไม่เหมาะสม และแยกแยะระหว่างข ้อคิดเห็น
                          ่
                        ั
    กับข ้อเท็จจริงให ้ชดเจน
ตัวอย่างจรรยาบรรณของบล็อกเกอร์ (ต่อ)
• ลดอันตรายให ้เกิดน ้อยทีสด
                          ่ ุ
                                 ั
  – ระมัดระวังในการเผยแพร่บทสมภาษณ์ หรือรูปทีเกียวกับ
                                                 ่ ่
    โศกนาฏกรรมหรือประเด็นอ่อนไหว
                  ี
  – แสดงความเสยใจต่อบุคคลทีได ้รับผลกระทบจากเนือหาของบล็อก
                               ่                     ้
  – ตระหนักว่าการเก็บรวบรวมข ้อมูลไว ้มากๆ อาจเป็ นสาเหตุให ้เกิด
    ความไม่สะดวกหรืออันตรายได ้
                         ื่
  – ระมัดระวังไม่เผยแพร่สอลามกหรือข ้อมูลทีกอให ้เกิดอาชญากรรมได ้
                                            ่ ่
• มีความรับผิดเสมอ
                           ่ ื่
  – คัดเลือกแหล่งข ้อมูลทีเชอถือได ้ และเปิ ดเผยการกระทาทีไร ้
                                                          ่
    จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์คนอืนๆ  ่
  – รับทราบความผิดพลาดและแก ้ไขให ้เรียบร ้อยอย่างทันท่วงที
                          ั ้           ั
  – เปิ ดเผยผลประโยชน์ทบซอน, ความสมพันธ์, กิจกรรม และวาระ
      ่
    สวนตัว (personal agenda)
้
ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต
• ตัวอย่างนีแปล สรุป และดัดแปลงจาก Netiquette Guidelines ของ
            ้
  มหาวิทยาลัย Delaware Tech
  (http://www.dtcc.edu/cs/rfc1855.html)
                     ้
• แนวทางสาหรับผู ้ใชอีเมล์
                       ้
  – แม ้ว่าคุณจะใชอินเตอร์เน็ ตทีบ ้านผ่านผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต แต่ก็ควร
                                      ่
                              ั
    ตรวจสอบให ้แน่ชดก่อน ว่าใครเป็ นเจ ้าของอีเมล์ในกล่องอีเมล์ของคุณ
    เพราะกฎแต่ละทีไม่เหมือนกัน
                            ่
                                  ้         ่
  – ระลึกไว ้ว่าแม ้ว่าคุณจะใชรหัสลับสวนตัว แต่อเมล์ก็เหมือนไปรษณียบัตร
                                                          ี
    ทีข ้อความอาจถูกเปิ ดอ่านได ้เสมอ
        ่
                         ิ ์
  – ควรเคารพลิขสทธิของวัตถุดบต่างๆ ทีคณนามาใชหรือสร ้างใหม่
                                        ิ     ่ ุ           ้
             ่
  – ถ ้าคุณสงต่อข ้อความหรือโพสข ้อความทีคณได ้รับมา อย่าเปลียน
                                                  ่ ุ                 ่
    ข ้อความหรือเนือความในนัน ถ ้าข ้อความทีคณได ้รับนั นเป็ นข ้อความ
                          ้         ้                 ่ ุ     ้
      ่
    สวนตัว ก่อนทีจะตังกระทู ้ต่อคุณต ้องขออนุญาตก่อน และต ้องมั่นใจว่า
                     ่          ้
               ่
    คุณได ้สงข ้อความต่ออย่างไม่บดเบือน และอย่างเหมาะสม
                                          ิ
้
ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ)
                     ้
 • แนวทางสาหรับผู ้ใชอีเมล์ (ต่อ)
   – อย่าสงอีเมล์ลกโซ่ และจงเป็ นอนุรักษ์ นยมในสงทีคณสงออกไป และ
              ่          ู                                ิ ิ่ ่ ุ ่
                      ิ่ ่ ุ
     เสรีนยมในสงทีคณได ้รับ
            ิ
                               ่             ่ื
   – บางครังอีเมล์หนึง อาจเป็ นชอกลุมอีเมล์ก็ได ้ ดังนันควรตรวจสอบก่อน
                  ้                                   ่        ้
      ่                      ่
     สง เพือไม่ต ้องสงให ้คนอืนทีไม่จาเป็ น
                ่                       ่ ่
                                                ่ ่
   – ในขณะตอบอีเมล์ ควรดูวาผู ้สงสงต่อให ้ใครอีกบ ้าง และถ ้าเป็ นการตอบ
                                      ่
     โต ้กันแค่ 2 คน ก็ไม่ต ้องสงต่อไปอีก่
                                                 ี่ ุ ่ ้
   – เขียนเตือนผู ้รับก่อนว่าอีเมล์ทคณสงนัน “ยาว” ถ ้าอีเมล์นันมีความยาว
                                                                     ้
     มากกว่า 100 บรรทัด
   – ควรพึงระลึกไว ้ว่า ผู ้รับนันอาจแตกต่างจากคุณ ดังนั นควรระวังเรือง
                                    ้                             ้    ่
     ภาษาและวัฒนธรรมในการสงอีเมล์          ่
                           ่
   – พยายามอย่าสงอีเมล์ทใหญ่กว่า 50 กิโลไบต์ ถ ้าไม่จาเป็ น และอย่าสง
