SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
ความหมายของ Core Value
ค่านิยมมาจากคาในภาษาอังกฤษว่า “Value” หมายถึงทัศนะของคนหรือสังคมที่มีต่อสิ่งของ ความคิดและเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
ความปรารถนา คุณค่าและความถูกต้องของสังคมนั้นๆ
ค่านิยมองค์กร (Core Values)หมายถึงเกณฑ์ที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลใช้
ในการตัดสินว่าอะไรควรทาและอะไรไม่ควรทาเพื่อให้ได้รับผลอันพึง
ปรารถนาร่วมกันซึ่งค่านิยมเป็นสิ่งที่กาหนดถึงพฤติกรรมและผลที่ติดตามมา
นอกจากค่านิยมจะเป็นบาทฐาน (Basis) ของการสร้างวัฒนธรรมขององค์กร
แล้วค่านิยมยังมีประโยชน์อื่นๆอีกได้แก่
- ทาให้รู้ว่า องค์กรคาดหวังอะไร ผลงานแบบใด ด้วยวิธีการใด
- ช่วยสร้างบรรยากาศที่กลมเกลียวและกลมกลืนในการทางาน
- ช่วยทาให้มีแนวทางในการปรับตัวเพื่อให้เกิดOrganizational fit
วัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture)หมายถึง วิถีแห่งการดาเนินชีวิตการงานของตนซึ่งอยู่รวมกันในองค์กรหนึ่งองค์กรใด
โดยเฉพาะ ซึ่งวัฒนธรรมจะแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมของการแสดงออกของคนในองค์กรที่สะท้อนถึงความเชื่อร่วมกันของคนในองค์กร
และแสดงถึงความต่อเนื่องของประเพณีที่คนในองค์กรกระทาร่วมกันอยางต่อเนื่องทั้งนี้วัฒนธรรมองค์กรเป็นผลที่ได้มาจากค่านิยมของ
คนในองค์กร
ความเชื่อ (Beliefs)หมายถึงข้อสรุปของสมาชิก
องค์กรจานวนหนึ่ง หรือส่วนใหญ่ต่อพฤติกรรมหรือ
เหตุการณ์ต่างๆว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง
บรรทัดฐาน (Norms )หมายถึงมาตรฐานของ
พฤติกรรมที่คนจานวนหนึ่งหรือส่วนใหญ่คาดหวังหรือ
สนับสนุนให้สมาชิกของกลุ่มปฏิบัติตาม
พฤติกรรม (Behavior)หมายถึงการกระทาหรือ
การแสดงออกของบุคคลใดบุคคลหนึ่งคนจานวนหนึ่ง
หรือส่วนใหญ่ในองค์กรที่ประพฤติปฏิบัติในลักษณะ
เดียวกันอย่างสม่าเสมอตลอดระยะเวลาหนึ่ง
ถ้าเราเปรียบเทียบกับต้นไม้ต้นหนึ่งความเชื่อจะเปรียบเสมือนรากแก้วที่หยั่งลึกลงไปในดินเพื่อพยุงส่วนต่างๆของต้นไม้ไว้ไม่ให้ล้ม
หรือเอียงลงไปตามแรงลมหรือถูกโค่นล้มได้ง่ายเมื่อถูกแรงภายนอกกระทาบรรทัดฐานเปรียบเสมือนลาต้นที่จะตั้งตรงสง่าอย่างเปิดเผย
และแข็งแรงค่านิยมเปรียบเสมือนกิ่งก้านสาขาของต้นที่แยกออกจากลาต้นแผ่ไพศาลออกไปเพื่อแสดงถึงการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง
ยั่งยืนพฤติกรรมเปรียบเสมือนใบไม้ที่ปกคลุมเป็นพุ่มไม้ที่เล็กและใหญ่ให้เห็นต้นไม้ที่ใหญ่โตแข็งแรงสูงสง่ามองเห็นได้โดยเด่นชัดหรือ
อาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมเป็นสิ่งที่บุคคลหรือสังคมภายนอกจะมองเห็นถึงลักษณะหรือตัวตนของเราได้อย่างชัดเจน
ที่มา : นายปรีชาพรหมบุตร
จากเรื่อง ค่านิยมคืออะไรและสาคัญอย่างไร ในหนังสือspirit บ้านเรา
กลับด้านบน
การเชื่อมโยง "Core Value" สู่ "วัฒนธรรมองค์กร"
เป็นคาถามที่เกือบทุกองค์กรตอบว่า “มี” แต่อาจจะเรียกชื่อแตกต่างกันไปบ้าง เช่น Core Competency, ความเชื่อ (Belief), ปรัชญา
องค์กร (Philosophy) และถ้าถามต่อไปอีกว่า “องค์กรของท่านมีการนาเอา Core Value มาทาอะไรแล้วหรือยัง?” คาตอบที่ได้รับไม่ค่อย
แตกต่างกัน เช่น
 เราได้สื่อสารให้พนักงานทุกคนรับเข้าและเข้าใจแล้ว (เพื่อบอกกับคนนอกว่าไม่ได้มีไว้ติดบอร์ดเพียงอย่างเดียว)
 เรากาลังจะมีแผนเพื่อนาไปสร้างวัฒนธรรมองค์กร (แต่จริงๆแล้วไม่ได้มีรายละเอียดของแผนอะไรเลย ตอบให้ดูดีมากกว่า)
 เรากาลังจะดาเนินการนาไปสร้างวัฒนธรรมองค์กรอยู่ (ทากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Core Value เป็นครั้งๆโดยไม่มีแผนหลัก
อะไร ทาเหมือนกิจกรรมรณรงค์ทั่วไป)
 ยังไม่รู้ว่าเริ่มต้นนาไปใช้งานอย่างไร (ยอมรับว่ายังมองไม่เห็นแนวทางที่จะนาไปปฏิบัติจริง)
จากคาตอบนี้ แสดงให้เห็นว่าหลายองค์กรกาลังประสบปัญหาการนาเอา Core Value ไปทาให้เกิดคุณค่าต่อองค์กรอย่างแน่นอน
