SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
การเริ่มต้นโปรแกรม  SPSS 1.  คลิกซ้อนที่สัญรูป  (icon)  ของ  SPSS  บนพื้นจอเดสก์ทอป หรือ  2.  จากจอเดสก์ทอปคลิก  Start  >  Programs  >  SPSS  ดังนี้ คลิก ครั้งที่  1 คลิก ครั้งที่  2 คลิก ครั้งที่  3 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การเรียน  SPSS  ให้ได้ผล 1.  ดู  PowerPoint  นี้ประกอบเอกสารที่แจก ( อาจใชัปุ่ม  PageUp  ดูย้อนกลับได้ ) 2.  ปฏิบัติจริงจากโปรแกรม  SPSS  ตามข้อ  1. 3.  ทำซ้ำจนกว่าจะเข้าใจ วัฒนา สุนทรธัย วันที่  25  ธันวาคม พ . ศ .  ๒๕๔๕ เอกสาร หน้า  1
What would you like to do? เลือกที่นี่ แล้วคลิก  OK   จะปรากฏหน้าต่าง  SPSS Data Editor สำหรับป้อนข้อมูล หรือ คลิกซ้อนที่ชื่อแฟ้มข้อมูล ถ้าข้อมูลเคยป้อนไว้แล้ว สำหรับ   version 11.0  จะมีหน้าต่างแบบนี้  2  บาน เอกสาร หน้า  2
หน้าต่าง  SPSS Data Editor แถบชื่อ  ชื่อเริ่มต้นคือ   Untitled   ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ทีหลัง 2  มุมมอง   ( คลิกสลับไปสลับมาได้ ) รายการเลือก หรือ เมนู  (Menus) ในที่นี้มี  10  รายการ ,[object Object],[object Object],[object Object],เอกสาร หน้า  2
หน้าต่าง  SPSS Data Editor   ในมุมมอง  Data View แถวนอน   (row)   ในมุมมอง  Data View  คือ  รายการข้อมูล  (cases)  ในที่นี้แสดง  3  รายการ สดมภ์   (column)   ในมุมมอง  Data View   คือ  ตัวแปร  (variables)  ในที่นี้มี  10  ตัว คือ  id, i1, i2, i3, …, edu เอกสาร หน้า  3
หน้าต่าง  SPSS Data Editor   ในมุมมอง  Variable View แถวนอน   (row)   ในมุมมอง  Variable View   คือ  ตัวแปร  (variables)  ในที่นี้แสดง  4   ตัวคือ  id, i1, i2, i3 สดมภ์   (column)   ในมุมมอง  Variable View   คือ ลักษณะต่างๆของตัวแปร เช่น  Name, Type, Width ,  Decimals   เป็นต้น เอกสาร หน้า  3
การเตรียมแฟ้มข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เช่น  เพศ   อาจตั้งชื่อว่า  sex   หรือ  gende r เช่น ตัวแปร  sex   ฉลาก  อาจเป็น   Respondent sex เช่น ตัวแปร   sex   ในที่นี้ กำหนด ค่าฉลาก  ดังนี้  1   =  ชาย 2  =  หญิง เช่น ตัวแปร   sex   ในที่นี้ กำหนด ค่าสูญหาย ดังนี้  1  =  ชาย ,   2 =  หญิง   9 =  ค่าสูญหาย เช่น เป็นชนิด ตัวเลข  (numeric)  วันที่  (date)  อักขระ  (string)  เป็นต้น ได้แก่ระดับ nominal, ordinal หรือ  scale ( interval, ratio )  สิ่งที่จะเตรียมคือ อาจใช้ตามที่เครื่องกำหนด เอกสารหน้า  4
การแทรก (Insert)  และ ลบ (Delete) รายการข้อมูล / ตัวแปร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Data   >   Insert Case Data   >   Insert Variable Edit   >   Clear   หรือ ใช้คำสั่ง  Delete File  >   Save As…   File  >   Open   >  Data…   File   >   Exit Edit   >   Clear   หรือ ใช้คำสั่ง  Delete ทำได้ดังนี้ เอกสาร หน้า  4-5