                                 ี่                                      ่
     ข ้อมูลทีผู ้รับไม่ได ้เรียกร ้องไปให ้คนอืนมากนัก
                    ่                                   ่
้
ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ)
 • แนวทางสาหรับการพูดคุยผ่านอินเตอร์เน็ ต
        ้
   – ใชภาษาให ้ถูกต ้อง อ่านง่าย รวมทังอย่าเขียนให ้ยาวเกิน 70 ตัวอักษร
                                      ้
     หรือยาวกว่า 12 บรรทัด
   – ทักทายและรอให ้ผู ้อืนเอ่ยคาลาก่อนจะออฟไลน์เสมอ
                          ่
   – พูดคุยในเรืองทีเหมาะสม และหลีกเลียงการคุยกับคนแปลกหน ้า
                ่   ่                   ่
 • แนวทางสาหรับผู ้ดูแลระบบ
   – แน่ใจว่าคุณมีคมอสาหรับจัดการกับสถานการณ์ทออนไหว เชน เนือหา
                    ู่ ื                                   ี่ ่     ่ ้
     ผิดกฎหมาย หรือไม่เหมาะสม
                                                          ้ ่ ่
   – จัดการกับข ้อเรียกร ้องและการแจ ้งเตือนของผู ้ใชทีเกียวกับข ้อความผิด
     กฎหมายหรือไม่เหมาะสม ภายในเวลารวดเร็ว รวมทังกาจัดอีเมล์ลกโซ่
                                                                ้       ู
     และเมล์ไม่พงประสงค์ (spam) ในทันที
                  ึ
                                       ั
   – อธิบายกฎต่างๆ ของระบบให ้ชดเจน และมีบริการแจ ้งกลับเมือไม่   ่
               ่
     สามารถสงอีเมล์ได ้
   – รับทราบข ้อคิดเห็นของผู ้ใช ้ ด ้วยจิตใจทีเปิ ดกว ้าง
                                               ่
้
ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ)
          ่              ้
• แนวทางทัวไปสาหรับการใชเมล์ลสต์และเว็บบอร์ด
                             ิ
  – ลองอ่านทังเมล์ลสต์และกลุมข่าว ก่อนทีจะตังกระทู ้อะไร เพือทาให ้
                  ้       ิ         ่              ่   ้           ่
    เข ้าใจวัฒนธรรมของกลุมมากขึน
                               ่          ้
                                            ้
  – อย่ากล่าวหาผู ้ดูแลระบบ ถ ้าผู ้ใชในระบบบางคนมีพฤติกรรมไม่พง     ึ
    ประสงค์
                                      ่       ิ่ ่
  – ตระหนักว่ามีคนจานวนมากทีเห็นสงทีเราตังกระทู ้ไว ้ ดังนั นต ้อง
                                                     ้         ้
    ระมัดระวังในการเขียน
                       ่
  – ถ ้ามีข ้อความสวนตัวหลุดไปในเมล์ลสต์ ควรขอโทษบุคคลและกลุมทีเรา
                                                ิ                      ่ ่
     ่
    สงข ้อความถึง
                                        ่                        ่ ่
  – ถ ้ามีข ้อโต ้แย ้งต่อบุคคล ให ้สงข ้อความไปยังบุคคลนัน มิใชสงไปให ้ทัง
                                                          ้                ้
    กลุม ่
้
ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ)
• แนวทางสาหรับผู ้ดูแลเมล์ลสต์และเว็บบอร์ด
                           ิ
                       ิ        ั
  – อธิบายให ้สมาชกเข ้าใจชดเจนในเรืองนโยบายการรับและตังกระทู ้บน
                                           ่                  ้
    อินเตอร์เน็ ต รวมทังนโยบายการจัดเก็บข ้อมูล
                         ้
  – ถ ้าจะเป็ นเว็บบอร์ดที่ “ไม่เป็ นกลาง” โดยจุดยืน (ทางการเมืองหรือมิตอน
                                                                        ิ ื่
    ใดก็ตาม) ควรประกาศนโยบายให ้ชดเจน        ั
                                    ้
  – ตรวจสอบความผิดของผู ้ใชด ้วยจิตใจทีเปิ ดกว ้าง
                                               ่
                                                    ้
  – ตรวจสอบการทางานของระบบอยูเสมอว่าใชการได ้ดี มีประสทธิภาพ
                                        ่                       ิ
  – ตรวจสอบเมล์ลสต์ทมให ้เป็ นปั จจุบนทีสด เพือป้ องกัน “bouncing mail”
                     ิ     ี่ ี           ั ่ ุ   ่
• แนวทางสาหรับผู ้กากับดูแลระบบ
                   ่                         ่   ้
  – โพสคาถามทีพบบ่อย (FAQ) ไว ้ในหน ้าทีผู ้ใชสามารถเข ้าถึงได ้ง่าย
                            ่ ี       ่ ั
  – ควรมีข ้อความต ้อนรับ ทีมข ้อมูลทีชดเจนเกียวกับวิธการบอกรับและบอก
                                               ่      ี
    เลิกรับข ้อมูล
  – ทาให ้เมล์ลสต์และกลุมข่าวเป็ นปั จจุบัน ทันเหตุการณ์อยูเสมอ
                 ิ        ่                                ่