สุดท้าย ถ้าไม่มีการดาเนินการใด ๆ เมื่อเวลาผ่านไป บางองค์กรก็เริ่มเปลี่ยน Core Value ใหม่ตามผู้บริหารคนใหม่ บางองค์กรก็ลืมกันไป มี
ก็เหมือนไม่มี เพราะเขียนไว้เป็นสิบปีแต่ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ไม่มีหลักฐานอะไรที่แสดงให้เห็นว่าคนในองค์กรมีการเปลี่ยน “ความเชื่อ
ทัศนคติ ความคิด และพฤติดกรรม” หลักจากมีการกาหนด Core Value องค์กรแล้ว ลักษณะโดยรวมของคนในองค์กรยังไม่แตกต่างไป
จากเดิม
ดังนั้นเพื่อให้องค์กรสามารถแปลง Core Value สู่วัฒนธรรมองค์กรได้อย่างเป็นรูปธรรมและ Core Value ช่วยสร้างคุณค่าองค์กร
ผ่านกระบวนการ “เปลี่ยนความเชื่อและทัศนคติ” “ปรับความคิด” และ “ปรับปรุงพฤติกรรม” ในการอยู่และทางานร่วมกันของคนใน
องค์กร จึงขอเสนอขั้นตอนพร้อมแนวทางในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรจาก Core Value ดังต่อไปนี้
 กาหนดภาพวัฒนธรรมองค์กรที่อยากเห็นในอนาคต
ควรจะมีการกาหนดภาพของวัฒนธรรมองค์กรที่สะท้อนผ่านพฤติกรรมคนออกมาให้ชัดเจน และเฉพาะเจาะจงว่า ในแต่ละเหตุการณ์ เรา
อยากเห็นวัฒนธรรมองค์กรที่สอดคล้องกับ Core Value แต่ละเรื่องเป็นอย่างไร ตัวอย่างเช่น
Core Value ภาพเหตุการณ์ ภาพวัฒนธรรมองค์กรที่อยากเห็น
การใส่ใจลูกค้า การต้อนรับลูกค้า  ต้องมีพนักงานหรือตัวแทนออกไปรับลูกค้า
ด้วยตนเองที่หน้าสานักงานทุกครั้ง
 พนักงานทุกคนต้องทักทายลูกค้าด้วยคาว่า “….
(ชื่อบริษัท).... สวัสดีครับ / ค่ะ” ก่อนเสมอ
 ต้องทักทายลูกค้าด้วยคาว่า สวัสดีครับ/ค่ะ คุณ
...และตามด้วยชื่อลูกค้าที่รู้จักชื่อทุกครั้ง”
 ……………………………………………
การส่งลูกค้า  ขอบคุณที่ใช้บริการครับ / ค่ะ
 ……………………………………………
การทางานเป็นทีม การประชุม  ทุกคนต้องเข้าประชุมตรงเวลา และขอให้
ประธานพูดก่อนเปิดการประชุมว่า “ขอบคุณ
ทุกคนที่มาตรงเวลา”
 ให้ผู้ที่รับผิดชอบสิ่งที่ต้องทาตามมติที่ประชุม
พูดว่า “ผมจะรับไปดาเนินการครับ” และให้ผู้
ร่วมประชุมพูดว่า “ขอบคุณครับ/ค่ะ”
 ……………………………………………
การกาหนดวัฒนธรรมองค์กรที่อยากเห็นในแต่ละสถานการณ์ของ Core Value แต่เรื่องนั้น ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญมาก เพราะ
ถ้าเรากาหนดให้ชัดเจน ละเอียดและคลอบคลุมได้มากเท่าไหร่ โอกาศจะนาไปปฏิบัติจริงก็มีมากขึ้นเท่านั้น
 กาหนดหัวข้อการประเมินความสาเร็จของภาพวัฒนธรรมองค์กร
เมื่อสรุปได้แล้วว่ามีภาพอะไรบ้างที่เราต้องการสร้างให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร ในขั้นตอนนี้ จะต้องกาหนดหัวข้อและแนวทางใน
การประเมินความคืบหน้าหรือความสาเร็จที่สามรถนาไปใช้ได้จริงเช่น
o เปอร์เซ็นพนักงานที่พูดคาว่า “ขอให้ปลอดภัยครับ/ค่ะ”จากการสุ่มประเมิน
o คะแนนประเมินความพึงพอใจจากลูกค้า
o จานวนองค์กรภายนอกที่ขอเข้ามาดูงานเรื่องวัฒนธรรมองค์กร
o ฯลฯ
 กาหนดแนวทางและจัดทาแผนการปรับเปลี่ยนคนสู่วัฒนธรรมองค์กรที่ต้องการ
เมื่อกาหนดชัดเจนแล้วว่าภาพวัฒนธรรมองค์กรมีอะไรบ้าง จะวัดประเมินความคืบหน้าหรือวัดความสาเร็จจากอะไร ก็มาถึงขั้นตอนของ
การกาหนดแนวทางและแผนการสร้างวัฒนธรรมองค์กรบนพื้นฐานของ Core Value เช่น
ภาพที่อยากเห็น แนวทาง แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ต้องมีพนักงานหรือ
ตัวแทนออกไปรับลูกค้า
ด้วยตนเองที่หน้า
สานักงานทุกครั้ง
 สร้าง Role Model
 Customer Feedback
 ……………………
 โครงการประกวดพนักงานดีเด่น ด้านการ
ต้อนรับลูกค้า / แขกของบริษัทฯ
 โครงการ “ความประทับจากลูกค้า”
 ……………………………………………
วัฒนธรรมการประชุม
ทางานเป็นทีม
 พัฒนาการประชุมให้
เป็นเอกลักษณ์ของ
องค์กร
 ……………………
 โครงการ Team Spirit Meeting
 กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ประชุมให้กับ
ทุกคนในองค์กร
 ……………………………………………
เมื่อกาหนดแนวทางพร้อมแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเรียบร้อยแล้ว ก็ต้องกาหนดรายละเอียดของแต่ละแผนงานว่า จะทา