ตัวอย่างแบบสอบถามสำหรับการสาธิต   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ในที่นี้ คนแรกที่ตอบเป็น  ผู้ชาย   มีการศึกษาระดับ  ปริญญาโท และตอบข้อ  1  ระดับ  น้อย   ดังนั้นผลการตอบคือ ... เอกสาร หน้า  5-6
การสร้างแฟ้มข้อมูล   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เอกสารหน้า  7
ลำดับการสร้างแฟ้มข้อมูล คลิกที่  Variable View  และบรรทัดแรก พิมพ์ชื่อตัวแปรใต้  Name  คือ  id   ทำซ้ำจนถึง  4  =  most   แล้ว คลิก  OK  ดังจอภาพต่อไปนี้ ใต้  Values  คลิกบริเวณที่แรเงา  และ ช่อง  Value:  ป้อน  0   ช่อง  Value Label:  ป้อน   least   แล้ว   คลิก  Add บรรทัดที่สอง  พิมพ์  i1 ( ไม่มี ในภาพนี้ ) เอกสารหน้า  7
การกำหนดค่าของตัวแปร :  จอภาพ  Value Labels กำลังเพิ่มค่า  4 ต่อไปก็  คลิก  Add   และ คลิก  OK   ตามลำดับ เอกสารหน้า  8
การกำหนดค่าสูญหาย :   จอภาพ  Missing Values ต่อไปก็ คลิก  OK เมื่อหมดตัวแปรแล้ว ก็บันทึกข้อมูล  ในที่นี้ให้ชื่อแฟ้มว่า  satis   ( โปรแกรมจะเติม  .sav  เป็น  satis.sav  ให้โดยอัตโนมัติ ) กำลังกำหนดค่า  9 เอกสาร หน้า  8
การป้อนข้อมูล  ตัวแปรมี  10  ตัวคือ  ID  I1 I2 I3 I4 I5 I6 I7 SEX EDU รายการแรกที่ป้อน คือ   1  3  4  4  3  3  4  3  1  2 ป้อนค่า  1   ของตัวแปร  id  แล้วเลื่อนลูกศรไปทางขวา เพื่อป้อนค่าถัดไป ป้อนค่า  3   ของตัวแปร  i1  แล้วเลื่อนลูกศรไปทางขวา เพื่อป้อนค่าถัดไป ทำซ้ำจนครบทุกรายการ แล้ว บันทึกข้อมูล โดยคลิกดังนี้  File  >  Save ป้อนค่า  3   ซึ่งมีค่าฉลากเท่ากับ  much เอกสารหน้า  9-10
การเปลี่ยนรูปแบบ  (Transformation)  ข้อมูล   ในที่นี้ต้องการคำนวณ  satistf = i1 + i2 + i3 + i4 + i5 + i6 + i7. ที่  Target Variable:  ป้อน  satistf   และ  เลือกตัวแปร  i1   จาก  ช่องตัวแปร  ต่อไปคลิกลูกศร และ คลิก  +   ทำเช่นนี้จนถึง  i7 ช่องตัวแปร เลือกรายการ  Transform   และคลิกคำสั่ง  Compute… ต่อไปอาจเลือกคลิก   OK   หรือ  Paste   อย่างใดอย่างหนึ่ง เอกสาร หน้า  11
คำสั่ง  Recode ความพึงพอใจ  5  ระดับที่ผ่านมา ปรับให้เป็น  3  ระดับ โดยระดับ  0, 1   คือ   1  /   ระดับ   2   คือ  2   /   และระดับ  3,4  คือ   3   ทำได้ดังนี้ เปลี่ยนชื่อตัวแปร จาก  i4   เป็น  i4new และกำหนดฉลากเป็น  new i4 รายละเอียดให้ดำเนินการตามในเอกสาร เลือกเมนู  Transform   >   Recode   >   Into Different Variables… เอกสารหน้า  12-14
ผลการเปลี่ยนแปลงเป็นดังนี้ ค่าเดิม   ( ตัวแปร  i4)  ค่าใหม่  ( ตัวแปร  i4new) 0 =  น้อยที่สุด ,  1 =  น้อย 1 =  น้อย 2 =  ปานกลาง 2 =  ปานกลาง 3 =  มาก , 4 =  มากที่สุด 3 =  มาก เอกสารหน้า  15