More Related Content

Similar to Social Media and Internet Self-Regulation

Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastSarinee Achavanuntakul
 
Social Network & Social Media for PR
Social Network & Social Media for PRSocial Network & Social Media for PR
Social Network & Social Media for PRBoonlert Aroonpiboon
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวโครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวffhantr
 
นโยบาย Blog
นโยบาย Blogนโยบาย Blog
นโยบาย Blogmukda
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555wandee8167
 
นโยบาย Blog
นโยบาย Blogนโยบาย Blog
นโยบาย Blogmukda
 
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์Radompon.com
 

Similar to Social Media and Internet Self-Regulation (13)

Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
 
Social Network & Social Media for PR
Social Network & Social Media for PRSocial Network & Social Media for PR
Social Network & Social Media for PR
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวโครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
 
นโยบาย Blog
นโยบาย Blogนโยบาย Blog
นโยบาย Blog
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555
 
นโยบาย Blog
นโยบาย Blogนโยบาย Blog
นโยบาย Blog
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Social Media and Internet Self-Regulation

  • 1. ื่ ื่ ั สออินเทอร์เน็ ตในฐานะ “สอสงคม” และ การกากับดูแลกันเองของชุมชนเน็ ต สฤณี อาชวานันทกุล http://www.thainetizen.org/ 25 มกราคม 2552 ิ งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial ้ Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน ่ ่ ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่ ่ ้ ี่ ้ ิ ์ นาไปใชในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น ้ ้
  • 3. ภาคสาธารณะ (The Commons) ( of creativity & culture) ….and countless others.
  • 4. The Commons: วัฒนธรรมการเมืองใหม่ ่ ่ ิ่ ่ 1. “เรืองราว” ใหม่เพือทวงคืนสงทีเคยเป็ นของ เราในอดีต 2. ทักษะด ้านเทคนิคสามารถสร ้างพฤติกรรมที่ เป็ นประชาธิปไตยได ้ ื่ ี 3. ความน่าเชอถือทางศลธรรม, ความ “แท ้” ทางวัฒนธรรม 4. The commons ในฐานะภาคทีสามที่่ “แข่งขัน” กับภาครัฐและภาคเอกชนได ้
  • 5. “You never change things by fighting the existing reality. To change something, build a new model that makes the existing model obsolete.” --R. Buckminster Fuller