เมื่อไหร่ ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และต้องใช้งบประมาณเท่าไหร่
หลังจากนั้นให้รวบรวมแผนงานทั้งหมดมาจัดทาแผนหลัก (Master Plan) ในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร เพื่อให้เห็นว่าแต่
ละช่วงองค์กรจะเน้นเรื่องอะไรบ้างและต้องใช้เวลากี่ปี กี่เดือนจึงสามารถดาเนินการเสร็จตามแผน และเมื่อไหร่จึงจะพอเห็นการ
เปลี่ยนแปลงได้บ้าง และเมื่อไหร่น่าจะเริ่มเห็นผลแห่งความสาเร็จในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร
Core Value แผนงาน / โครงการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5
การใส่ใจลูกค้า  โครงการ..................
 โครงการ..................
การทางานเป็นทีม  โครงการ..................
 โครงการ..................
 ดาเนินการสร้างวัฒนธรรมองค์กร
สาหรับขั้นตอนของการดาเนินการตามแผนหลักที่กาหนดไว้ คงไม่ต้องนามาอธบายว่าจะต้องอะไร เมื่อไหร่ เพราะในแผนงานกาหนดไว้
เรียบร้อยแล้ว แต่อยากจะนาเสนอประเด็นที่เป็นข้อคิดดังนี้
o วัฒนธรรมองค์กรเป็นทั้ง “ของร้อน” และ”ของเย็น”
การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรสาหรับองค์กรที่ตั้งมานานและมีวัฒนธรรมขององค์กรไม่ค่อยดีอยู่ อาจจะถือว่าเป็น “ของร้อน” สาหรับ
องค์กรนั้น เพราะการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรจากที่คุ้นเคยไปสู่วัฒนธรรมองค์กรใหม่นั้นอาจจะสร้างความลาบากใจให้กับคนใน
องค์กรได้ ยิ่งมีกลุ่มคนบางคนต่อต้านการเปลี่ยนแปลงด้วยแล้วยิ่งทาให้วัฒนธรรมองค์กรกลายเป็นเรื่องร้อนถึงขั้นเป็นเรื่องเดือดก็
ได้ ดังนั้น องค์กรแบบนี้จึงต้องเพิ่มความระมัดระวังในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรตาม Core Value ใหม่อาจจะต้องให้ใช้มาตรฐานที่ ค่อย
เป็นค่อยไป หรือเปลี่ยนเฉพาะเรื่องเล็กเรื่องน้อยๆก่อน เรื่องไหนที่อาจจะเกิดการต่อต้านอาจจะต้องดาเนินการทีหลัง หรืออาจจะต้องสลาย
วัฒนธรรมองค์กรเก่าโดยการรับคนใหม่เข้ามาจานวนหนึ่ง แล้วค่อยๆสร้างวัฒนธรรมองค์กรจากคนกลุ่มใหม่ก่อนก็ได้
สาหรับองค์กรใหม่เรื่องวัฒนธรรมองค์กรอาจจะเป็น “ของเย็น” อาจจะต้องใช้เวลาในการทาให้เกิดความอบอุ่น และ
การสร้างวัฒนธรรมองค์กรถ้าสร้างไม่ต่อเนื่องจริง วัฒนธรรมองค์กรที่สร้างไว้อาจจะเปลี่ยนสภาพกลับไปสู่ของเย็นตลอดเวลา ดังนั้น
องค์กรใดที่วัฒนธรรมองค์กรยังไม่เข้มแข็งพอ จาเป็นต้องมีการดาเนินการกระตุ้นเพื่อสร้างและรักษาระดับวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเนื่อง
oการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคน ต้องเริ่มต้นจากข้างใน
เนื่องจากวัฒนธรรมองค์กรคือพฤติกรรมคนที่สะท้อนถึงความเชื่อ ทัศนคติและความคิด ดังนั้น ถ้าเราต้องการให้คนมีพฤติกรรมแบบไหน
สิ่งแรกที่ต้องทาคือหากระบวนการในการเข้าไปเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ และความคิดของคนก่อนเป็นอันดับแรก เพราะถ้ามัวแต่
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาจจะเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว หรือเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเพราะถูกบังคับมากกว่าเกิดจากการ
กาหนดจากภายใน
oพฤติกรรมถาวรเกิดจากการปฏิบัติซ้าๆติดต่อกันช่วงระยะเวลาหนึ่ง
การสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อให้คนมีพฤติกรรมการแสดงออกที่ถาวร จาเป็นต้องมีการส่งเสริมให้มีพฤติกรรมนั้นๆบ่อยๆ และต่อเนื่อง
เพราะพฤติกรรมบางอย่างเป็นเรื่องใหม่สาหรับคนบางคนหรือบางกลุ่ม และพฤติกรรมนั้นอาจจะขัดพฤติกรรมส่วนบุคคลเดิมอยู่ ดังนั้น
องค์กรจาเป็นต้องมีกระบวนการให้คนได้มีโอกาสแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมองค์กรซ้าๆ ติดต่อกันเพื่อให้ความขัดเขินหรือความไม่