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminskiats
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีpeter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 

La actualidad más candente (14)

คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
 
Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007
 
Lab 8
Lab 8Lab 8
Lab 8
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
Excel2010
Excel2010Excel2010
Excel2010
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 

Similar a Spss

สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
น.ส นันทพร  จันหอม  58170012น.ส นันทพร  จันหอม  58170012
น.ส นันทพร จันหอม 58170012Chutikarn Jitsuwan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...Paradorn Sriarwut
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301Builtt Susa
 
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01Chutikarn Jitsuwan
 

Similar a Spss (20)

Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
น.ส นันทพร  จันหอม  58170012น.ส นันทพร  จันหอม  58170012
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
 
Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
 
1
11
1
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
 
Xn view
Xn viewXn view
Xn view
 
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
 

Spss

  • 1.
  • 2. What would you like to do? เลือกที่นี่ แล้วคลิก OK จะปรากฏหน้าต่าง SPSS Data Editor สำหรับป้อนข้อมูล หรือ คลิกซ้อนที่ชื่อแฟ้มข้อมูล ถ้าข้อมูลเคยป้อนไว้แล้ว สำหรับ version 11.0 จะมีหน้าต่างแบบนี้ 2 บาน เอกสาร หน้า 2
  • 3.
  • 4. หน้าต่าง SPSS Data Editor ในมุมมอง Data View แถวนอน (row) ในมุมมอง Data View คือ รายการข้อมูล (cases) ในที่นี้แสดง 3 รายการ สดมภ์ (column) ในมุมมอง Data View คือ ตัวแปร (variables) ในที่นี้มี 10 ตัว คือ id, i1, i2, i3, …, edu เอกสาร หน้า 3
  • 5. หน้าต่าง SPSS Data Editor ในมุมมอง Variable View แถวนอน (row) ในมุมมอง Variable View คือ ตัวแปร (variables) ในที่นี้แสดง 4 ตัวคือ id, i1, i2, i3 สดมภ์ (column) ในมุมมอง Variable View คือ ลักษณะต่างๆของตัวแปร เช่น Name, Type, Width , Decimals เป็นต้น เอกสาร หน้า 3
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. ลำดับการสร้างแฟ้มข้อมูล คลิกที่ Variable View และบรรทัดแรก พิมพ์ชื่อตัวแปรใต้ Name คือ id ทำซ้ำจนถึง 4 = most แล้ว คลิก OK ดังจอภาพต่อไปนี้ ใต้ Values คลิกบริเวณที่แรเงา และ ช่อง Value: ป้อน 0 ช่อง Value Label: ป้อน least แล้ว คลิก Add บรรทัดที่สอง พิมพ์ i1 ( ไม่มี ในภาพนี้ ) เอกสารหน้า 7
  • 11. การกำหนดค่าของตัวแปร : จอภาพ Value Labels กำลังเพิ่มค่า 4 ต่อไปก็ คลิก Add และ คลิก OK ตามลำดับ เอกสารหน้า 8
  • 12. การกำหนดค่าสูญหาย : จอภาพ Missing Values ต่อไปก็ คลิก OK เมื่อหมดตัวแปรแล้ว ก็บันทึกข้อมูล ในที่นี้ให้ชื่อแฟ้มว่า satis ( โปรแกรมจะเติม .sav เป็น satis.sav ให้โดยอัตโนมัติ ) กำลังกำหนดค่า 9 เอกสาร หน้า 8
  • 13. การป้อนข้อมูล ตัวแปรมี 10 ตัวคือ ID I1 I2 I3 I4 I5 I6 I7 SEX EDU รายการแรกที่ป้อน คือ 1 3 4 4 3 3 4 3 1 2 ป้อนค่า 1 ของตัวแปร id แล้วเลื่อนลูกศรไปทางขวา เพื่อป้อนค่าถัดไป ป้อนค่า 3 ของตัวแปร i1 แล้วเลื่อนลูกศรไปทางขวา เพื่อป้อนค่าถัดไป ทำซ้ำจนครบทุกรายการ แล้ว บันทึกข้อมูล โดยคลิกดังนี้ File > Save ป้อนค่า 3 ซึ่งมีค่าฉลากเท่ากับ much เอกสารหน้า 9-10
  • 14. การเปลี่ยนรูปแบบ (Transformation) ข้อมูล ในที่นี้ต้องการคำนวณ satistf = i1 + i2 + i3 + i4 + i5 + i6 + i7. ที่ Target Variable: ป้อน satistf และ เลือกตัวแปร i1 จาก ช่องตัวแปร ต่อไปคลิกลูกศร และ คลิก + ทำเช่นนี้จนถึง i7 ช่องตัวแปร เลือกรายการ Transform และคลิกคำสั่ง Compute… ต่อไปอาจเลือกคลิก OK หรือ Paste อย่างใดอย่างหนึ่ง เอกสาร หน้า 11
  • 15. คำสั่ง Recode ความพึงพอใจ 5 ระดับที่ผ่านมา ปรับให้เป็น 3 ระดับ โดยระดับ 0, 1 คือ 1 / ระดับ 2 คือ 2 / และระดับ 3,4 คือ 3 ทำได้ดังนี้ เปลี่ยนชื่อตัวแปร จาก i4 เป็น i4new และกำหนดฉลากเป็น new i4 รายละเอียดให้ดำเนินการตามในเอกสาร เลือกเมนู Transform > Recode > Into Different Variables… เอกสารหน้า 12-14
  • 16. ผลการเปลี่ยนแปลงเป็นดังนี้ ค่าเดิม ( ตัวแปร i4) ค่าใหม่ ( ตัวแปร i4new) 0 = น้อยที่สุด , 1 = น้อย 1 = น้อย 2 = ปานกลาง 2 = ปานกลาง 3 = มาก , 4 = มากที่สุด 3 = มาก เอกสารหน้า 15