  • 6. ี “ผู ้มีสวนได ้เสย” ในอินเทอร์เน็ ต • รัฐ • ผู ้ให ้บริการ (ไอเอสพี) • เว็บโฮส • เว็บมาสเตอร์ • ผู ้ดูแลเว็บบอร์ด / บล็อกเกอรทีเปิ ดพืนทีคอม ่ ้ ่ เม ้นท์ ้ • ประชาชนคนใชเน็ ต
  • 7. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ + free culture Norman Rockwell, Four Freedoms = “ประวัตศาสตร์หน ้าใหม่ทพลเมืองสร ้าง” ิ ี่
  • 8. พลเมืองเน็ ตให้คณค่าก ับ: ุ • การเข ้าถึงโดยเสรี (Open access) ่ • เสรีภาพในการมีสวนร่วม (Freedom to participate) • ความโปร่งใส (Transparency) • พรสวรรค์และการคิดค ้นนวัตกรรม (Talent & innovation) ั • ความเท่าเทียมทางสงคม (Social ่ “เสรีภาพ คือการมีสวนร่วม equity) ในอานาจ” - Cicero • การกระจายศูนย์อานาจ (Decentralized authority)
  • 9. กลไก “การกากับดูแลกันเอง” • ไอเอสพี และเว็บโฮส ้ – ข ้อตกลงการใชงาน – เงือนไขในการให ้บริการ ่ • ผู ้ดูแลเว็บ/เว็บบอร์ด ิ – ข ้อตกลงก่อนเข ้าเป็ นสมาชก – นโยบายการดูแลเว็บ/เว็บบอร์ด ื่ • บล็อกเกอร์/สอพลเมือง ื่ – จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์/สอพลเมือง ้ • ผู ้ใชเน็ ตทั่วไป – มารยาทบนเน็ต (netiquette)
  • 10. ความรับผิดชอบของพลเมืองเน็ ต ิ • พลเมืองเน็ ตมีสทธิเสรีภาพในการแสดงความ คิดเห็น แต่ต ้องเป็ นความคิดเห็นทีชอบธรรม (fair ่ comment): • ตังอยูบนพืนฐานของข ้อเท็จจริง (based on facts) ้ ่ ้ • มีเจตนาดี (made in good faith) • ตีพมพ์โดยปราศจากเจตนาร ้าย (without malice) ิ • เกียวกับประเด็นสาธารณะ (matter of public interest) ่ ี่ • ถ ้าไม่เข ้าข่ายเหล่านี้ ก็ต ้องยอมรับความเสยงทีจะมี ่ ใครร ้องเรียนหรือฟ้ องร ้องในข ้อหาละเมิดสทธิ ิ
  • 11. ตัวอย่างจรรยาบรรณของบล็อกเกอร์ • ตัวอย่างนีแปลและสรุปจาก ้ http://www.cyberjournalist.net/ ิ่ ่ • บล็อกเกอร์ทมความรับผิดชอบควรตระหนั กว่าสงทีพวกเขา ี่ ี เผยแพร่นัน ผู ้คนสามารถอ่านมันได ้จากทั่วโลก ดังนันควร ้ ้ ั จะมีจรรยาบรรณต่อผู ้อ่าน, บุคคลทีเขียนถึงและสงคมด ้วย ่ โดยสรุปได ้ดังนี้ ื่ ั ื่ • ซอสตย์และซอตรง – อย่าขโมยความคิดหรือดัดแปลงผลงานของผู ้อืนโดยไม่ขออนุญาต ่ ่ ิ และควรอ ้างอิงหรือใสลงค์ของเจ ้าของผลงานทุกครังทีนามาใช ้ ้ ่ – อย่าเผยแพร่ข ้อมูลทีไม่เหมาะสม และแยกแยะระหว่างข ้อคิดเห็น ่ ั กับข ้อเท็จจริงให ้ชดเจน