สะดวกจากหายไปให้ได้ เช่น การให้ทุกคนยกมือไหว้ซึ่งกันและกัน และทันทีที่เดินสวนกันโดยไม่ต้องรอให้ใครยกมือไหว้ก่อน อาจจะ
ขัดกับพฤติกรรมเดิมที่ผู้มีตาแหน่งต่ากว่าต้องยกมือไหว้คนที่มีตาแหน่งสูงกว่า พูดง่ายๆคือการที่จะเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้ผู้มีตาแหน่ง
สูงกว่ายกมือไหว้คนที่มีตาแหน่งต่ากว่าก่อนนั้น จาเป็นต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนทั้งความคิดและการกระทา
o คาชมจากคนนอกคือแรงผลักดันวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรจะงอกงามเร็วได้ปุ๋ยเร่งดอกเร่งใบ และปุ๋ยในที่นี้ก็คือกาลังใจหรือผลสะท้อนกลับ โดยเฉพาะผลสะท้อนกลับจาก
บุคคลภายนอก อาจจะเป็นลูกค้า ผู้มาติดต่อ หรือบุคคลอื่นที่พูดถึงวัฒนธรรมองค์กรของเราในเชิงบวก เพราะ”คาชม” นอกจากจะเป็นปุ๋ย
เร่งดอกเร่งใบให้วัฒนธรรมองค์กรของเราเติบโตเร็วแล้ว “คาชม” ยังเป็นภูมิคุ้มกันวัฒนธรรมองค์กรได้มั่นคงอยู่กับองค์กรตลอดไป
oเริ่มจากสิ่งที่ทาได้ง่ายและเห็นผลเร็วก่อน
ถ้าองค์กรมีเรื่องที่ต้องการให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลายเรื่อง ควรจะเลือกเรื่องที่คนในองค์กรสามารถทาได้ง่าย และเห็นความสาคัญ
ของการเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรได้ดีกว่า วัฒนธรรมองค์กรที่ต้องใช้เวลานานกว่าจะเห็นผล วัฒนธรรมองค์กรที่น่าจะทาได้ง่ายและเร็ว
กว่ามักจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปรับพฤติกรรมใหม่ที่ใกล้เคียงกับพฤติกรรมเดิม เช่น เดิมมีการทักทายกันด้วยคาว่า “สวัสดี” อยู่แล้ว
แต่วัฒนธรรมใหม่คือ ให้เพิ่มการหยุดและโค้งตัวเหมือนคนญี่ปุ่น
oจงปักหมุดที่ละข้อทีละเรื่อง ดีกว่าทาพร้อมกันทุกเรื่องและไม่ดีสักเรื่อง
เนื่องจากปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรมีเรื่องที่ต้องทาหลายอย่าง ถ้าทาพร้อมกันทุกอย่าง อาจจะไม่ได้ผลสักอย่าง เพราะการเปลี่ยนแปลง
มากเกินไปอาจจะทาให้คนตั้งรับไม่ทัน ปรับตัวไม่ได้ เนื่องจากพฤติกรรมใหม่ที่ต้องปรับมีมากว่าพฤติกรรมเดิมที่คุ้นเคยอยู่ ดังนั้น ควรจะ
เลือกปรับเปลี่ยนไปทีละเรื่องเมื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคนในองค์กรเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้ว ก็ให้กาหนดแนวทางในการรักษาระดับของ
พฤติกรรมนั้นให้คงอยู่ตลอดไป แล้วค่อยไปมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอื่นๆต่อไป
 ประเมินและติดตามผลการเปลี่ยนแปลง
หลายองค์กรได้ทุ่มเททั้งเงินและเวลาเพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรขึ้นตาม Core Value ที่กาหนดไว้ บางองค์กรถึงขั้นว่าจ้างหน่วยงาน
ภายนอกมาทากิจกรรมใหญ่โตเป็นเวลานาน แต่ผลที่ได้คือ “ได้ทา” ตามแผนที่กาหนดไว้ การประเมินผลสาเร็จเท่านั้น แต่ไม่เคยประเมิน
ว่าได้ผลมากน้อยเพืยงใด เหตุผลก็เพราะขาดการกาหนดแนวทางและหัวข้อการประเมินผลไว้ตั้งแต่ต้น นอกจากนี้คนที่ดาเนินการรณรงค์
หรือทากิจกรรมมักจะม่งเน้นผลกิจกรรมเพียงระยะสั้นเท่านั้น เช่นมีคนเข้าร่วมกิจกรรมมากหรือไม่ คนรู้สึกดีต่อกิจกรรมนั้นๆ หรือไม่
โดยไม่ได้ประเมินกลับไปถึงต้นตอของ Core Value ที่กาหนดไว้ว่าคนมีพฤติกรรมการ Core Value แล้วหรือยัง
สรุป การเชื่อมโยง Core Value สู่วัฒนธรรมองค์กรไม่ใช่เรื่องที่นิ่งนอนใจได้ เพราะถ้ากาหนดไว้แล้วไม่นาไปใข้ก็ไม่มีประโยชน์
อะไร แต่ถ้ากาหนดไว้แล้ว นาไปใช้อย่างไม่มีประสิทธิผลยิ่งมีผลเสียมากกว่าเพราะนอกจากไม่ได้ผลแล้ว ยังต้องเสียเงินเสียเวลาอีก
ต่างหาก จึงอยากให้องค์กรต่างๆที่กาลังจะทาเรื่องนี้วางแผนการสร้างวัฒนธรรมองค์กรบนพื้นฐานของ Core Value ให้ดี และอย่าไป
เสียดาย กับ Core Value ที่กาหนดไว้แล้ว ถ้าไม่จาเป็นต้องทบทวนหรือกาหนดใหม่ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อคิดและแนวทางของ
บทความนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรต่างๆได้บ้าง
ที่มา : ณรงค์วิทย์ แสนทอง

Más contenido relacionado

Más de seteru

ใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmseteru
 
Sepa tukta
Sepa tuktaSepa tukta
Sepa tuktaseteru
 
Know corevalue
Know corevalueKnow corevalue
Know corevalueseteru
 
Presentation core value_2_(final)[show2]
Presentation core value_2_(final)[show2]Presentation core value_2_(final)[show2]
Presentation core value_2_(final)[show2]seteru
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรseteru
 
Knowledge core value
Knowledge core valueKnowledge core value
Knowledge core valueseteru
 
Core value add-in
Core value add-inCore value add-in
Core value add-inseteru
 

Más de seteru (7)

ใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Km
 
Sepa tukta
Sepa tuktaSepa tukta
Sepa tukta
 
Know corevalue
Know corevalueKnow corevalue
Know corevalue
 
Presentation core value_2_(final)[show2]
Presentation core value_2_(final)[show2]Presentation core value_2_(final)[show2]
Presentation core value_2_(final)[show2]
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
Knowledge core value
Knowledge core valueKnowledge core value
Knowledge core value
 
Core value add-in
Core value add-inCore value add-in
Core value add-in
 

ความหมาย Core value

  • 1. ความหมายของ Core Value ค่านิยมมาจากคาในภาษาอังกฤษว่า “Value” หมายถึงทัศนะของคนหรือสังคมที่มีต่อสิ่งของ ความคิดและเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ความปรารถนา คุณค่าและความถูกต้องของสังคมนั้นๆ ค่านิยมองค์กร (Core Values)หมายถึงเกณฑ์ที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลใช้ ในการตัดสินว่าอะไรควรทาและอะไรไม่ควรทาเพื่อให้ได้รับผลอันพึง ปรารถนาร่วมกันซึ่งค่านิยมเป็นสิ่งที่กาหนดถึงพฤติกรรมและผลที่ติดตามมา นอกจากค่านิยมจะเป็นบาทฐาน (Basis) ของการสร้างวัฒนธรรมขององค์กร แล้วค่านิยมยังมีประโยชน์อื่นๆอีกได้แก่ - ทาให้รู้ว่า องค์กรคาดหวังอะไร ผลงานแบบใด ด้วยวิธีการใด - ช่วยสร้างบรรยากาศที่กลมเกลียวและกลมกลืนในการทางาน - ช่วยทาให้มีแนวทางในการปรับตัวเพื่อให้เกิดOrganizational fit วัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture)หมายถึง วิถีแห่งการดาเนินชีวิตการงานของตนซึ่งอยู่รวมกันในองค์กรหนึ่งองค์กรใด โดยเฉพาะ ซึ่งวัฒนธรรมจะแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมของการแสดงออกของคนในองค์กรที่สะท้อนถึงความเชื่อร่วมกันของคนในองค์กร และแสดงถึงความต่อเนื่องของประเพณีที่คนในองค์กรกระทาร่วมกันอยางต่อเนื่องทั้งนี้วัฒนธรรมองค์กรเป็นผลที่ได้มาจากค่านิยมของ คนในองค์กร ความเชื่อ (Beliefs)หมายถึงข้อสรุปของสมาชิก องค์กรจานวนหนึ่ง หรือส่วนใหญ่ต่อพฤติกรรมหรือ เหตุการณ์ต่างๆว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง บรรทัดฐาน (Norms )หมายถึงมาตรฐานของ พฤติกรรมที่คนจานวนหนึ่งหรือส่วนใหญ่คาดหวังหรือ สนับสนุนให้สมาชิกของกลุ่มปฏิบัติตาม พฤติกรรม (Behavior)หมายถึงการกระทาหรือ การแสดงออกของบุคคลใดบุคคลหนึ่งคนจานวนหนึ่ง หรือส่วนใหญ่ในองค์กรที่ประพฤติปฏิบัติในลักษณะ เดียวกันอย่างสม่าเสมอตลอดระยะเวลาหนึ่ง ถ้าเราเปรียบเทียบกับต้นไม้ต้นหนึ่งความเชื่อจะเปรียบเสมือนรากแก้วที่หยั่งลึกลงไปในดินเพื่อพยุงส่วนต่างๆของต้นไม้ไว้ไม่ให้ล้ม หรือเอียงลงไปตามแรงลมหรือถูกโค่นล้มได้ง่ายเมื่อถูกแรงภายนอกกระทาบรรทัดฐานเปรียบเสมือนลาต้นที่จะตั้งตรงสง่าอย่างเปิดเผย และแข็งแรงค่านิยมเปรียบเสมือนกิ่งก้านสาขาของต้นที่แยกออกจากลาต้นแผ่ไพศาลออกไปเพื่อแสดงถึงการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืนพฤติกรรมเปรียบเสมือนใบไม้ที่ปกคลุมเป็นพุ่มไม้ที่เล็กและใหญ่ให้เห็นต้นไม้ที่ใหญ่โตแข็งแรงสูงสง่ามองเห็นได้โดยเด่นชัดหรือ อาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมเป็นสิ่งที่บุคคลหรือสังคมภายนอกจะมองเห็นถึงลักษณะหรือตัวตนของเราได้อย่างชัดเจน ที่มา : นายปรีชาพรหมบุตร จากเรื่อง ค่านิยมคืออะไรและสาคัญอย่างไร ในหนังสือspirit บ้านเรา กลับด้านบน