  • 12. ตัวอย่างจรรยาบรรณของบล็อกเกอร์ (ต่อ) • ลดอันตรายให ้เกิดน ้อยทีสด ่ ุ ั – ระมัดระวังในการเผยแพร่บทสมภาษณ์ หรือรูปทีเกียวกับ ่ ่ โศกนาฏกรรมหรือประเด็นอ่อนไหว ี – แสดงความเสยใจต่อบุคคลทีได ้รับผลกระทบจากเนือหาของบล็อก ่ ้ – ตระหนักว่าการเก็บรวบรวมข ้อมูลไว ้มากๆ อาจเป็ นสาเหตุให ้เกิด ความไม่สะดวกหรืออันตรายได ้ ื่ – ระมัดระวังไม่เผยแพร่สอลามกหรือข ้อมูลทีกอให ้เกิดอาชญากรรมได ้ ่ ่ • มีความรับผิดเสมอ ่ ื่ – คัดเลือกแหล่งข ้อมูลทีเชอถือได ้ และเปิ ดเผยการกระทาทีไร ้ ่ จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์คนอืนๆ ่ – รับทราบความผิดพลาดและแก ้ไขให ้เรียบร ้อยอย่างทันท่วงที ั ้ ั – เปิ ดเผยผลประโยชน์ทบซอน, ความสมพันธ์, กิจกรรม และวาระ ่ สวนตัว (personal agenda)
  • 13. ้ ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต • ตัวอย่างนีแปล สรุป และดัดแปลงจาก Netiquette Guidelines ของ ้ มหาวิทยาลัย Delaware Tech (http://www.dtcc.edu/cs/rfc1855.html) ้ • แนวทางสาหรับผู ้ใชอีเมล์ ้ – แม ้ว่าคุณจะใชอินเตอร์เน็ ตทีบ ้านผ่านผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต แต่ก็ควร ่ ั ตรวจสอบให ้แน่ชดก่อน ว่าใครเป็ นเจ ้าของอีเมล์ในกล่องอีเมล์ของคุณ เพราะกฎแต่ละทีไม่เหมือนกัน ่ ้ ่ – ระลึกไว ้ว่าแม ้ว่าคุณจะใชรหัสลับสวนตัว แต่อเมล์ก็เหมือนไปรษณียบัตร ี ทีข ้อความอาจถูกเปิ ดอ่านได ้เสมอ ่ ิ ์ – ควรเคารพลิขสทธิของวัตถุดบต่างๆ ทีคณนามาใชหรือสร ้างใหม่ ิ ่ ุ ้ ่ – ถ ้าคุณสงต่อข ้อความหรือโพสข ้อความทีคณได ้รับมา อย่าเปลียน ่ ุ ่ ข ้อความหรือเนือความในนัน ถ ้าข ้อความทีคณได ้รับนั นเป็ นข ้อความ ้ ้ ่ ุ ้ ่ สวนตัว ก่อนทีจะตังกระทู ้ต่อคุณต ้องขออนุญาตก่อน และต ้องมั่นใจว่า ่ ้ ่ คุณได ้สงข ้อความต่ออย่างไม่บดเบือน และอย่างเหมาะสม ิ
  • 14. ้ ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ) ้ • แนวทางสาหรับผู ้ใชอีเมล์ (ต่อ) – อย่าสงอีเมล์ลกโซ่ และจงเป็ นอนุรักษ์ นยมในสงทีคณสงออกไป และ ่ ู ิ ิ่ ่ ุ ่ ิ่ ่ ุ เสรีนยมในสงทีคณได ้รับ ิ ่ ่ื – บางครังอีเมล์หนึง อาจเป็ นชอกลุมอีเมล์ก็ได ้ ดังนันควรตรวจสอบก่อน ้ ่ ้ ่ ่ สง เพือไม่ต ้องสงให ้คนอืนทีไม่จาเป็ น ่ ่ ่ ่ ่ – ในขณะตอบอีเมล์ ควรดูวาผู ้สงสงต่อให ้ใครอีกบ ้าง และถ ้าเป็ นการตอบ ่ โต ้กันแค่ 2 คน ก็ไม่ต ้องสงต่อไปอีก่ ี่ ุ ่ ้ – เขียนเตือนผู ้รับก่อนว่าอีเมล์ทคณสงนัน “ยาว” ถ ้าอีเมล์นันมีความยาว ้ มากกว่า 100 บรรทัด – ควรพึงระลึกไว ้ว่า ผู ้รับนันอาจแตกต่างจากคุณ ดังนั นควรระวังเรือง ้ ้ ่ ภาษาและวัฒนธรรมในการสงอีเมล์ ่ ่ – พยายามอย่าสงอีเมล์ทใหญ่กว่า 50 กิโลไบต์ ถ ้าไม่จาเป็ น และอย่าสง ี่ ่ ข ้อมูลทีผู ้รับไม่ได ้เรียกร ้องไปให ้คนอืนมากนัก ่ ่
  • 15. ้ ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ) • แนวทางสาหรับการพูดคุยผ่านอินเตอร์เน็ ต ้ – ใชภาษาให ้ถูกต ้อง อ่านง่าย รวมทังอย่าเขียนให ้ยาวเกิน 70 ตัวอักษร ้ หรือยาวกว่า 12 บรรทัด – ทักทายและรอให ้ผู ้อืนเอ่ยคาลาก่อนจะออฟไลน์เสมอ ่ – พูดคุยในเรืองทีเหมาะสม และหลีกเลียงการคุยกับคนแปลกหน ้า ่ ่ ่ • แนวทางสาหรับผู ้ดูแลระบบ – แน่ใจว่าคุณมีคมอสาหรับจัดการกับสถานการณ์ทออนไหว เชน เนือหา ู่ ื ี่ ่ ่ ้ ผิดกฎหมาย หรือไม่เหมาะสม ้ ่ ่ – จัดการกับข ้อเรียกร ้องและการแจ ้งเตือนของผู ้ใชทีเกียวกับข ้อความผิด กฎหมายหรือไม่เหมาะสม ภายในเวลารวดเร็ว รวมทังกาจัดอีเมล์ลกโซ่ ้ ู และเมล์ไม่พงประสงค์ (spam) ในทันที ึ ั – อธิบายกฎต่างๆ ของระบบให ้ชดเจน และมีบริการแจ ้งกลับเมือไม่ ่ ่ สามารถสงอีเมล์ได ้ – รับทราบข ้อคิดเห็นของผู ้ใช ้ ด ้วยจิตใจทีเปิ ดกว ้าง ่
  • 16. ้ ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ) ่ ้ • แนวทางทัวไปสาหรับการใชเมล์ลสต์และเว็บบอร์ด ิ – ลองอ่านทังเมล์ลสต์และกลุมข่าว ก่อนทีจะตังกระทู ้อะไร เพือทาให ้ ้ ิ ่ ่ ้ ่ เข ้าใจวัฒนธรรมของกลุมมากขึน ่ ้ ้ – อย่ากล่าวหาผู ้ดูแลระบบ ถ ้าผู ้ใชในระบบบางคนมีพฤติกรรมไม่พง ึ ประสงค์ ่ ิ่ ่ – ตระหนักว่ามีคนจานวนมากทีเห็นสงทีเราตังกระทู ้ไว ้ ดังนั นต ้อง ้ ้ ระมัดระวังในการเขียน ่ – ถ ้ามีข ้อความสวนตัวหลุดไปในเมล์ลสต์ ควรขอโทษบุคคลและกลุมทีเรา ิ ่ ่ ่ สงข ้อความถึง ่ ่ ่ – ถ ้ามีข ้อโต ้แย ้งต่อบุคคล ให ้สงข ้อความไปยังบุคคลนัน มิใชสงไปให ้ทัง ้ ้ กลุม ่
  • 17. ้ ตัวอย่างมารยาทในการใชเน็ ต (ต่อ) • แนวทางสาหรับผู ้ดูแลเมล์ลสต์และเว็บบอร์ด ิ ิ ั – อธิบายให ้สมาชกเข ้าใจชดเจนในเรืองนโยบายการรับและตังกระทู ้บน ่ ้ อินเตอร์เน็ ต รวมทังนโยบายการจัดเก็บข ้อมูล ้ – ถ ้าจะเป็ นเว็บบอร์ดที่ “ไม่เป็ นกลาง” โดยจุดยืน (ทางการเมืองหรือมิตอน ิ ื่ ใดก็ตาม) ควรประกาศนโยบายให ้ชดเจน ั ้ – ตรวจสอบความผิดของผู ้ใชด ้วยจิตใจทีเปิ ดกว ้าง ่ ้ – ตรวจสอบการทางานของระบบอยูเสมอว่าใชการได ้ดี มีประสทธิภาพ ่ ิ – ตรวจสอบเมล์ลสต์ทมให ้เป็ นปั จจุบนทีสด เพือป้ องกัน “bouncing mail” ิ ี่ ี ั ่ ุ ่ • แนวทางสาหรับผู ้กากับดูแลระบบ ่ ่ ้ – โพสคาถามทีพบบ่อย (FAQ) ไว ้ในหน ้าทีผู ้ใชสามารถเข ้าถึงได ้ง่าย ่ ี ่ ั – ควรมีข ้อความต ้อนรับ ทีมข ้อมูลทีชดเจนเกียวกับวิธการบอกรับและบอก ่ ี เลิกรับข ้อมูล – ทาให ้เมล์ลสต์และกลุมข่าวเป็ นปั จจุบัน ทันเหตุการณ์อยูเสมอ ิ ่ ่