  • 2. การเชื่อมโยง "Core Value" สู่ "วัฒนธรรมองค์กร" เป็นคาถามที่เกือบทุกองค์กรตอบว่า “มี” แต่อาจจะเรียกชื่อแตกต่างกันไปบ้าง เช่น Core Competency, ความเชื่อ (Belief), ปรัชญา องค์กร (Philosophy) และถ้าถามต่อไปอีกว่า “องค์กรของท่านมีการนาเอา Core Value มาทาอะไรแล้วหรือยัง?” คาตอบที่ได้รับไม่ค่อย แตกต่างกัน เช่น  เราได้สื่อสารให้พนักงานทุกคนรับเข้าและเข้าใจแล้ว (เพื่อบอกกับคนนอกว่าไม่ได้มีไว้ติดบอร์ดเพียงอย่างเดียว)  เรากาลังจะมีแผนเพื่อนาไปสร้างวัฒนธรรมองค์กร (แต่จริงๆแล้วไม่ได้มีรายละเอียดของแผนอะไรเลย ตอบให้ดูดีมากกว่า)  เรากาลังจะดาเนินการนาไปสร้างวัฒนธรรมองค์กรอยู่ (ทากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Core Value เป็นครั้งๆโดยไม่มีแผนหลัก อะไร ทาเหมือนกิจกรรมรณรงค์ทั่วไป)  ยังไม่รู้ว่าเริ่มต้นนาไปใช้งานอย่างไร (ยอมรับว่ายังมองไม่เห็นแนวทางที่จะนาไปปฏิบัติจริง) จากคาตอบนี้ แสดงให้เห็นว่าหลายองค์กรกาลังประสบปัญหาการนาเอา Core Value ไปทาให้เกิดคุณค่าต่อองค์กรอย่างแน่นอน สุดท้าย ถ้าไม่มีการดาเนินการใด ๆ เมื่อเวลาผ่านไป บางองค์กรก็เริ่มเปลี่ยน Core Value ใหม่ตามผู้บริหารคนใหม่ บางองค์กรก็ลืมกันไป มี ก็เหมือนไม่มี เพราะเขียนไว้เป็นสิบปีแต่ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ไม่มีหลักฐานอะไรที่แสดงให้เห็นว่าคนในองค์กรมีการเปลี่ยน “ความเชื่อ ทัศนคติ ความคิด และพฤติดกรรม” หลักจากมีการกาหนด Core Value องค์กรแล้ว ลักษณะโดยรวมของคนในองค์กรยังไม่แตกต่างไป จากเดิม ดังนั้นเพื่อให้องค์กรสามารถแปลง Core Value สู่วัฒนธรรมองค์กรได้อย่างเป็นรูปธรรมและ Core Value ช่วยสร้างคุณค่าองค์กร ผ่านกระบวนการ “เปลี่ยนความเชื่อและทัศนคติ” “ปรับความคิด” และ “ปรับปรุงพฤติกรรม” ในการอยู่และทางานร่วมกันของคนใน องค์กร จึงขอเสนอขั้นตอนพร้อมแนวทางในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรจาก Core Value ดังต่อไปนี้  กาหนดภาพวัฒนธรรมองค์กรที่อยากเห็นในอนาคต ควรจะมีการกาหนดภาพของวัฒนธรรมองค์กรที่สะท้อนผ่านพฤติกรรมคนออกมาให้ชัดเจน และเฉพาะเจาะจงว่า ในแต่ละเหตุการณ์ เรา อยากเห็นวัฒนธรรมองค์กรที่สอดคล้องกับ Core Value แต่ละเรื่องเป็นอย่างไร ตัวอย่างเช่น Core Value ภาพเหตุการณ์ ภาพวัฒนธรรมองค์กรที่อยากเห็น การใส่ใจลูกค้า การต้อนรับลูกค้า  ต้องมีพนักงานหรือตัวแทนออกไปรับลูกค้า ด้วยตนเองที่หน้าสานักงานทุกครั้ง  พนักงานทุกคนต้องทักทายลูกค้าด้วยคาว่า “…. (ชื่อบริษัท).... สวัสดีครับ / ค่ะ” ก่อนเสมอ  ต้องทักทายลูกค้าด้วยคาว่า สวัสดีครับ/ค่ะ คุณ ...และตามด้วยชื่อลูกค้าที่รู้จักชื่อทุกครั้ง”  …………………………………………… การส่งลูกค้า  ขอบคุณที่ใช้บริการครับ / ค่ะ
  • 3.  …………………………………………… การทางานเป็นทีม การประชุม  ทุกคนต้องเข้าประชุมตรงเวลา และขอให้ ประธานพูดก่อนเปิดการประชุมว่า “ขอบคุณ ทุกคนที่มาตรงเวลา”  ให้ผู้ที่รับผิดชอบสิ่งที่ต้องทาตามมติที่ประชุม พูดว่า “ผมจะรับไปดาเนินการครับ” และให้ผู้ ร่วมประชุมพูดว่า “ขอบคุณครับ/ค่ะ”  …………………………………………… การกาหนดวัฒนธรรมองค์กรที่อยากเห็นในแต่ละสถานการณ์ของ Core Value แต่เรื่องนั้น ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญมาก เพราะ ถ้าเรากาหนดให้ชัดเจน ละเอียดและคลอบคลุมได้มากเท่าไหร่ โอกาศจะนาไปปฏิบัติจริงก็มีมากขึ้นเท่านั้น  กาหนดหัวข้อการประเมินความสาเร็จของภาพวัฒนธรรมองค์กร เมื่อสรุปได้แล้วว่ามีภาพอะไรบ้างที่เราต้องการสร้างให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร ในขั้นตอนนี้ จะต้องกาหนดหัวข้อและแนวทางใน การประเมินความคืบหน้าหรือความสาเร็จที่สามรถนาไปใช้ได้จริงเช่น o เปอร์เซ็นพนักงานที่พูดคาว่า “ขอให้ปลอดภัยครับ/ค่ะ”จากการสุ่มประเมิน o คะแนนประเมินความพึงพอใจจากลูกค้า o จานวนองค์กรภายนอกที่ขอเข้ามาดูงานเรื่องวัฒนธรรมองค์กร o ฯลฯ  กาหนดแนวทางและจัดทาแผนการปรับเปลี่ยนคนสู่วัฒนธรรมองค์กรที่ต้องการ เมื่อกาหนดชัดเจนแล้วว่าภาพวัฒนธรรมองค์กรมีอะไรบ้าง จะวัดประเมินความคืบหน้าหรือวัดความสาเร็จจากอะไร ก็มาถึงขั้นตอนของ การกาหนดแนวทางและแผนการสร้างวัฒนธรรมองค์กรบนพื้นฐานของ Core Value เช่น ภาพที่อยากเห็น แนวทาง แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ต้องมีพนักงานหรือ ตัวแทนออกไปรับลูกค้า ด้วยตนเองที่หน้า สานักงานทุกครั้ง  สร้าง Role Model  Customer Feedback  ……………………  โครงการประกวดพนักงานดีเด่น ด้านการ ต้อนรับลูกค้า / แขกของบริษัทฯ  โครงการ “ความประทับจากลูกค้า”  …………………………………………… วัฒนธรรมการประชุม ทางานเป็นทีม  พัฒนาการประชุมให้ เป็นเอกลักษณ์ของ องค์กร  ……………………  โครงการ Team Spirit Meeting  กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ประชุมให้กับ ทุกคนในองค์กร  ……………………………………………
  • 4. เมื่อกาหนดแนวทางพร้อมแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเรียบร้อยแล้ว ก็ต้องกาหนดรายละเอียดของแต่ละแผนงานว่า จะทา เมื่อไหร่ ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และต้องใช้งบประมาณเท่าไหร่ หลังจากนั้นให้รวบรวมแผนงานทั้งหมดมาจัดทาแผนหลัก (Master Plan) ในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร เพื่อให้เห็นว่าแต่ ละช่วงองค์กรจะเน้นเรื่องอะไรบ้างและต้องใช้เวลากี่ปี กี่เดือนจึงสามารถดาเนินการเสร็จตามแผน และเมื่อไหร่จึงจะพอเห็นการ เปลี่ยนแปลงได้บ้าง และเมื่อไหร่น่าจะเริ่มเห็นผลแห่งความสาเร็จในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร Core Value แผนงาน / โครงการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 การใส่ใจลูกค้า  โครงการ..................  โครงการ.................. การทางานเป็นทีม  โครงการ..................  โครงการ..................  ดาเนินการสร้างวัฒนธรรมองค์กร สาหรับขั้นตอนของการดาเนินการตามแผนหลักที่กาหนดไว้ คงไม่ต้องนามาอธบายว่าจะต้องอะไร เมื่อไหร่ เพราะในแผนงานกาหนดไว้ เรียบร้อยแล้ว แต่อยากจะนาเสนอประเด็นที่เป็นข้อคิดดังนี้ o วัฒนธรรมองค์กรเป็นทั้ง “ของร้อน” และ”ของเย็น” การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรสาหรับองค์กรที่ตั้งมานานและมีวัฒนธรรมขององค์กรไม่ค่อยดีอยู่ อาจจะถือว่าเป็น “ของร้อน” สาหรับ องค์กรนั้น เพราะการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรจากที่คุ้นเคยไปสู่วัฒนธรรมองค์กรใหม่นั้นอาจจะสร้างความลาบากใจให้กับคนใน องค์กรได้ ยิ่งมีกลุ่มคนบางคนต่อต้านการเปลี่ยนแปลงด้วยแล้วยิ่งทาให้วัฒนธรรมองค์กรกลายเป็นเรื่องร้อนถึงขั้นเป็นเรื่องเดือดก็ ได้ ดังนั้น องค์กรแบบนี้จึงต้องเพิ่มความระมัดระวังในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรตาม Core Value ใหม่อาจจะต้องให้ใช้มาตรฐานที่ ค่อย เป็นค่อยไป หรือเปลี่ยนเฉพาะเรื่องเล็กเรื่องน้อยๆก่อน เรื่องไหนที่อาจจะเกิดการต่อต้านอาจจะต้องดาเนินการทีหลัง หรืออาจจะต้องสลาย วัฒนธรรมองค์กรเก่าโดยการรับคนใหม่เข้ามาจานวนหนึ่ง แล้วค่อยๆสร้างวัฒนธรรมองค์กรจากคนกลุ่มใหม่ก่อนก็ได้ สาหรับองค์กรใหม่เรื่องวัฒนธรรมองค์กรอาจจะเป็น “ของเย็น” อาจจะต้องใช้เวลาในการทาให้เกิดความอบอุ่น และ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรถ้าสร้างไม่ต่อเนื่องจริง วัฒนธรรมองค์กรที่สร้างไว้อาจจะเปลี่ยนสภาพกลับไปสู่ของเย็นตลอดเวลา ดังนั้น องค์กรใดที่วัฒนธรรมองค์กรยังไม่เข้มแข็งพอ จาเป็นต้องมีการดาเนินการกระตุ้นเพื่อสร้างและรักษาระดับวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเนื่อง
  • 5. oการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคน ต้องเริ่มต้นจากข้างใน เนื่องจากวัฒนธรรมองค์กรคือพฤติกรรมคนที่สะท้อนถึงความเชื่อ ทัศนคติและความคิด ดังนั้น ถ้าเราต้องการให้คนมีพฤติกรรมแบบไหน สิ่งแรกที่ต้องทาคือหากระบวนการในการเข้าไปเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ และความคิดของคนก่อนเป็นอันดับแรก เพราะถ้ามัวแต่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาจจะเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว หรือเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเพราะถูกบังคับมากกว่าเกิดจากการ กาหนดจากภายใน oพฤติกรรมถาวรเกิดจากการปฏิบัติซ้าๆติดต่อกันช่วงระยะเวลาหนึ่ง การสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อให้คนมีพฤติกรรมการแสดงออกที่ถาวร จาเป็นต้องมีการส่งเสริมให้มีพฤติกรรมนั้นๆบ่อยๆ และต่อเนื่อง เพราะพฤติกรรมบางอย่างเป็นเรื่องใหม่สาหรับคนบางคนหรือบางกลุ่ม และพฤติกรรมนั้นอาจจะขัดพฤติกรรมส่วนบุคคลเดิมอยู่ ดังนั้น องค์กรจาเป็นต้องมีกระบวนการให้คนได้มีโอกาสแสดงพฤติกรรมตามวัฒนธรรมองค์กรซ้าๆ ติดต่อกันเพื่อให้ความขัดเขินหรือความไม่ สะดวกจากหายไปให้ได้ เช่น การให้ทุกคนยกมือไหว้ซึ่งกันและกัน และทันทีที่เดินสวนกันโดยไม่ต้องรอให้ใครยกมือไหว้ก่อน อาจจะ ขัดกับพฤติกรรมเดิมที่ผู้มีตาแหน่งต่ากว่าต้องยกมือไหว้คนที่มีตาแหน่งสูงกว่า พูดง่ายๆคือการที่จะเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้ผู้มีตาแหน่ง สูงกว่ายกมือไหว้คนที่มีตาแหน่งต่ากว่าก่อนนั้น จาเป็นต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนทั้งความคิดและการกระทา o คาชมจากคนนอกคือแรงผลักดันวัฒนธรรมองค์กร วัฒนธรรมองค์กรจะงอกงามเร็วได้ปุ๋ยเร่งดอกเร่งใบ และปุ๋ยในที่นี้ก็คือกาลังใจหรือผลสะท้อนกลับ โดยเฉพาะผลสะท้อนกลับจาก บุคคลภายนอก อาจจะเป็นลูกค้า ผู้มาติดต่อ หรือบุคคลอื่นที่พูดถึงวัฒนธรรมองค์กรของเราในเชิงบวก เพราะ”คาชม” นอกจากจะเป็นปุ๋ย เร่งดอกเร่งใบให้วัฒนธรรมองค์กรของเราเติบโตเร็วแล้ว “คาชม” ยังเป็นภูมิคุ้มกันวัฒนธรรมองค์กรได้มั่นคงอยู่กับองค์กรตลอดไป oเริ่มจากสิ่งที่ทาได้ง่ายและเห็นผลเร็วก่อน ถ้าองค์กรมีเรื่องที่ต้องการให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลายเรื่อง ควรจะเลือกเรื่องที่คนในองค์กรสามารถทาได้ง่าย และเห็นความสาคัญ ของการเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรได้ดีกว่า วัฒนธรรมองค์กรที่ต้องใช้เวลานานกว่าจะเห็นผล วัฒนธรรมองค์กรที่น่าจะทาได้ง่ายและเร็ว กว่ามักจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปรับพฤติกรรมใหม่ที่ใกล้เคียงกับพฤติกรรมเดิม เช่น เดิมมีการทักทายกันด้วยคาว่า “สวัสดี” อยู่แล้ว แต่วัฒนธรรมใหม่คือ ให้เพิ่มการหยุดและโค้งตัวเหมือนคนญี่ปุ่น oจงปักหมุดที่ละข้อทีละเรื่อง ดีกว่าทาพร้อมกันทุกเรื่องและไม่ดีสักเรื่อง เนื่องจากปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรมีเรื่องที่ต้องทาหลายอย่าง ถ้าทาพร้อมกันทุกอย่าง อาจจะไม่ได้ผลสักอย่าง เพราะการเปลี่ยนแปลง มากเกินไปอาจจะทาให้คนตั้งรับไม่ทัน ปรับตัวไม่ได้ เนื่องจากพฤติกรรมใหม่ที่ต้องปรับมีมากว่าพฤติกรรมเดิมที่คุ้นเคยอยู่ ดังนั้น ควรจะ เลือกปรับเปลี่ยนไปทีละเรื่องเมื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคนในองค์กรเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้ว ก็ให้กาหนดแนวทางในการรักษาระดับของ พฤติกรรมนั้นให้คงอยู่ตลอดไป แล้วค่อยไปมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอื่นๆต่อไป
  • 6.  ประเมินและติดตามผลการเปลี่ยนแปลง หลายองค์กรได้ทุ่มเททั้งเงินและเวลาเพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรขึ้นตาม Core Value ที่กาหนดไว้ บางองค์กรถึงขั้นว่าจ้างหน่วยงาน ภายนอกมาทากิจกรรมใหญ่โตเป็นเวลานาน แต่ผลที่ได้คือ “ได้ทา” ตามแผนที่กาหนดไว้ การประเมินผลสาเร็จเท่านั้น แต่ไม่เคยประเมิน ว่าได้ผลมากน้อยเพืยงใด เหตุผลก็เพราะขาดการกาหนดแนวทางและหัวข้อการประเมินผลไว้ตั้งแต่ต้น นอกจากนี้คนที่ดาเนินการรณรงค์ หรือทากิจกรรมมักจะม่งเน้นผลกิจกรรมเพียงระยะสั้นเท่านั้น เช่นมีคนเข้าร่วมกิจกรรมมากหรือไม่ คนรู้สึกดีต่อกิจกรรมนั้นๆ หรือไม่ โดยไม่ได้ประเมินกลับไปถึงต้นตอของ Core Value ที่กาหนดไว้ว่าคนมีพฤติกรรมการ Core Value แล้วหรือยัง สรุป การเชื่อมโยง Core Value สู่วัฒนธรรมองค์กรไม่ใช่เรื่องที่นิ่งนอนใจได้ เพราะถ้ากาหนดไว้แล้วไม่นาไปใข้ก็ไม่มีประโยชน์ อะไร แต่ถ้ากาหนดไว้แล้ว นาไปใช้อย่างไม่มีประสิทธิผลยิ่งมีผลเสียมากกว่าเพราะนอกจากไม่ได้ผลแล้ว ยังต้องเสียเงินเสียเวลาอีก ต่างหาก จึงอยากให้องค์กรต่างๆที่กาลังจะทาเรื่องนี้วางแผนการสร้างวัฒนธรรมองค์กรบนพื้นฐานของ Core Value ให้ดี และอย่าไป เสียดาย กับ Core Value ที่กาหนดไว้แล้ว ถ้าไม่จาเป็นต้องทบทวนหรือกาหนดใหม่ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อคิดและแนวทางของ บทความนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรต่างๆได้บ้าง ที่มา : ณรงค์วิทย์ แสนทอง